สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน PDF

Document Details

ShinyKrypton9489

Uploaded by ShinyKrypton9489

Mahasarakham University

อ.พท.ป.สุวรรณา แม่นปืน

Tags

สมุนไพร สาธารณสุข การแพทย์แผนไทย สุขภาพ

Summary

เอกสารการสอนนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับสมุนไพรที่ใช้ในงานสาธารณสุขมูลฐาน อธิบายสรรพคุณและวิธีการใช้สมุนไพรแต่ละชนิด รวมถึงการใช้สมุนไพรให้เกิดประสิทธิภาพ

Full Transcript

สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน อ.พท.ป.สุวรรณา แม่นปืน วัตถุประสงค์การเรียน นิสิตสามารถบอกสมุนไพรที่อยู่ในงานสาธารณสุขมูลฐานได้ นิสิตสามารถบอกสรรพคุณของสมุนไพรที่อยู่ในงานสาธารณสุขมูลฐานได้ นิสิตสามารถอธิบายวิธีการใช้สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานในการดูแลสุขภาพ เบื้องต้นได้...

สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน อ.พท.ป.สุวรรณา แม่นปืน วัตถุประสงค์การเรียน นิสิตสามารถบอกสมุนไพรที่อยู่ในงานสาธารณสุขมูลฐานได้ นิสิตสามารถบอกสรรพคุณของสมุนไพรที่อยู่ในงานสาธารณสุขมูลฐานได้ นิสิตสามารถอธิบายวิธีการใช้สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานในการดูแลสุขภาพ เบื้องต้นได้ 2 3 การใช้สมุนไพรให้เกิดประสิทธิภาพ ถูกต้น ถูกส่วน ถูกขนาด ถูกวิธี ถูกโรค 4 สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน ระบบทางเดิน หายใจ ระบบผิวหนัง ระบบทางเดิน อาหาร ระบบทางเดิน อื่น ๆ ปัสสาวะ โรคกระเพาะอาหาร พยาธิลาไส้ ท้องผูก ระบบทางเดินอาหาร เบื่ออาหาร ท้องเสีย คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืด, ท้องเฟ้อ, แน่นจุกเสียด 6 ระบบทางเดินอาหาร โรคกระเพาะอาหาร ขมินชัน กล้วยนาว้า 7 กล้วยนาว้า ชื่อวิทยาศาสตร์: Muasa x paradisiaca L. วงศ์: MUSACEAE ส่วนที่ใช้: ลูกดิบหรือลูกห่าม วิธีใช้: ผลห่าม รับประทาน ½ - ๑ ผล ผลดิบหั่นบาง ๆ ตากแห้ง บดเป็นผงชงน้้าดื่ม ใช้ผงยาเท่ากับ ½ - ๑ ผล ข้อควรระวัง: อาจมีอาการท้องอืด แก้โดยดื่มน้้าต้มขิงหรือสมุนไพรขับลม 8 ขมินชัน ชื่อวิทยาศาสตร์: Curcuma longa L. วงศ์: ZINGIBERACEAE ส่วนที่ใช้: เหง้าสดและผงแห้ง วิธีใช้: ล้างเหง้าให้สะอาด หั่นเป็นชิ้นบาง ๆ ตากแดด บดให้ละเอียดผสมกับน้้าผึ้งปั้นเป็นเม็ด กิน ๒-๓ เม็ด วันละ ๔ ครั้งก่อนอาหารและก่อนนอน 9 ขมินชัน ขิง พริกไทย กะเพรา ระบบทางเดินอาหาร ตะไคร้ กระเทียม ข่า แห้วหมู ท้องอืด, ท้องเฟ้อ, แน่นจุกเสียด กระชาย กระวาน ดีปลี เร่ว กานพลู กระทือ ขิง ชื่อวิทยาศาสตร์: Zingiber officinale Roscoe. วงศ์: ZINGIBERACEAE ส่วนที่ใช้: ใช้เหง้าขิงแก่ทั้งสดและแห้ง วิธีใช้: เหง้าสดขนาดนิ้วหัวแม่มือ ทุบให้แตกต้มกับน้้าหรือใช้ผงขิงแห้งชงน้้าดื่ม 11 กระชาย ชื่อวิทยาศาสตร์: Boesenbergia pandurate (L) Mansf. วงศ์: ZINGIBERACEAE ส่วนที่ใช้: เหง้าใต้ดิน วิธีใช้: เหง้าและรากประมาณครึ่งก้ามือ (สด ๕-๑๐ กรัม แห้ง ๓-๕ กรัม) ทุบพอแหลก ต้มพอเดือดเอาน้้าดื่ม หรือปรุงอาหารรับประทานได้ 12 กระเทียม ชื่อวิทยาศาสตร์: Allium sativum L. วงศ์: AMARYLLIDACEAE ส่วนที่ใช้: หัวใต้ดิน วิธีใช้: กระเทียม ๕-๗ กลีบ ซอยละเอียด รับประทานหลังอาหารหรือมีอาการ 13 กะเพรา ชื่อวิทยาศาสตร์: Ocimum tenuiflorum L. / O. sanctum L. วงศ์: LAMIACEAE (LABIATAE) ส่วนที่ใช้: ใบสดหรือแห้ง วิธีใช้: ใช้ใบและยอดกะเพรา ๑ ก้ามือ (สดหนัก ๒๕ กรัม, แห้งหนัก ๔ กรัม) ต้มเอาน้้าดื่ม หรือน้ามาประกอบอาหาร 14 ข่า ชื่อวิทยาศาสตร์: Languas galanga (L.) Willd. วงศ์: ZINGIBERACEAE ส่วนที่ใช้: เหง้าและราก วิธีใช้: ใช้เหง้าสดหรือแห้ง ขนาดหัวแม่มือ (สดใช้ ๕ กรัม แห้ง ๒ กรัม) ทุบพอแตกต้มเอาน้้าดื่ม และต้าให้แหลกเติมน้้า หรือน้้าปูนใส ดื่มครั้งละครึ่งถ้วยแก้ว 15 ชื่อวิทยาศาสตร์: Cymbopogon citratus (DC.) Stapf ตะไคร้ วงศ์: POACEAE ส่วนที่ใช้: เหง้าและล้าต้นแก่ สดหรือแห้ง วิธีใช้: ใช้ล้าต้นแก่สด ๆ ประมาณ ๑ ก้ามือ (๔๐–๖๐ กรัม) ทุบพอแหลกต้มเอาน้้าดื่ม หรือประกอบเป็นอาหาร 16 มะขามแขก แมงลัก ระบบทางเดินอาหาร คูน มะขาม ท้องผูก ชุมเห็ดเทศ ขีเหล็ก มะขาม ชื่อวิทยาศาสตร์: Tamarindus indica L. วงศ์: FABACEAE (LEGUMINOSAE) ส่วนที่ใช้: เนื้อฝักแก่ วิธีใช้: มะขามเปียกรสเปรี้ยว ๑๐-๒๐ ฝัก จิ้มเกลือรับประทาน แล้วดื่มน้้าตาม มาก ๆ หรือดื่มน้้าคั้นใส่เกลือเล็กน้อยดื่มเป็นน้้ามะขาม 18 ขีเหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์: Senna siamea (Lam.) H.S.Irwin & Barneby วงศ์: FABACEAE (LEGUMINOSAE) ส่วนที่ใช้: ใบอ่อนและดอก วิธีใช้: ใช้ใบขี้เหล็ก ๔-๕ ก้ามือ ต้มเอาน้้าดื่มก่อนอาหาร หรือเวลามีอาการท้องผูก 19 ชุมเห็ดเทศ ชื่อวิทยาศาสตร์: Cassia alata (L.) Roxb. วงศ์: FABACEAE (LEGUMINOSAE) ส่วนที่ใช้: ใบสดหรือแห้ง และดอกสด วิธีใช้: ๑. ใช้ดอกชุมเห็ดเทศสด ๑ ช่อ ต้มรับประทานกับน้้าพริก ๒. น้าใบย่อย ๑๒ ใบ หั่นตากแห้ง น้ามาต้มเอาน้้าดื่ม ๓. น้าใบชุมเห็ดเทศมาบดเป็นผง ใช้ผงยาครั้งละ ๓-๖ กรัม บรรจุในถุงกระดาษและเย็บเป็นลักษณะถุงชา น้ามาแช่ละลายน้้าเดือดนาน ๑๐ นาที ดื่มก่อนนอน ๔. น้าใบชุมเห็ดเทศมาบดเป็นผงและมาปั้นกับน้้าผึ้งเป็นลูกกลอนรับประทานครั้งละ ๓ เม็ด ก่อนนอน 20 ฝรั่ง กล้วยนาว้า ระบบทางเดินอาหาร มังคุด สีเสียดเหนือ ท้องเสีย ทับทิม ฟ้าทะลายโจร ชื่อวิทยาศาสตร์: Psidium guajava L. ฝรั่ง วงศ์: MYRTACEAE ส่วนที่ใช้: ใบแก่สด หรือผลอ่อน วิธีใช้: ใช้ใบแก่ ๑๐–๑๕ ใบ ปิ้งแล้วชงน้้าดื่ม หรือใช้ผลอ่อน ๑ ผล ฝนกับน้้าปูนใส รับประทานเมื่อมีอาการ ชื่อวิทยาศาสตร์: Garcinia mangostana L. มังคุด วงศ์: CLUSIACEAE ส่วนที่ใช้: เปลือกผลแห้ง วิธีใช้: ใช้เปลือกผลแห้งประมาณครึ่งผล (๔ กรัม) ย่างให้เกรียมฝนกับน้้าปูนใสประมาณครึ่งแก้ว หรือบดเป็นผงละลายน้้าข้าว (น้้าข้าวเช็ด) หรือน้้าต้มสุกดื่มทุก ๒ ชม. กล้วยนาว้า ชื่อวิทยาศาสตร์: Muasa x paradisiaca L. วงศ์: MUSACEAE ส่วนที่ใช้: ลูกดิบหรือลูกห่าม วิธีใช้: รับประทานผลดิบสดครั้งละครึ่งถึงหนึ่งผล หรืออาจใช้ผลดิบหั่นบาง ๆ ตากแห้ง บดเป็นผงชงน้้าดื่ม ใช้ผงยาเท่ากับครึ่งถึงหนึ่งผล ข้อควรระวัง: อาจมีอาการท้องอืดหลังรับประทานกล้วยดิบ แก้ได้โดยดื่มน้้าต้มขิงหรือสมุนไพรขับลมอื่นๆ 24 ทับทิม ชื่อวิทยาศาสตร์: Punica granatum L. วงศ์: LYTHRACEAE ส่วนที่ใช้: เปลือกผลแห้ง วิธีใช้: ใช้เปลือกผลแห้งประมาณหนึ่งในสี่ของผล ต้มกับน้้าปูนใสแล้วดื่มแต่ส่วนน้้าที่ต้มหรือใช้ครั้งละ ๓-๕ กรัม (๑ ก้ามือ) ต้มน้้าดื่ม รับประทานครั้งละ ๑–๒ ชต. วันละ ๒ ครั้ง เช้าและเย็น 25 ระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้อาเจียน ขิง ยอ 26 ขิง ชื่อวิทยาศาสตร์: Zingiber officinale Roscoe. วงศ์: ZINGIBERACEAE ส่วนที่ใช้: ใช้เหง้าขิงแก่ วิธีใช้: เหง้าแก่สดขนาดเท่าหัวแม่มือ (ประมาณ ๕ กรัม) ทุบให้แตก ต้มเอาน้้าดื่ม 27 ยอ ชื่อวิทยาศาสตร์: Morinda citrifolia L. วงศ์: RUBIACEAE ส่วนที่ใช้: ผลดิบหรือผลห่ามสด วิธีใช้: ผลดิบหรือผลห่ามสด ฝานเป็นชิ้นบางๆ ย่างหรือคั่วไฟอ่อน ๆ ให้เหลืองกรอบ ต้มหรือชงน้้าดื่ม ใช้ครั้งละประมาณ ๒ ก้ามือ (๑๐-๑๕ กรัม) จิบทีละน้อยและบ่อยๆ ครั้ง 28 มะเกลือ ระบบทางเดินอาหาร เล็บมือนาง พยาธิลาไส้ มะหาด ฟักทอง 29 ชื่อวิทยาศาสตร์: Diospyros mollis Griff. มะเกลือ วงศ์: EBENACEAE ส่วนที่ใช้: ผลดิบสด วิธีใช้: ใช้ผลสดสีเขียวไม่ช้าไม่ด้า จ้านวนเท่ากับอายุ แต่ไม่เกิน ๒๕ ผล น้ามาโขลกพอแหลก ผสมกับหัว กะทิสด (๒ ชช./มะเกลือ ๑ ผล) คั้นเอาแต่น้าดื่มก่อนรับประทานอาหารเช้า 30 มะหาด ชื่อวิทยาศาสตร์: Artocarpus lacucha Buch.-Ham. วงศ์: MORACEAE ส่วนที่ใช้: แก่นต้นมะหาด วิธีใช้: เอาผงปวกหาดมาบดให้ละเอียด รับประทานกับน้้าสุกเย็น ครั้งละ ๑-๒ ช้อนชา (ประมาณ ๓-๕ กรัม) ก่อนอาหารเช้า 31 ชื่อวิทยาศาสตร์: Quisqualis indica L. เล็บมือนาง วงศ์: COMBRETACEAE ส่วนที่ใช้: เมล็ด เก็บเมล็ดแก่ช่วงที่เป็นสีน้าตาล วิธีใช้: เด็ก ใช้ ๒–๓ เมล็ด (๔–๖ กรัม) ผู้ใหญ่ ใช้ ๕–๗ เมล็ด (๑๐–๑๕ กรัม) ทุบพอแตกต้มเอาน้้าดื่ม หรือหั่นทอดกับไข่รับประทาน 32 ฟักทอง ชื่อวิทยาศาสตร์: Cucurbita moschata Duchesne วงศ์: CUCURBITACEAE ส่วนที่ใช้: เมล็ดฟักทองแก่ วิธีใช้: ใช้เมล็ดฟักทองประมาณ ๖๐ กรัมทุบให้แตก ผสมกับน้้าตาลและนม หรือน้้า เติมจนได้ปริมาณ ๕๐๐ มล. แบ่งรับประทาน ๓ ครั้ง ห่างกันทุก ๒ ชม. 33 บอระเพ็ด ระบบทางเดินอาหาร ขีเหล็ก เบื่ออาหาร มะระขีนก สะเดาบ้าน 34 ชื่อวิทยาศาสตร์: Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook.f. & Thomson บอระเพ็ด วงศ์: MENISPERMACEAE ส่วนที่ใช้: เถาหรือล้าต้นสด วิธีใช้: ใช้เถาหรือต้นสด ประมาณ ๒ คืบครึ่ง (๓๐–๔๐ กรัม) คั้นเอาน้้าดื่ม หรือต้ม ๓ เอา ๑ ส่วน ดื่มก่อนอาหาร ๒ ครั้ง เช้า/เย็น หรืออาจใช้เป็นวิธีการดองหรือปั้นเป็นลูกกลอน 35 ชื่อวิทยาศาสตร์: Momordica charantia L. มะระขีนก วงศ์: CUCURBITACEAE ส่วนที่ใช้: ผลดิบ วิธีใช้: ต้มให้สุกรับประทานร่วมกับน้้าพริก ผลสุกห้ามรับประทาน เพราะจะท้าให้คลื่นไส้อาเจียน 36 ชื่อวิทยาศาสตร์: Senna siamea (Lam.) Irwin & Barneby ขีเหล็ก วงศ์: FABACEAE (LEGUMINOSAE) ส่วนที่ใช้: ใบอ่อนและดอก วิธีใช้: ใช้ดอกตูมและใบอ่อนปรุงเป็นอาหาร แต่ไม่ควรคั้นน้้าหลายครั้ง เพราะจะท้าให้รสขมหมดไป 37 สะเดาบ้าน ชื่อวิทยาศาสตร์: Azadirachta indica A. Juss. วงศ์: MELIACEAE ส่วนที่ใช้: ยอดและดอก วิธีใช้: เอายอดและดอกลวกหรือต้มรับประทาน 38 ขิง มะแว้งต้น ระบบทางเดิน มะขามป้อม หายใจ ดีปลี ไอ และระคายคอจาก มะแว้งเครือ เสมหะ มะนาว เพกา 39 ชื่อวิทยาศาสตร์: Piper retrofractum Vahl. ดีปลี วงศ์: PIPERRACEAE ส่วนที่ใช้: ผลแก่แห้ง วิธีใช้: ใช้ผลแก่แห้งของดีปลีประมาณครึ่งผลถึงหนึ่งผล ฝนกับน้้ามะนาวแทรกเกลือกวาดคอหรือ จิบบ่อยๆ 40 ชื่อวิทยาศาสตร์: Citrus aurantifolia (Christm.) Swing. มะนาว วงศ์: RUTACEAE ส่วนที่ใช้: เปลือกและน้้าของลูกมะนาว วิธีใช้: ผลสดคั้นน้้าจะได้น้ามะนาวเข้มข้น และใส่เกลือเล็กน้อย จิบบ่อยๆ หรือท้าเป็นน้้ามะนาวใส่เกลือและ น้้าตาลดื่มบ่อยๆ 41 มะแว้งเครือ ชื่อวิทยาศาสตร์: Solanum trilobatum L. วงศ์: SOLANACEAE ส่วนที่ใช้: ผลแก่สด วิธีใช้: น้าผลแก่สด ๕-๑๐ ผลโขลกพอแหลกคั้นเอาแต่น้า ใส่เกลือรับประทานบ่อยๆ หรือใช้ผลสดเคี่ยวแล้วกลืนทั้งน้้าและเนื้อจนกว่าอาการจะดีขึ้น 42 ชื่อวิทยาศาสตร์: Solanum indicum Linn. มะแว้งต้น วงศ์: SOLANACEAE ส่วนที่ใช้: ผลแก่สด วิธีใช้: น้าผลแก่สด ๕-๑๐ ผลโขลกพอแหลกคั้นเอาแต่น้า ใส่เกลือรับประทานบ่อยๆ หรือใช้ผลสดเคี่ยวแล้ว กลืนทั้งน้้าและเนื้อจนกว่าอาการจะดีขึ้น 43 ระบบผิวหนัง 44 กระเทียม ระบบผิวหนัง ทองพันชั่ง กลากเกลือน ข่า ชุมเห็ดเทศ พลู 45 ชื่อวิทยาศาสตร์: Allium sativum L. กระเทียม วงศ์: AMARYLLIDACEAE ส่วนที่ใช้: หัวใต้ดิน วิธีใช้: ฝานกลีบกระเทียมแล้วเอาน้้ามาถูบ่อย ๆ หรือต้าคั้นเอาน้้าทาบริเวณที่เป็น โดยใช้ไม้ขูดบริเวณที่เป็นพอ ให้แดง ๆ ก่อนแล้วจึงเอากระเทียมทา ทาวันละ ๓–๔ ครั้ง เมื่อหายแล้วทาต่ออีก ๗ วัน 46 ชื่อวิทยาศาสตร์: Languas galanga (L.) Willd. ข่า วงศ์: ZINGIBERACEAE ส่วนที่ใช้: เหง้าและราก วิธีใช้: เอาเหง้าแก่ล้างให้สะอาด ฝานเป็นแผ่นบาง ๆ หรือทุบให้แตก แช่เหล้าขาวทิ้งไว้ ๑ คืน ท้าความสะอาดที่เป็น ใช้ไม้ขูดบริเวณที่เป็นพอให้แดง ๆ แล้วใช้น้ายาทาบริเวณที่เป็น ทาวันละ ๓–๔ ครั้ง เมื่อหายแล้วทาต่ออีก ๗ วัน 47 ทองพันชั่ง ชื่อวิทยาศาสตร์: Rhinacanthus nasutus (Linn.) Kurz. วงศ์: ACANTHACEAE ส่วนที่ใช้: ใบสดหรือราก (สดหรือแห้ง) วิธีใช้: ใช้ใบสดหรือรากสดหรือแห้ง ต้าให้ละเอียด แช่เหล้าหรือแอลกอฮอล์พอท่วมยาและทิ้งไว้ ๗ วัน น้ามาทาบริเวณที่เป็นบ่อย ๆ หรือวันละ ๓–๔ ครั้ง เมื่อหายแล้วทาต่ออีก ๗ วัน 48 ชื่อวิทยาศาสตร์: Cassia alata (L.) Roxb. ชุมเห็ดเทศ วงศ์: FABACEAE (LEGUMINOSAE) ส่วนที่ใช้: ใบสด วิธีใช้: ใช้ใบสดขยี้หรือต้าในครกให้ละเอียด เติมน้้าน้อยหรือใช้ใบชุมเห็ดเทศกับหัวกระเทียมเท่า ๆ กัน ผสมปูน แดงเล็กน้อยต้าผสมกัน ใช้ไม้ขูดบริเวณที่เป็นพอให้แดง ทาวันละ ๓ – ๔ ครั้ง เมื่อหายแล้วทาต่ออีก ๗ วัน 49 ชันนะตุ ระบบผิวหนัง มะคาดีควาย 50 มะคาดีควาย ชื่อวิทยาศาสตร์: Sapindus rarak DC. วงศ์: SAPINDACEAE ส่วนที่ใช้: ผลแก่ วิธีใช้: เอาผลแก่ประมาณ ๕ ผล ทุบพอแตก ต้มกับน้้าประมาณ ๑ ถ้วย ทาที่หนังศีรษะ ทาวันละ ๒ ครั้ง เช้า-เย็น 51 มะพร้าว ระบบผิวหนัง แผลไฟไหม้นาร้อนลวก ว่านหางจระเข้ บัวบก 52 ชื่อวิทยาศาสตร์: Aloe vera (L.) Burm.f. ว่านหางจระเข้ วงศ์: ALOACEAE ส่วนที่ใช้: วุ้นจากใบ วิธีใช้: ขูดเอาวุ้นใสมาพอกบริเวณแผลให้ชุ่มตลอดเวลาในชม. แรก จากนั้นทาวันละ ๓–๔ ครั้ง จนกว่าแผลจะหาย 53 บัวบก ชื่อวิทยาศาสตร์: Centella asiatica (L.) Urb. วงศ์: APIACEAE (UMBELLIFERAE) ส่วนที่ใช้: ต้นสดและใบสด วิธีใช้: เอาบัวบกทั้งต้นสด ๑ ก้ามือ ล้างให้สะเอาด ต้าให้ละเอียด คั้นน้้า แล้วเอาน้้าชโลมบริเวณที่เป็นแผลให้ชุ่ม อยู่เสมอในชั่วโมงแรก (ใช้กากพอกด้วยก็ได้) ต่อจากนั้นทาวันละ ๓–๔ ครั้ง จนกว่าแผลจะหาย 54 ระบบผิวหนัง ขมินชัน ชุมเห็ดเทศ ฝี แผลพุพอง ว่านหางจระเข้ เทียนบ้าน ว่านมหากาฬ ฟ้าทะลายโจร 55 ชื่อวิทยาศาสตร์: Aloe vera (L.) Burm.f. ว่านหางจระเข้ วงศ์: ALOACEAE ส่วนที่ใช้: วุ้นจากใบ วิธีใช้: ขูดเอาวุ้นใสมาพอกบริเวณแผลวันละ ๓–๔ ครั้ง จนกว่าแผลจะหาย 56 ชื่อวิทยาศาสตร์: Andropraphis paniculata (Burm.f.) Wall. Ex Nees ฟ้าทะลายโจร วงศ์: ACANTHACEAE ส่วนที่ใช้: ใบสด วิธีใช้: ใช้ใบสดต้าให้ละเอียด พอกฝี หรือคั้นน้้าทาบริเวณที่เป็น 57 ระบบผิวหนัง พญายอ อาการแพ้ แมลงกัดต่อย ขมินชัน ผักบุ้งทะเล ตาลึง 58 ชื่อวิทยาศาสตร์: Coccinia grandis (L.) Voigt วงศ์: CUCURBITACEAE ส่วนที่ใช้: ใบสด วิธีใช้: เอาใบสด ๑ ก้ามือ (ใช้มากน้อยตามบริเวณที่มีอาการ) ล้าง ให้สะอาด ต้าให้ละเอียดผสมน้้าเล็กน้อย แล้วคั้นน้้าจากใบเอามาทา บริเวณที่มีอาการ พอน้้าแห้งแล้วทาซ้้าบ่อย ๆ จนกว่าจะหาย ตาลึง 59 ชื่อวิทยาศาสตร์: Clinacanthus nutans (Burm.f.) Lindau พญายอ วงศ์: ACANTHACEAE ส่วนที่ใช้: ใบสด วิธีใช้: เอาใบสด ๑ ก้ามือ มากน้อยตามบริเวณที่เป็น ล้างให้สะอาด ต้าให้ละเอียด คั้นเอาน้้าทาบริเวณที่มีอาการ 60 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa L. ขมินชัน วงศ์ : ZINGIBERACEAE ส่วนที่ใช้: เหง้าสดและแห้ง วิธีใช้: ใช้เหง้าฝนกับน้้าต้มสุก ทาบริเวณที่เป็น หรือใช้ผงขมิ้นโรยบริเวณที่มีอาการ ใช้วันละ ๓ ครั้ง 61 ระบบผิวหนัง พลู ลมพิษ 62 ชื่อวิทยาศาสตร์: Piper betle L. พลู วงศ์: PIPERACEAE ส่วนที่ใช้: ใบสด วิธีใช้: เอาใบสด ๑–๒ ใบ ต้าให้ละเอียดผสมเหล้าขาวทาบริเวณที่เป็น ห้ามใช้กับแผลที่เปิด จะท้าให้แสบมาก 63 ระบบผิวหนัง เริม งูสวัด พญายอ 64 พญายอ ชื่อวิทยาศาสตร์: Clinacanthus nutans (Burm.f.) Lindau วงศ์: ACANTHACEAE ส่วนที่ใช้: ใบสด วิธีใช้: ใช้ใบสด ๑๐–๑๕ ใบ ต้าให้ละเอียด ผสมเหล้าขาว ทิ้งไว้ ๗ วัน กรองเอาน้้ามาทา 65 ระบบทางเดินปัสสาวะ กระเจี๊ยบแดง ขลู่ ขัดเบา สับปะรด อ้อยแดง ตะไคร้ หญ้าคา 66 ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus sabdariffa L. กระเจี๊ยบแดง วงศ์: MALVACEAE ส่วนที่ใช้: กลีบเลี้ยงและกลีบรองดอก วิธีใช้: เอากลีบเลี้ยงหรือกลีบรองดอก ตากแห้งและบดเป็นผง ใช้ครั้งละ ๑ ชช. (หนัก ๓ กรัม) ชงน้้าเดือด ๑ ถ้วย (๒๕๐ มล.) ทิ้งไว้ ๕–๑๐ นาที รินเฉพาะน้้าสีแดงใส ดื่มวันละ ๓ ครั้ง จนกว่าอาการขัดเบาจะหาย 67 สับปะรด ชื่อวิทยาศาสตร์: Ananas comosus (L.) Merr. วงศ์: BROMELIACEAE ส่วนที่ใช้: เหง้าทั้งสดและแห้ง วิธีใช้: ใช้เหง้าวันละ ๑ กอบมือ (หนัก ๒๐๐–๒๕๐ กรัม) ต้มกับน้้าดื่มวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร ๑ ถ้วย (๗๕ มล.) 68 ชื่อวิทยาศาสตร์: Cymbopogon citratus (DC.) Stapf ตะไคร้ วงศ์: POACEAE ส่วนที่ใช้: เหง้าและล้าต้นแก่ วิธีใช้: ใช้ต้นแก่สดหั่นเป็นแว่นบาง ๆ วันละ ๑ ก้ามือ (สดหนัก ๔๐–๖๐ กรัม, แห้งหนัก ๒๐–๓๐ กรัม) ต้มกับน้้า ดื่มวันล ๓ ครั้ง ๆ ๑ ถ้วยชา (๗๕ มล.) ก่อนอาหาร หรือใช้เหง้าแก่ที่อยู่ใต้ดิน ฝานเป็นแว่นบางๆ คั่วไฟอ่อน ๆ พอเหลืองชงเป็นชา 69 ชื่อวิทยาศาสตร์: Imperata cylindrica Beauv. หญ้าคา วงศ์: GRAMINEAE ส่วนที่ใช้: รากสดหรือแห้ง วิธีใช้: ใช้รากวันละ ๑ ก้ามือ (สดหนัก ๔๐–๕๐ กรัม, แห้งหนัก ๑๐–๑๕ กรัม) หั่นเป็นชิ้น ๆ ต้มกับน้้า รับประทานวันละ ๓ ครั้ง ๆ ๑ ถ้วยชา (๗๕ มล.) ก่อนอาหาร 70 ชื่อวิทยาศาสตร์: Pluchea indica (L.) Less. ขลู่ วงศ์: COMPOSITAE ส่วนที่ใช้: ต้นส่วนที่อยู่เหนือดิน วิธีใช้: ใช้วันละ ๑ ก้ามือ (สดหนัก ๔๐–๕๐ กรัม, แห้งหนัก ๑๕–๒๐ กรัม) หั่นเป็นชิ้น ๆ ต้มกับน้้า รับประทานวันละ ๓ ครั้ง ๆ ๑ ถ้วยชา (๗๕ มล.) ก่อนอาหาร 71 ชื่อวิทยาศาสตร์: Saccharum officinarum L. อ้อยแดง วงศ์: GRAMINAE ส่วนที่ใช้: ล้าต้นทั้งสดและแห้ง วิธีใช้: ใช้ล้าต้นวันละ ๑ ก้ามือ (สดหนัก ๗๐–๙๐ กรัม, แห้งหนัก ๓๐–๔๐ กรัม) หั่นเป็นชิ้น ๆ ต้มกับน้้า รับประทานวันละ ๒-๓ ครั้ง ๆ ๑ ถ้วยชา (๗๕ มล.) ก่อนอาหาร 72 ปวดฟัน เหา เคล็ดขัดยอก อื่น ๆ นอนไม่หลับ ไข้ 73 ไพล เคล็ดขัดยอก ชื่อวิทยาศาสตร์: Zingiber montanum (J.Koenig) Link ex A.Dietr. วงศ์: ZINGIBERACEAE ส่วนที่ใช้: เหง้าแก่จัด วิธีใช้: ใช้เหง้าสดประมาณ ๑ เหง้า ต้าแล้วคั้นเอาน้้าทาถูนวดบริเวณที่มีอาการ หรือต้าให้ละเอียดผสมเกลือ เล็กน้อย แล้วน้ามาห่อเป็นลูกประคบอังไอน้้าให้ความร้อน ประคบบริเวณปวดเมื่อยฟกช้้า เช้า-เย็น จนกว่าจะหาย74 ไพล 75 ขีเหล็ก นอนไม่หลับ ชื่อวิทยาศาสตร์: Cassia siamea Britt. วงศ์: FABACEAE (LEGUMINOSAE) ส่วนที่ใช้: ใบอ่อนและดอก วิธีใช้: ใช้ใบแห้ง ๓๐ กรัม หรือใบสด ๕๐ กรัม ต้มน้้ารับประทานก่อนนอนหรือใช้ใบอ่อนท้าเป็นยาดองเหล้า แช่ไว้ ๗ วัน ดื่มครั้งละ ๑–๒ ชช. ก่อนนอน 76 ชื่อวิทยาศาสตร์: Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook.f. & Thomson บอระเพ็ด วงศ์: MENISPERMACEAE ไข้ ส่วนที่ใช้: เถาหรือต้นสด วิธีใช้:ใช้เถาหรือต้นสด ประมาณ ๒ คืบครึ่ง (๓๐–๔๐ กรัม) คั้นเอาน้้าดื่ม หรือต้ม ๓ เอา ๑ ส่วน ดื่มก่อนอาหาร ๒ ครั้ง เช้า/เย็น หรืออาจใช้เป็นวิธีการดองหรือปั้นเป็นลูกกลอน 77 ชื่อวิทยาศาสตร์: Andropraphis paniculata (Burm.f.) Wall. Ex Nees ฟ้าทะลายโจร วงศ์: ACANTHACEAE ไข้ ส่วนที่ใช้: ใบและล้าต้น วิธีใช้: น้าใบสดล้างให้สะอาด ผึ่งลมให้แห้ง บดให้ละเอียด ปั้นกับน้้าผึ้ง รับประทานครั้งละ ๑.๕ กรัม หรือน้าใบ แห้งมาแช่เหล้า ๗ วัน รับประทานครั้งละ ๑ – ๒ ชต. วันละ ๔ ครั้งก่อนอาหารและก่อนนอน 78 น้อยหน่า เหา ชื่อวิทยาศาสตร์: Annona squamosa L. วงศ์: ANNONACEAE ส่วนที่ใช้: ใบสดและเมล็ด (จากผลสุก) วิธีใช้: เอาเมล็ดประมาณ ๑๐ เมล็ด หรือใบสดประมาณ ๑ ก้ามือ (๑๕ กรัม) ต้าให้ละเอียด ผสมกับน้้ามะพร้าว ๑ – ๒ ช้อนโต๊ะ ขยี้ให้ทั่วศีรษะใช้ผ้าโพกไว้ประมาณ ๓๐ นาที และสระผมให้สะอาด 79 ชื่อวิทยาศาสตร์: Spilanthes paniculata Wall.ex Dc. ผักคราดหัวแหวน วงศ์: ASTERACEAE (COMPOSITAE) ปวดฟัน ส่วนที่ใช้: ดอกสด วิธีใช้: ใช้ดอกสดพอเหมาะต้ากับเกลืออมหรือกัดไว้บริเวณที่ปวด 80 ข่อย ชื่อวิทยาศาสตร์: Streblus asper Lour. วงศ์: MORACEAE ปวดฟัน ส่วนที่ใช้: เปลือกต้นสด วิธีใช้: ใช้เปลือกต้นสดขนาดประมาณ ๑ ฝ่ามือ สับเป็นชิ้น ต้มกับน้้าพอควร และใส่เกลือให้มีรสเค็ม ต้มนาน ๑๐–๑๕ นาที เอาน้้าขณะที่ยังอุ่นอมบ่อย ๆ 81 ชื่อวิทยาศาสตร์: Murraya paniculata (L.) Jack แก้ว วงศ์: RUTACEAE ปวดฟัน ส่วนที่ใช้: ใบสด วิธีใช้: เอาใบสดต้าพอแหลก แช่เหล้าโรงในอัตราส่วน ใบแก้ว ๑.๕ กรัม : เหล้าโรง ๑ ชช. (๕ มล.) แล้วเอาน้้ายา ที่ได้มาทาบริเวณที่ปวด 82 83 84 ตัวอย่าง Infographic กิจกรรมกลุ่ม  จับกลุ่มละไม่เกิน ๔ คน  ท้า Infographic เกี่ยวกับสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูล ฐาน จากตัวอย่างที่มีให้นิสิตดู โดยไม่ซ้ากัน กลุ่มละ ๑ ตัว  ส่วนประกอบใน Infographic ได้แก่ ชื่อสมุนไพร ส่วนที่ ใช้ สรรพคุณ วิธีการใช้ ข้อห้าม/ข้อควรระวัง (ถ้ามี)  ส่งโดยการ upload ไฟล์ ผ่าน class room ภายในวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ 85 เอกสารอ้างอิง กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. ต้าราเภสัชกรรมไทย เล่ม ๑. กรุงเทพฯ: พิมพ์ด;ี ๒๕๖๑. กองวิชาการและแผนงาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน. https://www.dtam.moph.go.th/index.php/th/ วุฒิ วุฒิธรรมเวช. คัมภีร์เภสัชรัตนโกสินทร์. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: ศิลป์สยามบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์; ๒๕๕๐. ชยันต์ พิเชียรสุนทร และวิเชียร จีรวงส์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทย เล่ม ๒ เครื่องยาพฤกษวัตถุ. กรุงเทพฯ : ส้านักพิมพ์อมรินทร์, ๒๕๔๕. ปิยาภรณ์ แสนศิลา (บรรณาธิการ). การแพทย์แผนไทยประยุกต์เบื้องต้น. ขอนแก่น: โรงพิมพ์แอนนาออฟเชต; ๒๕๕๙. มูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดิมฯ โรงเรียนอายุรเวท (ชีวกโกมารภัจจ์). ต้าราเภสัชกรรมไทย. กรุงเทพฯ : พิฆเณศ พริ้นท์ ติง้ เซนเตอร์, ๒๕๔๘. 86

Use Quizgecko on...
Browser
Browser