การใช้กระบวนการ 3 ขั้นตอนพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์ด้านการคูณเลขของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 PDF
Document Details
Uploaded by Deleted User
โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย
2552
นางสาวคชาภรณ์ จำปาอิ่ม
Tags
Summary
นี่คือเอกสารวิจัยเกี่ยวกับการใช้กระบวนการ 3 ขั้นตอนเพื่อพัฒนาทักษะการคูณเลขของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2552 งานวิจัยเน้นการพัฒนาการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นคุณภาพผู้เรียนและใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
Full Transcript
ชื่ อเรื่ อง การใช้กระบวนการ 3 ขั้นตอน พัฒนาทักษะคณิ ตศาสตร์ดา้ นการคูณเลขของนักเรี ยน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 The Use of 3 Steps Process to Develop P.3 Students in Multiple Math skill. ชื่ อผู้วจิ ยั นางสาวคชาภรณ์ จาปาอิ่ม Miss Kachaporn Chu...
ชื่ อเรื่ อง การใช้กระบวนการ 3 ขั้นตอน พัฒนาทักษะคณิ ตศาสตร์ดา้ นการคูณเลขของนักเรี ยน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 The Use of 3 Steps Process to Develop P.3 Students in Multiple Math skill. ชื่ อผู้วจิ ยั นางสาวคชาภรณ์ จาปาอิ่ม Miss Kachaporn Chumpaim ปี ที่ทำวิจยั เสร็จ ปี พ.ศ. 2552 ประเด็นกำรวิจยั การพัฒนาการเรี ยนการสอนที่มุ่งคุณภาพผูเ้ รี ยน ลักษณะงำนวิจยั เป็ นงานวิจยั ของบุคคล ประเภทงำนวิจยั การวิจยั ในชั้นเรี ยน กำรนำเสนอเวทีวชิ ำกำร ไม่เคยนาเสนอในเวทีวิชาการอื่น ควำมเป็ นมำของกำรทำวิจัย หลักสู ตรสถานศึ กษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 เป็ นแนวทางหรื อข้อกาหนดการจัดการศึกษาที่ จะพัฒนาให้ ผูเ้ รี ยนมีความรู ้ความสามารถ โดยส่ งเสริ มให้แต่ละบุคคลพัฒนาไปสู่ ศกั ยภาพสู งสุ ดของตน รวมลาดับขั้นของมวล ประสบการณ์ ที่ก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้สะสม ซึ่ งจะช่ วยให้ผเู ้ รี ยนนาความรู ้ไปสู่ การปฏิ บตั ิ ได้ประสบความสาเร็ จใน การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง รู ้จกั ตนเอง มีชีวิตอยู่ในโรงเรี ยน ชุมชนสังคม และโลกอย่างมีความสุ ข ดังนั้นผูเ้ รี ยน เมื่อจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี แล้ว ผูเ้ รี ยนจะต้องมีความรู ้ความเข้าใจในเนื้ อหาสาระคณิ ตศาสตร์ มีทกั ษะกระบวนการ ทางคณิ ตศาสตร์ มีเจตคติ ที่ดีต่อคณิ ตศาสตร์ คุณภาพของผูเ้ รี ยนตามในข้อที่ 1 ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ จะมุ่งเน้นที่ความคิดรวบยอดและความรู ้สึกเชิ งจานวนเกี่ยวกับจานวนนับและศูนย์ และการดาเนิ นการของจานวน สามารถแก้ปั ญ หาเกี่ ย วกับ การบวก การลบ การคู ณ และ การหารจ านวนนั บ พร้ อ มทั้ง ตระหนั ก ถึ ง ความ สมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้และสามารถสร้างโจทย์ได้ ผูว้ ิจยั เป็ นครู ผสู ้ อนวิชาคณิ ตศาสตร์ ได้ประสบกับปัญหาในการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ คือนักเรี ยนส่ วนมาก ยังขาดทักษะการคูณเลข สาเหตุอาจมาจากตัวครู ผสู ้ อนขาดเทคนิควิธีการสอน เน้นการสอนแบบอธิ บาย แบบการ บรรยาย ยึดตัวครู เป็ นศู นย์กลาง การจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนไม่ได้จดั เตรี ยมสื่ ออุปกรณ์ และตัวนักเรี ยนมี ศักยภาพในการเรี ยนรู ้ที่แตกต่างกัน เช่ น ระดับสติ ปัญญาของนักเรี ยน ขาดการเอาใจใส่ ฝึ กฝน ทบทวนบทเรี ยน การเรี ยนส่ วนมากของนักเรี ยนเป็ นการเรี ยนรู ้แบบจามากกว่าเข้าใจ ส่ งผลกระทบต่อพฤติกรรมของนักเรี ยน ทาให้ ไม่สนใจไม่ต้ งั ใจเรี ยน ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น ขาดความเชื่ อมัน่ ในตนเอง มีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ ทาให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนในวิชาคณิ ตศาสตร์ ต่ า จากสภาพปั ญหาดังกล่าว ผูว้ ิจยั มี ความต้องการที่ จะแก้ไข ปั ญหา โดยนาขั้นตอนการวิจยั เชิ งปฏิ บตั ิการในชั้นเรี ยน (PAOR) มาเป็ นแนวทางในการพัฒนาทักษะการคูณเลข โดยเน้นกิ จกรรมทางด้านคณิ ตศาสตร์ การใช้สื่อนวัตกรรมต่ าง ๆ โดยยึดผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญในการเรี ยนรู ้ เพื่ อให้ นักเรี ยนเกิดความรู ้ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรี ยน มีทกั ษะทางด้านคณิ ตศาสตร์เพิ่มมากขึ้น วัตถุประสงค์ กำรวิจยั เพื่อใช้กระบวนการ 3 ขั้นตอน พัฒนาทักษะคณิ ตศาสตร์ ด้านการคูณเลข ของนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 2 กลุ่มเป้ ำหมำย คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2552 โรงเรี ยนปริ นส์รอยแยลส์วิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 38 คน สมมุตฐิ ำนกำรวิจัย กระบวนการ 3 ขั้นตอน จะสามารถพัฒนาทักษะการคูณเลขของนักเรี ยนได้ ตัวแปรในกำรวิจยั ตัวแปรต้น กระบวนการ 3 ขั้นตอน ตัวแปรตาม ความสามารถด้านการคูณเลข กรอบแนวคิดในกำรทำวิจยั ได้ ดำเนินกำรตำมรู ปแบบ (paor) ตามแผนภูมิ ดังนี้ 1. ขั้นวำงแผน (Plan) 1.1 หาปั ญหา / สาเหตุ / วิธีการแก้ไข 1.2 วางแผนการสร้างเครื่ องมือการวิจยั การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ ข้อมูล 1.3 จัดทาแผนการสอน / ปรับแผนการสอน 2. ขั้นดำเนินกำร (Act and Observe) 2.1 ปรับพื้นฐาน 2.2 สอนเนื้อหาใหม่ 2.3 ทดสอบ / ซ่อมเสริ ม 3. ขั้นทบทวนประเมินวงจรเพื่อปรับแผน (Reflect or Review and Evaluate Cycle) ระเบียบวิธีวจิ ยั เครื่ องมือในกำรเก็บรวบรวมข้ อมูล - แบบทดสอบวัดความรู ้พ้ืนฐาน แบบทดสอบเมื่อจบบทเรี ยน แบบบันทึ กการสังเกตพฤติกรรมนักเรี ยน แบบวัดเจตคติ แบบฝึ กทักษะคณิ ตศาสตร์ เครื่ องมือที่ใช้ ประกอบกำรเรียนกำรสอน - แผนการสอน สื่ อและอุปกรณ์การสอน 3 กำรเก็บรวบรวมข้ อมูล 1. ขั้นวำงแผน (Plan) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ขั้น 1.1 สำรวจหรื อศึกษำปัญหำ สำเหตุและวิธีกำรแก้ ปัญหำ กำรศึ กษำปั ญ หำ ได้ศึกษาปั ญ หาที่ เกี่ ยวข้องกับการเรี ยนการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ คื อ ข้อมูลจากครู ผูส้ อน ข้อมูลจากการสอบถามนักเรี ยน ข้อมูลจากการสังเกตพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ช้ นั เรี ยน กำรหำสำเหตุ เมื่อได้ปัญหาครู ผสู ้ อนได้ดาเนิ นการวิเคราะห์หาสาเหตุของปั ญหา โดยอาศัย ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้ จากการศึกษามา กำรหำวิ ธี ก ำรแก้ ปั ญ หำ ได้ด าเนิ น การหาวิ ธี ก ารแก้ปั ญ หาโดยการศึ ก ษาเอกสารกับ การเรี ย นการสอน คณิ ตศาสตร์ต่าง ๆ ซึ่งเป็ นการนากรอบแนวคิดและทฤษฎีสู่การปฏิบตั ิเพื่อแก้ไขปั ญหา ขั้น 1.2 วำงแผนสร้ ำงเครื่ องมือกำรวิจยั รวบรวมข้ อมูล กำรวิเครำะห์ ข้อมูล ทาการวางแผนสร้างเครื่ องมือ ได้แก่ เครื่ องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และเครื่ องมือที่ใช้ประกอบการเรี ยน การสอน วิธีการสร้างเครื่ องมือ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูล และการผลิตสื่ ออุปกรณ์การสอน ขั้น 1.3 ทำแผนกำรสอนและปรับแผนกำรสอน การจัดกิจกรรมและสื่ ออุปกรณ์ในแต่ละเนื้อหาในแผนการสอนที่ช่วยให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้เรื่ องการคูณ เนื้อหำ วิธีกำรสอน สื่ ออุปกรณ์ 1. ความหมายการคูณ การฝึ กปฏิ บัติการนับเพิ่มจากของจริ ง การเรี ยนรู ้ผ่านสื่ อ vcd สื่ อของจริ ง การใช้เทปเพลง การใช้กระบวนการกลุ่ม การทาแบบฝึ กทักษะ vcd เพลงแบบฝึ ก ทักษะ 2. การคูณเลขหลักเดียว การฝึ กปฏิ บัติการคู ณ จากของจริ ง กิ จกรรมกลุ่มการคู ณ เลข สื่ อ ข อ งจ ริ ง vcd การร้ อ งเพลงสู ต รคู ณ จาก vcd การท าแบบฝึ กทักษะการคู ณ เพลง แบบฝึ กทักษะ การออกแบบท่าทางการคูณ 3. การคูณเลขกับจานวนเต็ม การสอนแบบสาธิ ต การฝึ กหาผลคู ณ จากตาราง การท า บั ต รตารางผลคู ณ กิ จ กรรมกลุ่ ม การหาผลคู ณ การท าใบงาน การท าแบบฝึ ก ใบงาน ทักษะ แบบฝึ กทักษะ 4. การคูณเลขหลักเดียวกับเลข การท่องสู ตรคูณแบบจับคู่เพื่อน การจัดกิ จกรรมกลุ่ม การใช้ นิทาน เทป หลายหลักที่ไม่มีการทด นิ ทาน และเทปเพลง การฝึ กปฏิ บตั ิการสร้างบัตรผลคูณ การ บัต รผลคู ณ แบบฝึ ก ทาแบบฝึ กทักษะ ทักษะ 5. การคูณเลขหลักเดียวกับเลข การสอนแบบสาธิ ต การสอนแบบอภิ ปราย การศึ กษาค้นคว้า ใบงาน หลายหลักที่มีการทดเลข จากใบงาน การฝึ กปฏิ บตั ิการคูณจากแผนผังการคูณ เกมการหา แผนผังการคูณ ผลคูณ การทาแบบฝึ กทักษะ แบบฝึ กทักษะ 6. การคูณเลขสองหลักกับ การสอนแบบร่ ว มมื อ การสอนแบบสาธิ ต การฝึ กปฏิ บั ติ ใบงาน เลขสองหลัก การทากิจกรรมกลุ่ม แบบฝึ กทักษะ การทาใบงาน การทาแบบฝึ กทักษะ 4 2. ขั้นปฏิบัตแิ ละรวบรวมข้ อมูล (Act and Observe) 2.1 ปรับพื้นฐาน ได้ทาการวางแผนก่อนที่จะมีการวัดความรู ้พ้ืนฐานของนักเรี ยน ซึ่ งมีการตรวจและพิจารณาถึงเนื้ อหาที่ ใช้ในการวัดความรู ้พ้ืนฐานจานวนข้อทดสอบ เวลาที่ใช้ในการทดสอบ จากนั้นได้ดาเนิ นการวัดความรู ้พ้ืนฐานของ นักเรี ยนก่อนเรี ยน โดยใช้แบบทดสอบวัดความรู ้พ้ืนฐานที่ ได้จดั เตรี ยม แล้วทาการตรวจแบบทดสอบวัดความรู ้ พื้นฐาน นาผลที่ได้จากการวัดความรู ้พ้ืนฐานมาวิเคราะห์ ว่ามีจานวนนักเรี ยนที่ผา่ นและไม่ผา่ นเกณฑ์กี่คน เพื่อจะ ได้แบ่ งกลุ่ มนักเรี ยนในการปรั บ ความรู ้ พ้ื นฐาน ได้ผ ลการวัด ความรู ้ พ้ื นฐานแล้ว ได้น าข้อมู ลมาวางแผนปรั บ พื้นฐานให้แก่นักเรี ยนที่ ไม่ผ่านเกณฑ์ โดยใช้รูปแบบของการจัดกิ จกรรม การใช้สื่ออุปกรณ์ ของจริ ง การลงมื อ ปฏิ บัติด ้วยตนเอง การฝึ กปฏิ บัติให้บ่อ ยครั้ ง จากนั้นได้บ ันทึ กข้อมู ลต่ าง ๆ ในขณะที่ ทาการปรั บ พื้ นฐาน เช่ น กิ จกรรมที่ ใช้ปรับความรู ้ พ้ื นฐานเหมาะสมหรื อไม่ เวลา การใช้สื่ออุปกรณ์ รวมทั้งพฤติ กรรมของนักเรี ยนขณะ ดาเนิ นการปรับความรู ้พ้ืนฐานและได้วิเคราะห์ผลของการปรับความรู ้พ้ืนฐาน ว่านักเรี ยนเกิดความรู ้ความเข้าใจใน เนื้ อหาที่ปรับความรู ้พ้ืนฐานมากเพียงพอที่จะเรี ยนเนื้ อหาในบทเรี ยนใหม่หรื อไม่ ถ้านักเรี ยนคนใดมีความรู ้ยงั ไม่ เพียงพอหรื อไม่ถึงเกณฑ์ที่กาหนดไว้ตอ้ งปรับความรู ้พ้ืนฐานจนกว่านักเรี ยนจะมีพ้ืนฐานเพียงพอที่จะเรี ยนเนื้ อหา ในบทเรี ยนใหม่ 2.2 สอนเนื้อหาใหม่ / ซ่อมเสริ ม วางแผนการสอนเนื้ อหาใหม่ โดยนาผลการปรับความรู ้พ้ืนฐาน และปั ญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นมาช่วยใน การวางแผนในการสอนเนื้ อหาใหม่ ได้ดาเนิ นการสอนเนื้ อหาใหม่ และระหว่างด าเนิ นการสอนครู ได้สังเกต พฤติกรรมต่าง ๆ ของนักเรี ยน ครู ได้ดาเนินการวัดผลหลังการสอนโดยใช้เครื่ องมือต่าง ๆ เช่น แบบฝึ กหัด แบบฝึ ก ทักษะ รวมทั้งแบบทดสอบเมื่อจบเนื้อหา เพื่อตรวจสอบความรู ้ความเข้าใจในเนื้ อหา ใช้แบบสังเกตพฤติกรรมของ นักเรี ยน และบันทึ กด้านการเรี ยนของนักเรี ยน เพื่ อให้ทราบถึงความคิ ดเห็ นและความรู ้สึกต่ อการเรี ยนการสอน รวมทั้งพฤติกรรมของนักเรี ยนในการเรี ยนแต่ละเนื้อหาครู ได้นาผลการวัดความรู ้เนื้อหาใหม่มาวิเคราะห์รายละเอียด ว่ามี นกั เรี ยนผ่านหรื อไม่ผ่านเกณฑ์จานวนกี่ คน นักเรี ยนส่ วนใหญ่ทาผิดพลาดในประเด็นใด เพื่อตรวจสอบว่า นักเรี ยนบรรลุวตั ถุประสงค์การเรี ยนรู ้หรื อไม่ และนาผลที่ได้ไปวางแผนในการจัดกิจกรรมซ่ อมเสริ มแก่นกั เรี ยนที่ ไม่ผา่ นเกณฑ์ 2.3 ทดสอบ / ซ่อมเสริ ม เมื่อเรี ยนเนื้อหาใหม่เสร็ จแล้วทาการทดสอบเมื่อจบบทเรี ยน โดยใช้แบบทดสอบหลังจบบทเรี ยน นาผล ที่ได้มาทาการวิเคราะห์ผลการทดสอบว่ามีนกั เรี ยนสอบผ่านหรื อไม่ผา่ นเกณฑ์การทดสอบเท่าใด นักเรี ยนที่ไม่ผา่ น เกณฑ์การทดสอบได้จดั ให้มีการเรี ยนซ่อมเสริ มจนนักเรี ยนสามารถผ่านเกณฑ์การทดสอบทุกคน 3. ขั้นทบทวนประเมินวงจรเพื่อปรับแผน (Reflect or Review and Evaluate Cycle) การประเมิ นผลการทดสอบเมื่อจบบทเรี ยนได้พิจารณาปั ญหาต่าง ๆ ที่ เกิ ดขึ้นในระหว่างการดาเนิ นการ สอนทุกขั้นตอนจากบันทึกที่ได้รวบรวมไว้ แล้วจึงนาข้อมูลที่ได้น้ นั มาปรับแผนการสอนในครั้งต่อไป 5 กำรวิเครำะห์ ข้อมูล ได้ทาการวิเคราะห์แยกตามลักษณะของข้อมูลที่ได้จากเครื่ องมือ ดังนี้ 1. ข้อ มู ล ที่ ไ ด้จ ากแบบบัน ทึ ก การสั งเกตพฤติ ก รรมของนัก เรี ย น น ามาจัด ประเภท แยกแยะเป็ น หมวดหมู่ แสดงค่าความถี่ ในกรณี ที่ขอ้ มูลสามารถแจกแจงนับได้ แล้วสรุ ปบรรยายภาพรวมในขั้นตอนต่าง ๆ รวมทั้งการวิเคราะห์เนื้อหาด้วยการสรุ ปความรู ้สึกของนักเรี ยนจากแบบบันทึกด้านการเรี ยนของนักเรี ยน 2. ข้อ มู ลที่ ไ ด้จากการทดสอบวัด ความรู ้ พ้ื น ฐาน น าคะแนนมาเที ยบเกณฑ์ คิ ด ร้ อยละของจานวน นักเรี ยนที่ผา่ นเกณฑ์และไม่ผา่ นเกณฑ์ ใช้การแจกแจงนับความถี่และร้อยละตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 3. ข้อมูลที่ ได้จากแบบทดสอบเมื่อจบเนื้ อหา นาคะแนนที่ ได้ เที ยบเกณฑ์และคิ ดร้อยละของจานวน นักเรี ยนที่ผา่ นเกณฑ์และไม่ผา่ นเกณฑ์ใช้การแจกแจงนับความถี่ และร้อยละตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ เกณฑ์ ในกำรตัดสิ นคะแนน ได้กาหนดเกณฑ์ในการผ่านการทดสอบ ดังนี้ 1. เกณฑ์ผา่ นการวัดความรู ้พ้ืนฐาน นักเรี ยนต้องได้ 60% ของคะแนนเต็ม ในแต่ละเนื้อหา 2. เกณฑ์ผา่ นการปรับความรู ้พ้ืนฐาน นักเรี ยนต้องได้ 60% ของคะแนนเต็ม ในเนื้ อหาที่นกั เรี ยนได้รับ การซ่อมเสริ ม 3. เกณฑ์ผา่ นการวัดความรู ้เมื่อจบเนื้อหา นักเรี ยนต้องทาคะแนนได้ไม่ต่ากว่า 60% ของคะแนนเต็ม ผลกำรวิจยั 1. ขั้นวำงแผน (Plan) ประกอบด้ วย 1.1 สำรวจหรื อหำปัญหำ สำเหตุ และวิธีแก้ ปัญหำ จากการดาเนินการวิจยั ในชั้นเรี ยนทาให้พบที่มาของปัญหาสาเหตุและวิธีการแก้ไขปัญหา ดังนี้ ปั ญหา สาเหตุ วิธีการแก้ปัญหา ด้ ำนนักเรียน 1. นักเรี ยนมีพ้นื ฐานความรู ้ -นักเรี ยนมีระดับความสามารถและ - ตรวจสอบพื้นฐานและปรับความรู ้พ้นื ฐาน ทางด้านคณิ ตศาสตร์ต่างกัน ศักยภาพที่แตกต่างกัน นักเรี ยนให้มีความใกล้เคียงกัน 2. นักเรี ยนขาดทักษะ - นักเรี ยนไม่ได้รับการฝึ กฝน - จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่เน้น กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ และไม่ปฏิบตั ิกิจกรรมทาง นักเรี ยนเป็ นสาคัญ คณิ ตศาสตร์ - ใช้กิจกรรมการสอนที่มีสื่ออุปกรณ์กระตุน้ เร้าความสนใจเพื่อให้เกิดความเข้าใจ 3.นักเรี ยนมีพฤติกรรมในชั้น - นักเรี ยนขาดความมัน่ ใจในตนเอง - ครู ควร ดูแลเอาใจใส่นกั เรี ยนอย่างทัว่ ถึง เรี ยน เช่น กลัว ไม่กล้าตอบคาถาม ไม่ร่วม - ควรมีการเสริ มแรงทางบวกแก่นกั เรี ยน ที่แตกต่างกัน กิจกรรมที่จดั ขึ้น เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความสนใจและมัน่ ใจใน การร่ วมกิจกรรม - วิธีการสอนและกิจกรรมไม่น่าสนใจ - สร้างข้อตกลงร่ วมกันเพื่อมีแนวทางปฏิบตั ิ 4. นักเรี ยนมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชา แนวเดียวกัน คณิ ตศาสตร์ - ครู ควรปรุ งปรุ งวิธีการสอนให้มีความ น่าสนใจ - สร้างแรงจูงใจโดยการเสริ มแรงทางบวก ในการเรี ยน 6 ปั ญหา สาเหตุ วิธีการแก้ปัญหา ครู ผ้สู อน 1. ขาดเทคนิควิธีการสอนที่ดี - ครู ไม่เตรี ยมการสอน - ครู ควรเตรี ยมการสอนทุกครั้ง - ครู ไม่ได้ใช้การสอนที่ยดึ นักเรี ยน - ครู ควรจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นนักเรี ยนเป็ น เป็ นศูนย์กลางการเรี ยนรู ้ ศูนย์กลางการเรี ยนรู ้ 2. ขาดสื่ ออุปกรณ์การสอนและ - สื่ ออุปกรณ์บางชนิดมีจากัด - ครู ควรจัดหาสื่ ออุปกรณ์ให้เพียงพอ สื่ อบางชิ้นไม่มีประสิ ทธิภาพ - ไม่มีเวลาจัดทาสื่ ออุปกรณ์ สาหรับกิจกรรมการเรี ยนการสอน - ควรมีการจัดทาระเบียนสื่ ออุปกรณ์ 3. ขาดการจัดบรรยากาศและ - ครู ไม่มีเวลาจัดบรรยากาศใน - ครู ควรจัดบรรยากาศในห้องเรี ยนให้มี สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ ห้องเรี ยนให้เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ได้ เช่น ความน่าสนใจ นักเรี ยนสามารถเข้าไปใช้ มุมสื่ ออุปกรณ์ ป้ ายนิเทศ อุปกรณ์ทางคณิ ตศาสตร์ได้ ปัญหำด้ ำนอื่น ๆทีเ่ กีย่ วข้ อง มุมคณิ ตศาสตร์ ผู้ปกครอง - การดูแลเอาใจใส่ของ - ผูป้ กครองไม่มีเวลาดูแลนักเรี ยน - ครู ควรปรึ กษาปั ญหาร่ วมกับผูป้ กครองใน ผูป้ กครองแตกต่างกัน การแก้ไขปั ญหา เรื่ องการดูแลนักเรี ยนร่ วมกัน 1.2 วางแผนการสร้างเครื่ องมือการวิจยั การรวบรวมข้อมูล ครู ได้จดั เตรี ยมและสร้างเครื่ องมือในการวิจยั สื่ อและอุปกรณ์การสอน ดังกล่าวแล้ว 1.3 ทาแผนการสอนและปรับแผนการสอน แผนการสอนในการวิจยั มีจานวน 10 แผน มีข้ นั ตอนการฝึ กทักษะการคูณที่ใช้ในแต่ละแผนการสอนดังนี้ 1. ทากิจกรรมพัฒนาสมองเตรี ยม ความพร้อม และทบทวนความรู ้เดิม 2. กระตุน้ และจูงใจให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ การนาเสนอในสิ่ งที่นกั เรี ยนชอบ 3. จัดเตรี ยมสื่ ออุปกรณ์ให้เหมาะสม แต่ละกิจกรรมการเรี ยนการสอน 4. ให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยน ฝึ กกิจกรรมกลุ่ม การอ่าน เขียน คิดคานวณ 5. ให้คาแนะนา อธิ บายเพิ่มเติม ให้นกั เรี ยนได้ลองผิดลองถูก 6. การฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมก่อให้เกิดทักษะ การทาแบบฝึ กทักษะ ฝึ กซ้ าทาให้เก่ง 7 2. ขั้นปฏิบัตแิ ละรวบรวมข้ อมูล (Act and Observe) 2.1 ปรับพื้นฐาน / ผลการปรับความรู ้พ้ืนฐาน ได้ทาการวัดความรู ้พ้ืนฐานเรื่ องการคูณเลข และผลปรากฏดังตาราง 1 ตารางที่ 1 จานวนนักเรี ยนที่ผา่ นเกณฑ์และไม่ผา่ นเกณฑ์ในเนื้ อหาเรื่ องการคูณ เนื้อหา ผ่านเกณฑ์ (คน) ไม่ผา่ นเกณฑ์ (คน) 1. การคูณ (ชนิดเลือกตอบ) 21 17 2. โจทย์การคูณ (วิธีทา) 15 23 จากตารางที่ 1 พบว่า ในการวัดความรู ้พ้ืนฐาน มีนกั เรี ยน 17-23 คน ไม่ผา่ นเกณฑ์การวัดความรู ้พ้ืนฐาน ต้องได้รับการปรับพื้นฐานต่อไป ครู ได้นาผลจากการวัดความรู ้พ้ืนฐานมาวิเคราะห์ความผิดพลาด พบดังนี้ คือ ความผิดพลาดที่เกิดจากการ ขาดความรอบคอบในการทาแบบทดสอบและพื้นฐานความรู ้ไม่ดีพอ กำรปรับควำมรู้ พื้นฐำน ครู ได้วางแผนการปรับพื้นฐานในเรื่ องการคูณดังนี้ 1. การคูณ ได้ แบ่งเป็ นกลุ่มละ 3 คน ฝึ กนับเพิ่มจากของจริ ง นับเพิ่มที ละ 1-10 จนคล่อง จากนั้นฝึ ก ปฏิบตั ิจากการดูรูปภาพ แล้วทาแบบฝึ กทักษะการคูณ มีครู และเพื่อนนักเรี ยนที่เรี ยนเก่ง คอยอธิ บายดูแลในการทา แบบฝึ กทักษะ หรื อมีปัญหาในขณะปฏิบตั ิกิจกรรม 2. โจทย์การคูณ โดยฝึ กท่องสู ตรคูณแล้วสอนสาธิ ตประกอบการอธิ บาย แล้วให้นกั เรี ยนฝึ กท่องสู ตรคูณ โดยดูจากตาราง แล้วแบ่งกลุ่ม ให้ฝึกปฏิ บตั ิ จากเกมการคูณเลข ฝึ กการคูณเลขตามแผนผังการคูณ โดยมีครู ผูฝ้ ึ ก เป็ นเพื่ อนของนักเรี ยนที่ ผ่านเกณฑ์การหาผลคูณ และคอยดูแล แล้วให้ฝึกการหาผลคูณจากโจทย์ที่ครู กาหนดให้ แล้วจึงสรุ ปเป็ นหลักการคูณเพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความเข้าใจมากขึ้น ผลการปรับพื้ นฐานนักเรี ยนที่ เข้ารับการปรับพื้ นฐานในเนื้ อหา เรื่ องการคู ณ โจทย์การคูณ นักเรี ยน สามารถผ่านการปรับพื้นฐาน มีนกั เรี ยนที่มีปัญหาเรื่ องการอ่านและการเขียน 1 คน ในระยะเวลาที่ปรับพื้นฐานใน ด้านการอ่านการเขี ยน นักเรี ยนยังไม่สามารถอ่านและเขี ยนได้ท้ งั หมด แต่นกั เรี ยนสามารถตอบคาถามจากครู ได้ ถูกต้อง แสดงถึงความสามารถที่จะผ่านการปรับพื้นฐานครั้งนี้ 2.2 สอนเนื้อหาใหม่ ได้ดาเนินการสอนตามแผนการสอนที่เตรี ยมไว้ มีรายละเอียดดังนี้ 1. ขั้นนำเข้ ำสู่ บทเรียน ได้จดั กิจกรรมพัฒนาสมอง กิจกรรมสนทนาซักถาม กิจกรรมเกม กิจกรรมท่องสู ตรคูณ กิจกรรมเพลง ซึ่ ง เป็ นกิจกรรมที่ นาเข้าสู่ บทเรี ยนเพื่อเตรี ยมความพร้อมของสมองให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ เชื่ อมโยมความรู ้เดิ มกับความรู ้ ใหม่ สร้างบรรยากาศในการเรี ยนให้น่าสนใจ ตลอดจนสร้างความมัน่ ใจในเรี ยนรู ้ 2. ขั้นกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน กิ จกรรมส่ วนใหญ่ ให้นักเรี ย นเป็ นส่ วนร่ วมมากที่ สุ ด โดยมี วิธีการจัด กิ จกรรมการเรี ยนการสอน คื อ 1. วิธีการสอน 2. รู ปแบบกิจกรรม 3. การปรับพฤติกรรมและการเสริ มแรง ดังนี้ - ใช้วิธีการสอนแบบสาธิ ต วิธีสอนแบบอภิปราย วิธีสอนแบบร่ วมมือ 8 - รู ปแบบการจัดกิ จกรรม การใช้สื่อการเรี ยนการสอนของจริ ง การฝึ กทักษะกระบวนการกลุ่ม กิ จกรรม เพื่อนช่วยเพื่อน การฝึ กทักษะ กิจกรรมการเสริ มแรง นักเรี ยนทุกคนได้รับการฝึ กปฏิบตั ิ - การปรับพฤติ กรรม ในเรื่ องความรับผิดชอบ ความสะอาดเรี ยบร้อย ความสนใจและตั้งใจเรี ยน การ ทางานร่ วมกับเพื่อน ครู ใช้การเสริ มแรงทางบวก เพื่อให้นกั เรี ยนได้แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 3. ขั้นกำรสรุ ปบทเรียน นักเรี ยนเป็ นผูส้ รุ ปบทเรี ยนร่ วมกัน และ นักเรี ยนแต่ละคนสรุ ปบทเรี ยนด้วยตนเอง 2.3 ทดสอบ / ซ่อมเสริ ม ผลการตรวจแบบทดสอบ ผลจากการวัดความรู ้เนื้อหาใหม่ ปรากฏผล ดังนี้ ตำรำง 2 จานวนนักเรี ยนที่ผา่ นและไม่ผา่ นเกณฑ์การวัดผลเนื้อหาใหม่เรื่ องการคูณ เนื้อหา ผ่านเกณฑ์ ไม่ผา่ นเกณฑ์ 1. ความหมายของการคูณ 38 0 2. ความคูณเลขกับจานวนเต็ม 38 0 3. การคูณเลขหลักเดียวกับเลขหลายหลักที่ไม่มีการทด 36 2 4. การคูณเลขหลักเดียวกับเลขหลายหลักที่มีการทด 36 2 5. การคูณเลขสองหลักกับเลขสองหลัก 36 2 จากตาราง 2 สรุ ปได้ว่า เนื้ อหาในบทเรี ยนเรื่ องการคูณ 5 เนื้ อหา มีเนื้ อหาที ผา่ นเกณฑ์ทุกคนจานวน 2 เนื้ อหา ไม่ ผ่านเกณฑ์ 2 คน ตามเนื้อหาที่ปรากฏ ซึ่ งนักเรี ยนที่ไม่ผา่ นเกณฑ์ตอ้ งได้รับการซ่อมเสริ มต่อไป กำรสอนซ่ อมเสริม ได้ทาการซ่ อมเสริ มนักเรี ยนที่เรี ยนอ่อน และขาดเรี ยนในแต่ละวัน สิ่ งที่ตอ้ งการซ่ อมเสริ มนักเรี ยนส่ วนมากจะเป็ น เรื่ องเกี่ยวกับเนื้ อหาที่เรี ยนไปในแต่ละคาบเรี ยน โดยครู ได้ใช้เทคนิ ควิธีการสอนโดยตรงจากครู สู่ตวั นักเรี ยนใช้สื่อ อุปกรณ์ต่าง ๆ ช่วยในการอธิ บายเพื่อให้เกิดความเข้าใจ กำรทดสอบเมื่อจบบทเรียน ผลกำรสอบเมื่อจบบทเรียน ผลการสอบแต่ละบทเรี ยน คือ บทเรี ยนเรื่ อง การคูณ ตำรำง 3 แสดงระดับคุณภาพของนักเรี ยน ในการทดสอบในบทเรี ยนเรื่ องการคูณ ร้อยละของคะแนน ระดับคุณภาพ เรื่ องการคูณ ร้อยละ 80 – 100 ดีมาก 22 57.89 70 – 79 ดี 10 26.32 60 – 69 พอใช้ 6 15.79 ต่ากว่า 60 ไม่ผา่ น 0 0 รวม 38 จากตาราง 3 ในการทดสอบเมื่อจบบทเรี ยน เรื่ องการคูณนักเรี ยนทุกคน สามารถผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 60 ในระดับดีมาก ดี และพอใช้ตามลาดับ 9 3. ผลกำรทบทวนและประเมินเพื่อปรับแผน (Reflect : Review & Evaluate) การดาเนิ นการตามรู ปแบบการวิจยั เชิ งปฏิ บั ติ การในชั้นเรี ยน ครู ได้มีการทบทวนและประเมิ นผลในทุ กระยะ เพื่อนาสู่ การปรับแผนการในการปรับปรุ งคุณภาพการเรี ยนการสอน ได้แก่ ผลการทบทวนการดาเนินการ ผลกำรวัดเจตคติของนักเรียนที่มตี ่ อวิชำคณิตศำสตร์ จากการตอบแบบสอบถามเมื่ อ จบบทเรี ย น พบว่า นัก เรี ย นมี เจตคติ ที่ ดี ต่ อการเรี ย นการสอนวิ ช า คณิ ตศาสตร์ โดยมีคะแนนเฉลี่ย 2.74 นักเรี ยนชอบที่จะเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ มีความสนุกสนาน อยากร่ วมกิจกรรม ทางคณิ ตศาสตร์ มีความพึงพอใจกับการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่เกิดขึ้น กำรสั งเกตพฤติกรรม ของนักเรี ยนในระหว่างดาเนิ นการเรี ยนการสอน สรุ ปได้ดงั นี้ - นักเรี ยนมีความสนใจตั้งใจเรี ยน เข้าร่ วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ครู ได้จดั ขึ้น - นักเรี ยนทางานสะอาดเรี ยบร้อยมากขึ้ น มีความเพียรพยายามในการทางานรู ้จกั การปรับปรุ งแก้ไข พัฒนางานของตนเองให้ดีข้ ึน - นักเรี ยนมีระเบียบวินยั มากขึ้น หลังจากสร้างข้อตกลงหรื อกฎกติกาต่าง ๆ ร่ วมกันในห้องเรี ยน - นักเรี ยนมีความกล้าแสดงออกในเรื่ อง การซักถาม การตอบคาถาม การแสดงความคิดเห็น - นักเรี ยนสามารถทางานร่ วมกับเพื่ อน ๆ ภายในกลุ่มรู ้จกั การแบ่งปั นช่ วยเหลือผูอ้ ื่นในการที่ จะดูแล อธิ บาย ให้ความช่วยเหลือเพื่อนที่เรี ยนอ่อน สรุปผลกำรดำเนินกำรวิจยั ด้ ำนนักเรียน 1. นักเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจในเนื้ อหาการคูณ และมีทกั ษะในการคิดคานวณ กล่าวคือ นักเรี ยนทุก คน คิดเป็ นร้อยละ 100 สามารถผ่านเกณฑ์การทดสอบเนื้ อหาเรื่ องการคูณ และนักเรี ยนมีพฤติกรรมในชั้นเรี ยนที่ พึงประสงค์ พบว่า นักเรี ยนได้มีการปรับพฤติ กรรมไปในทางที่ พึงประสงค์ มีความกล้าแสดงออกร่ วมกิ จกรรม ต่าง ๆ มากขึ้น มีการซักถามหรื อตอบคาถาม มีความรับผิดชอบในการทางานและส่ งงานตรงเวลา 2. นักเรี ยนมีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ ด้ ำนครู ผ้ วู จิ ยั 1. ครู ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติ กรรมการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของนักเรี ยนมากยิ่งขึ้ น ทาให้ครู มีความกระตือรื อร้นในการปรับปรุ งและพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ 2. การวางแผนการทางานในด้านการสอนอย่างชัดเจน ได้จดั เตรี ยมสื่ อและอุปกรณ์ การเรี ยนการสอน และหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ส่งผลให้จดั กิจกรรมการเรี ยนการสอนมีประสิ ทธิ ภาพมากยิ่งขึ้น 3. ครู สามารถสร้างข้อสรุ ปจากการปฏิ บตั ิ กิจกรรมต่ าง ๆ ในระหว่างการเรี ยนการสอน ซึ่ งนาไปสู่ การสอนที่ทาให้นกั เรี ยนเกิดความเข้าใจในเนื้อหาได้ดีและเร็ วขึ้น 4. ครู ได้แนวทางในการจัดกิจกรรมในการเรี ยนการสอนต่อไป 10 ข้ อเสนอแนะเพื่อนำผลกำรวิจัยไปใช้ 1. การสอนทักษะการคิดคานวณ ควรฝึ กปฏิบตั ิจากของจริ ง การสัมผัสจับต้อง เพื่อให้เกิดความคุน้ เคย และฝึ กปฏิบตั ิจากการทาแบบฝึ กทักษะต่าง ๆ ให้มากขึ้น เพื่อให้เกิดความชานาญ 2. การให้แรงเสริ มทางบวกแก่นกั เรี ยนเป็ นสิ่ งที่มีความจาเป็ นและควรกระทามากในการจัดกิจกรรมใน แต่ละครั้ง เพราะการเสริ มแรงเป็ นการให้กาลังใจแก่นกั เรี ยน ส่ งผลต่อการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ให้เกิดความสาเร็ จ 3. กิ จกรรมซ่ อมเสริ มนักเรี ยน ควรเป็ นกิ จกรรมที่ ครู ผูส้ อนให้ความสนใจ ไม่ควรซ่ อมเสริ มเฉพาะ นักเรี ยนที่ไม่ผา่ นเกณฑ์ แต่ควรมีการสอนซ่ อมเสริ มสาหรับนักเรี ยนที่ขาดเรี ยน และไม่เข้าใจเนื้ อหาต่าง ๆ รวมทั้ง นักเรี ยนที่ มีความสนใจจะเรี ยนซ่ อมเสริ มเพื่ อเป็ นการทบทวน จะทาให้นักเรี ยนเหล่านี้ ได้รับประโยชน์จากการ สอนซ่อมเสริ ม 4. ควรมีการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนวิชาคณิ ตศาสตร์ บูรณาการเข้ากับวิชาอื่น ๆ หรื อสิ่ งแวดล้อม ที่มีความเกี่ยวข้องกัน ฝึ กให้นกั เรี ยนได้มีโอกาสเชื่อมโยงคณิ ตศาสตร์ ที่นาไปใช้ได้ในชีวิตประจาวัน บรรณำนุกรม กองวิจยั การศึกษา กรมวิชาการ. (2542). วิจยั เพื่อพัฒนำกำรเรียนรู้. กรุ งเทพฯ: คุรุสภา. กิตติพร ปัญญาภิญโญผล. (2540). รำยงำนกำรวิจัยเชิงปฏิบัตกิ ำรในชั้นเรียน. กรณี ศึกษาระดับ ประถมศึกษา. เชียงใหม่: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เกรี ยงไกร เจริ ญวงศ์ศกั ดิ์. (2546). ควำมคิดเชิงมโนทัศน์. กรุ งเทพ ฯ: พัฒนาการพิมพ์. บุญทัน อยูช่ มบุญ. (2529). พฤติกรรมกำรเรียนกำรสอนคณิตศำสตร์ ระดับประถมศึกษำ. กรุ งเทพฯ: โอเดียนสโตร์. บุญเสริ ม ฤทธาภิรมย์. (2527). กระบวนกำรคิด. กรุ งเทพฯ : สมพรการพิมพ์. มาลินี จุฑะรพ. (2537). จิตวิทยำกำรเรียนกำรสอน. กรุ งเทพฯ: อักษราพิพฒั น์. ยุพิน พิพิธกุล. (2539). กำรเรียนกำรสอนคณิตศำสตร์. กรุ งเทพฯ: บพิธการพิมพ์. 11 ภำคผนวก 12 แผนการสอนวิชา คณิ ตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2552 หน่วยที่ 4 เรื่ อง การคูณ จานวน 10 คาบ แผนการสอนที่ 3 เรื่ อง การคูณเลขหลักเดียว สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู้ สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจาการดาเนินการของจานวนและ ความสัมพันธ์ระหว่างการดาเนินการต่าง ๆ และการใช้การดาเนินในการแก้ปัญหา มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่ อสาร การสื่ อ ความหมายทางคณิ ตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู ้ต่าง ๆ ทางคณิ ตศาสตร์และเชื่อมโยง คณิ ตศาสตร์ กบั ศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ จุดประสงค์ 1. นักเรี ยนสามารถคูณเลขหลักเดียวได้ได้ถูกต้อง 2. นักเรี ยนร่ วมกิจกรรมกลุ่มกับเพื่อนได้อย่างมีความสุ ข เนื้อหา การคูณเลขหลักเดียว จะทาให้ได้คาตอบเท่ากับการบวกจานวนนั้น ๆ หลาย ๆ ครั้ง กิจกรรมการเรียนการสอน (ใช้กิจกรรมการสร้างบัตรผลการคูณ เพื่อฝึ กการท่องสู ตรคูณ การใช้กิจกรรม กลุ่มทางานช่วยกันคิดหาคาตอบเป็ นการช่วยเหลือแบ่งปั นกัน การทาแบบฝึ กทักษะการคูณ เพื่อฝึ กการ สังเกตและหาผลคูณ) ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน นักเรี ยนฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมพัฒนาสมองก่อนเรี ยน โดยนัง่ สมาธิ ฟังเพลงบรรเลงที่มีความเร็ วของ เพลงพอเหมาะ ประมาณ 3-5 นาที จากนั้นนักเรี ยนเล่นเกมตัวเลขพาเพลิน ซึ่ งในเกมนี้ จะมีบตั รตัวเลขหลาย ตัวเลขที่มีความซ้ า แล้วให้นกั เรี ยนช่วยกันเขียนตัวเลขที่ซ้ าออกมาในรู ปการบวกและการคูณ เช่น3 5 8 6 8 5 7 1 10 10 2 6 8 9 6 7 10 2 6 8 0 5 4 11 11 0 2 6 5 7 1 2 5 5 8 7 3 6 6 3 8 3 5 3 7 1 4 5 11 5 เช่น เลข 3 มีจานวน 5 ตัว = 3+3+3+3+3 = 5 × 3 = 15 เปลี่ยนตัวเลขให้นกั เรี ยนได้ฝึกปฏิบตั ิ ขั้นการสอน 1. ขั้นการเสนอข้อมูลและระบุความคิดรวบยอด 1.1 นักเรี ยนดูรูปภาพต่าง ๆ แล้วนับเพิ่มทีละ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 เช่น นับเพิ่มทีละ 1 = 1+1+1 = 3 × 1= 3 นับเพิ่มทีละ 2 = 2+2 = 2× 2 = 4 13 นับเพิ่มทีละ 4 = 4+4+4+4= 4 × 4 = 16 นับเพิ่มทีละ6 = 6+6+6 = 18 = 3×6 = 18 นับเพิ่มทีละ7 = 7+7+7 = 21 = 3×7 = 21 นับเพิ่มทีละ 9 = 9+9+9 =27 = 3×9= 27 2. ขั้นการทดสอบความถูกต้องของความคิดรวบยอด 2.1 ให้นกั เรี ยนเข้ากลุ่ม แล้วช่วยกันคิดและตอบคาถามของครู ต่อไปนี้ - ครู นบั เพิ่มทีละ 2 จานวน 9 ครั้ง จะนับได้เท่าใด (18) ถามวิธีคิดจากนักเรี ยนทีละคนว่าได้คาตอบมาอย่างไร - นับเงินทีละ 5 บาท จานวน 11 ครั้ง จะนับได้เท่าใด (55) ถามวิธีคิดจากนักเรี ยนทีละคนว่าได้คาตอบมาอย่างไร ครู ร่วมกับนักเรี ยนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเรื่ องการคูณ พร้อมอธิ บายเครื่ องหมายการคูณ โดยใช้สัญลักษณ์ (×) แทน ซึ่ งมาจากการบวกจานวนเท่า ๆ กันหลาย ๆ ครั้ง 2.2 นักเรี ยนเข้ากลุ่มจัดทาบัตรผลคูณของ 2 ถึง 12 จากนั้นฝึ กท่อง ตัวอย่าง เช่น บัตรผลการคูณของ 2 บัตรผลการคูณของ 6 2×1=2 6×1=2 2×2=4 6 × 2 = 12 2×3=6 6 × 3 = 18 2×4=8 6 × 4 = 24 2 × 5 = 10 6 × 5 = 30 2 × 6 = 12 6× 6 = 36 2 × 7 = 14 6× 7 = 42 2 × 8 = 16 6× 8 = 48 2 × 9 = 18 6 × 9 = 54 2 × 10 = 20 6 × 10 = 10 2 × 11= 22 6 × 11 = 66 2 × 12= 24 6× 12 = 72 14 3. ขั้นวิเคราะห์ยทุ ธวิธีในการคิด 3.1 ครู กาหนดโจทย์การคูณให้นกั เรี ยนคิดวิเคราะห์จากโจทย์ต่อไปนี้ 1. 9 × 2 = เขียนในรู ปการบวก................................. เขียนในรู ปการคูณ......................................... คาตอบ................... 2. 6 × 5 = เขียนในรู ปการบวก................................. เขียนในรู ปการคูณ......................................... คาตอบ................... 3. 7 × 8 = เขียนในรู ปการบวก................................. เขียนในรู ปการคูณ......................................... คาตอบ................... ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปถึงวิธีการคิดให้ได้คาตอบของการคูณเลขหลักเดียวอีกครั้ง ขั้นการสรุ ป นักเรี ยนช่วยกันสรุ ปการหาผลคูณร่ วมกัน นักเรี ยนทาแบบฝึ กหัดการคูณ จานวน 10 ข้อ หมายเหตุ ในระหว่างกิจกรรมการเรี ยนการสอน นักเรี ยนที่ไม่เข้าใจขั้นตอนการจัดกิจกรรมใด หรื อทา ไม่ได้ครู จะทาการสอนทวนอีกครั้งเพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความเข้าใจในทุกขั้นตอน จากนั้นครู ใช้แบบบันทึก การสังเกตเก็บรวบรวมข้อมูล แล้วนาผลการประเมินไปวางแผนการสอนครั้งต่อไป สื่ อการเรียนการสอน เกม รู ปภาพ บัตรผลการคูณ แบบฝึ กหัด การประเมินผล สังเกตจากการร่ วมกิจกรรมและการตอบคาถาม สังเกตดูความสนใจและตั้งใจทางาน ตรวจแบบฝึ กหัด บันทึกระหว่างการสอน 15 ภาพประกอบการทากิจกรรมนักเรียน นักเรี ยนฝึ กการนับเพิ่ม จากสื่ ออุปกรณ์ นักเรี ยนเข้ากลุ่มฝึ กการนับเพิ่มจากอุปกรณ์ นักเรี ยนใช่เวลาว่างในการฝึ กการนับเพิ่ม 16 นักเรี ยนฝึ กทักษะการการคูณเลข ครู ซ่อมเสริ มในเวลาพักกลางวัน การทาใบงาน กิจกรรมกลุ่ม 17 แบบบันทึกการสั งเกตพฤติกรรมการเรี ยนรู้ วิชา คณิ ตศาสตร์ เรื่ อง การคูณ คาชี้แจง ให้ใส่ เลขคะแนนตรงกับพฤติกรรมของนักเรี ยนที่เกิดขึ้นในชั้นเรี ยนตรงความเป็ นจริ ง รายการสังเกต เลขที่ ชื่อ – สกุล ความสนใจใน กระบวนการ ความ ห้องเรี ยน (3) ทางาน (3) รับผิดชอบ (3) เกณฑ์การให้คะแนน 3 หมายถึง ดี 2 หมายถึง ปานกลาง 1 หมายถึง ต้องปรับปรุ ง ลงชื่อ............................................ ผูป้ ระเมิน 18 เกณฑ์ กำรให้ คะแนนพฤติกรรมกำรเรียนรู้ ของนักเรียน (rubrics) เกณฑ์การให้คะแนน รายการประเมิน 3 2 1 - -- มีความสนใจตั้งใจเรี ยน - - มีความสนใจตั้งใจเรี ยนเป็ น- - ไม่มีความสนใจ 1. ความสนใจใน -- สนทนาแลกเปลี่ยน ส่วนมา - ไม่ต้ งั ใจเรี ยน ห้องเรี ยน -- มีการตอบคาถาม แสดง - - สนทนาแลกเปลี่ยน - - สนทนาแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น - ความคิดเห็นเป็ นบางครั้ง - ความคิดเห็นบางครั้ง -- ไม่เล่น,คุยกันใน - - เล่น,คุยกันใน - - เล่น,คุยกันใน - ห้องเรี ยน - ห้องเรี ยน บ้างเล็กน้อย - ห้องเรี ยน - - - - มีการวางแผนเป็ น - - ไม่มีการวางแผนในการ 2. กระบวนการทางาน - - มีการวางแผนเป็ น - ขั้นตอน - ขั้นตอน ทางาน - - ร่ วมกิจกรรมทุกครั้ง - - เข้าร่ วมกิจกรรมเป็ น - - ร่ วมกิจกรรมบางครั้ง - - ทางานสะอาดเรี ยบร้อย - ส่วนมาก - - ทางานผิดพลาดมาก - ถูกต้อง - - ทางานสะอาดเรี ยบร้อย - - - - - ทางานทันที่ได้รับ - - ไม่กระตือรื อร้นในการ - - ทางานได้รับ 3. ความรับผิดชอบ - มอบหมาย - ทางานที่ได้รับมอบหมาย - มอบหมายบางครั้ง - - ส่ งงานครู ทุกครั้ง - - ส่งงานครู เป็ นส่วนมาก - - ไม่ค่อยส่งงานครู - ตามกาหนด - ตามกาหนด - 19 แบบบันทึกกำรสอนซ่ อมเสริม วิชาคณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2552 ครั้งที่ / วดป สิ่ งที่ตอ้ งการซ่อมเสริ ม ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรี ยน ชื่อนักเรี ยน 20 แบบวัดเจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนแสดงความรู ้สึกต่อข้อความ โดยทาเครื่ องหมาย / ลงในช่องที่ตรงกับ ความรู ้สึกของนักเรี ยนที่มีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ มากที่สุด ข้อความ เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย 1. วิชาคณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาที่น่าสนใจ................................................ 2. นักเรี ยนชอบเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์................................................ 3. นักเรี ยนอยากมีส่วนร่ วมในกิจกรรม วิชาคณิ ตศาสตร์................................................ 4. นักเรี ยนสนุกกับการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์............................................... 5. การเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ ทาให้ฉลาดขึ้น............................................. 6.นักเรี ยนไม่ชอบทาแบบฝึ กหัดคณิ ตศาสตร์............................................. 7. นักเรี ยนไม่เต็มใจที่จะเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์............................................. 8. วิชาคณิ ตศาสตร์ เป็ นวิชาที่น่าเบื่อ............................................... 9. นักเรี ยนอยากให้ถึงวิชาคณิ ตศาสตร์ เร็ ว.............................................. 10. วิชาคณิ ตศาสตร์ มีประโยชน์ต่อทุกคน.............................................. 11. วิชาคณิ ตศาสตร์เป็ นวิชาที่ยากและ ปวดหัว.............................................. 12. นักเรี ยนไม่ชอบทากิจกรรมคณิ ตศาสตร์............................................... 21 การใช้กระบวนการ 3 ขัน ้ ตอน พัฒนาทักษะ คณิตศาสตร์ ด้านการคูณเลข ของนักเรียนระดับชัน ้ ประถมศึกษาปีที่ 3 The Use of 3 Steps Process to Develop P.3 Students in Multiple Math skill. 22 โดย....... นางสาวคชาภรณ์ จาปาอิ่ม โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่