คู่มือครูคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 สสวท. - PDF

Summary

คู่มือครูคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 1 นี้จัดทำโดย สสวท. เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ตัวชี้วัด, จุดประสงค์การเรียนรู้, แนวทางการจัดการเรียนรู้, และตัวอย่างข้อสอบ พร้อมเฉลยแบบฝึกหัด

Full Transcript

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน คณิ ต ศาสตร์ ๕ เล่ม ๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา...

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน คณิ ต ศาสตร์ ๕ เล่ม ๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๕ เล่ม ๑ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จัดทำ โดย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คำ นำ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) มีหน้าที่ในการพัฒนาหลักสูตร วิธีการ เรี ย นรู้ การประเมิ น ผล การจั ด ทำ หนั ง สื อ เรี ย น คู่ มื อ ครู แบบฝึ ก หั ด กิ จ กรรม และสื่ อ การเรี ย นรู้ เพื่ อ ใช้ ประกอบการเรียนรูใ้ นกลุม ่ สาระการเรียนรูว้ ท ิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของการศึกษาขัน ้ พืน ้ ฐาน คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕ เล่ม ๑ นี้ จัดทำ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๑ โดยมี เ นื้ อ หาสาระเกี่ ย วกั บ การวิ เ คราะห์ ตั ว ชี้ วั ด สาระการเรี ย นรู้ ร ายชั้ น ปี จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู้ สาระสำ คั ญ แนวการจั ด การเรี ย นรู้ แนวการจั ด กิ จ กรรมในหนั ง สื อ เรี ย น ตั ว อย่ า ง แบบทดสอบประจำ บทพร้ อ มเฉลย รวมทั้ ง เฉลยแบบฝึ ก หั ด ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ หนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐาน คณิตศาสตร์ ชัน ้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เล่ม ๑ ทีต ่ อ ้ งใช้ควบคูก ่ น ั สสวท. หวังเป็นอย่างยิง่ ว่า คูม ่ อื ครูเล่มนีจ้ ะเป็นประโยชน์ตอ่ การจัดการเรียนรู้ และเป็นส่วนสำ คัญในการพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษากลุม ่ สาระการเรียนรูค ้ ณิตศาสตร์ ขอขอบคุณผูท ้ รงคุณวุฒิ บุคลากรทางการศึกษาและ หน่วยงานต่าง ๆ ทีม ่ สี ว่ นเกีย่ วข้องในการจัดทำ ไว้ ณ โอกาสนี้ (ศาสตราจารย์ชูกิจ ลิมปิจำ นงค์) ผู้อำ นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ คำ ชี้แจง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดทำ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ค ณิ ต ศาสตร์ (ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจดุ เน้นเพือ่ ต้องการพัฒนาผูเ้ รียนให้มค ี วามรูค ้ วามสามารถทีท ่ ดั เทียมกับนานาชาติ ได้เรียนรู้ คณิ ต ศาสตร์ ท่ี เ ชื่ อ มโยงความรู้ กั บ กระบวนการ ใช้ ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู้ แ ละแก้ ปั ญ หาที่ ห ลากหลาย มีการทำ กิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และทักษะแห่ง ศตวรรษที่ ๒๑ สสวท. จึงได้จดั ทำ คูม ่ อื ครูประกอบการใช้หนังสือเรียนรายวิชาพืน ้ ฐานคณิตศาสตร์ ชัน ้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เล่ม ๑ ทีเ่ ป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตรเพือ่ เป็นแนวทางให้โรงเรียนนำ ไปจัดการเรียนการสอนในชัน ้ เรียน คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕ เล่ม ๑ นี้ ประกอบด้วยเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ การวิเคราะห์ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรูร้ ายชัน ้ ปี จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำ คัญ แนวการจัดการเรียนรู้ แนวการจัดกิจกรรม ในหนังสือเรียน ตัวอย่างแบบทดสอบประจำ บทพร้อมเฉลย รวมทั้งเฉลยแบบฝึกหัด ซึ่งครูผ้สู อนสามารถนำ ไปใช้เป็น แนวทางในการวางแผนการจั ด การเรี ย นรู้ใ ห้ บ รรลุ จุด ประสงค์ ท่ีต้ัง ไว้ โดยสามารถนำ ไปจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ไ ด้ ตามความเหมาะสมและความพร้ อ มของโรงเรี ย น ในการจั ด ทำ คู่ มื อ ครู เ ล่ ม นี้ ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ เป็ น อย่ า งดี ย่ิ ง จากผูท ้ รงคุณวุฒิ คณาจารย์ นักวิชาการอิสระ รวมทัง้ ครูผสู้ อน นักวิชาการ จากสถาบันและสถานศึกษาทัง้ ภาครัฐและเอกชน จึงขอขอบคุณมา ณ ทีน ่ ้ี สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผู้สอน และผู้ท่ี เกีย่ วข้องทุกฝ่าย ทีจ่ ะช่วยให้จดั การศึกษาด้านคณิตศาสตร์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ หากมีขอ้ เสนอแนะใดทีจ่ ะทำ ให้ คูม ่ อื ครูเล่มนีม ้ คี วามสมบูรณ์ยง่ิ ขึน ้ โปรดแจ้ง สสวท. ทราบด้วย จะขอบคุณยิง่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ สารบัญ หน้า สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ (1) ตัวชี้วัดวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 (2) สาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 (8) ผังมโนทัศน์เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (15) ตัวอย่างคำ อธิบายรายวิชา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (16) ตัวอย่างโครงสร้างเวลาเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (18) ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง (19) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 แนวการจัดการเรียนรู้ บทที่ 1 เศษส่วน 1 ตัวอย่างข้อสอบ 57 บทที่ 2 ทศนิยม 71 ตัวอย่างข้อสอบ 114 บทที่ 3 การนำ เสนอข้อมูล 119 ตัวอย่างข้อสอบ 145 เฉลยแบบฝึกหัด เล่ม 1 154 บทที่ 1 เศษส่วน 155 บทที่ 2 ทศนิยม 187 บทที่ 3 การนำ เสนอข้อมูล 201 ความรู้เพิ่มเติมสำ หรับครู 211 คณะผู้จัดทำ 232 คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 จำ นวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ นวน ระบบจำ นวน การดำ เนินการของจำ นวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ เนินการ สมบัติของการดำ เนินการ และนำ ไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ ดับและอนุกรม และนำ ไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำ หนดให้ สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนำ ไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ ไปใช้ สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำ ไปใช้ © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (1) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตัวชี้วัดวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 สาระที่ 1 จำ นวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ป.4 ป.5 ป.6 ค 1.1 เข้าใจความ 1. อ่านและเขียนตัวเลข 1. เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วน 1. เปรียบเทียบ เรียงลำ ดับ หลากหลายของการแสดง ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย เป็นตัวประกอบของ เศษส่วนและจำ นวนคละ จำ นวน ระบบจำ นวน และตัวหนังสือแสดง 10 หรือ 100 หรือ จากสถานการณ์ต่าง ๆ การดำ เนินการของ จำ นวนนับที่มากกว่า 1,000 ในรูปทศนิยม 2. เขียนอัตราส่วนแสดง จำ นวน ผลที่เกิดขึ้นจาก 100,000 2. แสดงวิธีหาคำ ตอบ การเปรียบเทียบปริมาณ การดำ เนินการ สมบัติ 2. เปรียบเทียบและ ของโจทย์ปัญหา 2 ปริมาณ จากข้อความ ของการดำ เนินการ เรียงลำ ดับจำ นวนนับ โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หรือสถานการณ์ โดยที่ และนำ ไปใช้ ที่มากกว่า 100,000 ปริมาณแต่ละปริมาณ 3. หาผลบวก ผลลบของ จากสถานการณ์ต่าง ๆ เป็นจำ นวนนับ เศษส่วนและจำ นวนคละ 3. บอก อ่านและเขียน 3. หาอัตราส่วนที่เท่ากับ 4. หาผลคูณ ผลหารของ เศษส่วน จำ นวนคละ อัตราส่วนที่กำ หนดให้ เศษส่วนและจำ นวนคละ แสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ 4. หา ห.ร.ม. ของ และแสดงสิ่งต่าง ๆ 5. แสดงวิธีหาคำ ตอบของ จำ นวนนับไม่เกิน ตามเศษส่วน จำ นวนคละ โจทย์ปัญหาการบวก 3 จำ นวน ที่กำ หนด การลบ การคูณ การหาร เศษส่วน 2 ขั้นตอน 5. หา ค.ร.น. ของ 4. เปรียบเทียบ เรียงลำ ดับ จำ นวนนับไม่เกิน เศษส่วนและจำ นวนคละ 6. หาผลคูณของทศนิยม 3 จำ นวน ที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็น ที่ผลคูณเป็นทศนิยม พหุคูณของอีกตัวหนึ่ง ไม่เกิน 3 ตำ แหน่ง 6. แสดงวิธีหาคำ ตอบของ โจทย์ปัญหาโดยใช้ 5. อ่านและเขียนทศนิยม 7. หาผลหารที่ตัวตั้งเป็น ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. ไม่เกิน 3 ตำ แหน่ง จำ นวนนับหรือทศนิยม และ ค.ร.น. แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ไม่เกิน 3 ตำ แหน่ง และ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตัวหารเป็นจำ นวนนับ 7. หาผลลัพธ์ของการบวก ตามทศนิยมที่กำ หนด ผลหารเป็นทศนิยม ลบ คูณ หารระคน ไม่เกิน 3 ตำ แหน่ง ของเศษส่วนและ 6. เปรียบเทียบและ จำ นวนคละ เรียงลำ ดับทศนิยม 8. แสดงวิธีหาคำ ตอบของ ไม่เกิน 3 ตำ แหน่ง โจทย์ปัญหาการบวก 8. แสดงวิธีหาคำ ตอบของ จากสถานการณ์ต่าง ๆ การลบ การคูณ การหาร โจทย์ปัญหาเศษส่วน ทศนิยม 2 ขั้นตอน และจำ นวนคละ 2-3 ขั้นตอน © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (2) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระที่ 1 จำ นวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ป.4 ป.5 ป.6 7. ประมาณผลลัพธ์ของ 9. แสดงวิธีหาคำ ตอบ 9. หาผลหารของทศนิยม การบวก การลบ ของโจทย์ปญ ั หาร้อยละ ที่ตัวหารและผลหาร การคูณ การหาร ไม่เกิน 2 ขั้นตอน เป็นทศนิยมไม่เกิน จากสถานการณ์ต่าง ๆ 3 ตำ แหน่ง อย่างสมเหตุสมผล 10. แสดงวิธีหาคำ ตอบ 8. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า ของโจทย์ปัญหา ในประโยคสัญลักษณ์ การบวก การลบ แสดงการบวกและ การคูณ การหาร ประโยคสัญลักษณ์ ทศนิยม 3 ขั้นตอน แสดงการลบของ 11. แสดงวิธีหาคำ ตอบของ จำ นวนนับที่มากกว่า โจทย์ปัญหาอัตราส่วน 100,000 และ 0 12. แสดงวิธีหาคำ ตอบของ 9. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า โจทย์ปัญหาร้อยละ ในประโยคสัญลักษณ์ 2-3 ขั้นตอน แสดงการคูณของจำ นวน หลายหลัก 2 จำ นวน ที่มีผลคูณไม่เกิน 6 หลัก และประโยคสัญลักษณ์ แสดงการหารที่ตัวตั้ง ไม่เกิน 6 หลัก ตัวหารไม่เกิน 2 หลัก 10. หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของ จำ นวนนับ และ 0 11. แสดงวิธีหาคำ ตอบของ โจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน ของจำ นวนนับที่มากกว่า 100,000 และ 0 © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (3) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระที่ 1 จำ นวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ป.4 ป.5 ป.6 12. สร้างโจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอนของ จำ นวนนับ และ 0 พร้อมทั้งหาคำ ตอบ 13. หาผลบวก ผลลบ ของเศษส่วนและ จำ นวนคละที่ตัวส่วน ตัวหนึ่งเป็นพหุคูณ ของอีกตัวหนึ่ง 14. แสดงวิธีหาคำ ตอบ ของโจทย์ปัญหาการบวก และโจทย์ปัญหา การลบเศษส่วนและ จำ นวนคละที่ตัวส่วน ตัวหนึ่งเป็นพหุคูณ ของอีกตัวหนึ่ง 15. หาผลบวก ผลลบ ของทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ แหน่ง 16. แสดงวิธีหาคำ ตอบ ของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ 2 ขั้นตอน ของทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ แหน่ง © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (4) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระที่ 1 จำ นวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ป.4 ป.5 ป.6 ค 1.2 เข้าใจและ - - 1. แสดงวิธีคิดและหาคำ ตอบ วิเคราะห์แบบรูป ของปัญหาเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน แบบรูป ลำ ดับและอนุกรม และนำ ไปใช้ ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ - - - และอสมการอธิบาย ความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ ปัญหาที่กำ หนดให้ สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ป.4 ป.5 ป.6 ค 2.1 เข้าใจพื้นฐาน 1. แสดงวิธีหาคำ ตอบของ 1. แสดงวิธีหาคำ ตอบ 1. แสดงวิธีหาคำ ตอบของ เกี่ยวกับการวัด วัดและ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา ของโจทย์ปัญหา โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ คาดคะเนขนาดของสิ่งที่ เกี่ยวกับความยาว ปริมาตรของรูป 2. วัดและสร้างมุม โดยใช้ ต้องการวัด และนำ ไปใช้ ที่มีการเปลี่ยนหน่วย เรขาคณิตสามมิติที่ โพรแทรกเตอร์ และเขียนในรูปทศนิยม ประกอบด้วย 3. แสดงวิธีหาคำ ตอบของ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก 2. แสดงวิธีหาคำ ตอบของ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ 2. แสดงวิธีหาคำ ตอบของ ความยาวรอบรูปและ น้ำ หนักที่มีการเปลี่ยน โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม หน่วยและเขียนในรูป ความยาวรอบรูปและ มุมฉาก ทศนิยม พื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม 3. แสดงวิธีหาคำ ตอบของ 3. แสดงวิธีหาคำ ตอบของ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ปริมาตรของทรงสีเ่ หลีย่ ม ความยาวรอบรูปและ มุมฉากและความจุของ พื้นที่ของวงกลม ภาชนะทรงสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (5) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระที่ 1 จำ นวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ป.4 ป.5 ป.6 4. แสดงวิธีหาคำ ตอบ ของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ความยาวรอบรูป ของรูปสี่เหลี่ยมและ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ด้านขนานและรูปสีเ่ หลีย่ ม ขนมเปียกปูน ค 2.2 เข้าใจและ 1. จำ แนกชนิดของมุม 1. สร้างเส้นตรงหรือ 1. จำ แนกรูปสามเหลี่ยม วิเคราะห์รูปเรขาคณิต บอกชื่อมุม ส่วนประกอบ ส่วนของเส้นตรง โดยพิจารณาจาก สมบัติของรูปเรขาคณิต ของมุมและเขียน ให้ขนานกับเส้นตรง สมบัติของรูป ความสัมพันธ์ระหว่าง สัญลักษณ์แสดงมุม หรือส่วนของเส้นตรง 2. สร้างรูปสามเหลี่ยม รูปเรขาคณิต และ ที่กำ หนดให้ 2. สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เมื่อกำ หนดความยาว ทฤษฎีบททางเรขาคณิต เมื่อกำ หนดความยาว 2. จำ แนกรูปสี่เหลี่ยม ของด้านและขนาด และนำ ไปใช้ ของด้าน โดยพิจารณาจาก ของมุม สมบัติของรูป 3. บอกลักษณะของรูป 3. สร้างรูปสี่เหลี่ยม เรขาคณิตสามมิติ ชนิดต่าง ๆ เมื่อกำ หนด ชนิดต่าง ๆ ความยาวของด้าน 4. ระบุรปู เรขาคณิตสามมิติ และขนาดของมุมหรือ ที่ประกอบจากรูปคลี่ เมื่อกำ หนดความยาว และระบุรูปคลี่ ของเส้นทแยงมุม ของรูปเรขาคณิตสามมิติ 4. บอกลักษณะของปริซึม © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (6) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ป.4 ป.5 ป.6 ค 3.1 เข้าใจกระบวนการ 1. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง 1. ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้น 1. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิ ทางสถิติ และใช้ความรู้ ตารางสองทางในการหา ในการหาคำ ตอบ รูปวงกลมในการหาคำ ตอบ ทางสถิติในการแก้ปัญหา คำ ตอบของโจทย์ปัญหา ของโจทย์ปญ ั หา ของโจทย์ปัญหา 2. เขียนแผนภูมิแท่ง จากข้อมูลที่เป็น จำ นวนนับ ค 3.2 เข้าใจหลักการนับ - - - เบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำ ไปใช้ © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (7) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรียนรู้แกนกลาง วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 สาระที่ 1 จำ นวนและพีชคณิต สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐานการเรียนรู้ ป.4 ป.5 ป.6 ค 1.1 เข้าใจความ จำ นวนนับที่มากกว่า จำ นวนนับและ 0 จำ นวนนับ และ 0 หลากหลายของการแสดง 100,000 และ 0 การบวก การลบ การคูณ ตัวประกอบ จำ นวน ระบบจำ นวน และการหาร การอ่าน การเขียน จำ นวนเฉพาะ การดำ เนินการของ ตัวเลขฮินดูอารบิก การแก้โจทย์ปัญหา ตัวประกอบเฉพาะ และ จำ นวน ผลที่เกิดขึ้นจาก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือ โดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ การแยกตัวประกอบ การดำ เนินการ สมบัติ แสดงจำ นวน ของการดำ เนินการ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. เศษส่วน และการบวก และนำ ไปใช้ หลัก ค่าประจำ หลักและ การลบ การคูณ การหาร การแก้โจทย์ปัญหา ค่าของเลขโดดในแต่ละ เศษส่วน เกี่ยวกับ ห.ร.ม. หลัก และการเขียนตัวเลข และ ค.ร.น. แสดงจำ นวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบเศษส่วน และจำ นวนคละ เศษส่วน การเปรียบเทียบและ เรียงลำ ดับจำ นวน การบวก การลบเศษส่วน การเปรียบเทียบและ และจำ นวนคละ เรียงลำ ดับเศษส่วน ค่าประมาณของจำ นวนนับ และจำ นวนคละโดยใช้ และการใช้เครื่องหมาย ≈ การคูณ การหารของ ความรู้เรื่อง ค.ร.น. เศษส่วนและจำ นวนคละ การบวก การลบ การคูณ การบวก การลบ การคูณ การหารจำ นวนนับที่ การบวก ลบ คูณ หารระคน การหารเศษส่วน มากกว่า 100,000 และ 0 ของเศษส่วนและ จำ นวนคละ การบวก การลบเศษส่วน การประมาณผลลัพธ์ และจำ นวนคละโดยใช้ ของการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหา ความรู้เรื่อง ค.ร.น. การคูณ การหาร เศษส่วนและจำ นวนคละ การบวก ลบ คูณ หารระคน การบวกและการลบ ของเศษส่วน การคูณและการหาร และจำ นวนคละ การบวก ลบ คูณ หารระคน การแก้โจทย์ปัญหา เศษส่วนและจำ นวนคละ การแก้โจทย์ปัญหาและ การสร้างโจทย์ปัญหา พร้อมทั้งหาคำ ตอบ © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (8) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระที่ 1 จำ นวนและพีชคณิต สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐานการเรียนรู้ ป.4 ป.5 ป.6 เศษส่วน ทศนิยม ทศนิยม และการบวก การลบ การคูณ การหาร เศษส่วนแท้ เศษเกิน ความสัมพันธ์ระหว่าง เศษส่วนและทศนิยม ความสัมพันธ์ระหว่าง จำ นวนคละ เศษส่วนและทศนิยม ค่าประมาณของทศนิยม ความสัมพันธ์ระหว่าง ไม่เกิน 3 ตำ แหน่ง การหารทศนิยม จำ นวนคละและเศษเกิน ที่เป็นจำ นวนเต็ม เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วน ทศนิยม 1 ตำ แหน่ง การแก้โจทย์ปัญหา อย่างต่ำ และเศษส่วน และ 2 ตำ แหน่ง เกี่ยวกับทศนิยม ที่เท่ากับจำ นวนนับ การใช้เครื่องหมาย ≈ (รวมการแลกเงิน ต่างประเทศ) การเปรียบเทียบ การคูณ การหารทศนิยม เรียงลำ ดับเศษส่วน อัตราส่วน การประมาณผลลัพธ์ และจำ นวนคละ ของการบวก การลบ อัตราส่วน อัตราส่วน การบวก การลบเศษส่วน การคูณ การหารทศนิยม ที่เท่ากัน และมาตราส่วน การบวก การลบเศษส่วน การคูณทศนิยม อัตราส่วนและร้อยละ และจำ นวนคละ การหารทศนิยม การแก้โจทย์ปัญหา การแก้โจทย์ปญ ั หาการบวก การแก้โจทย์ปญ ั หาเกีย่ วกับ อัตราส่วนและมาตราส่วน และโจทย์ปัญหาการลบ ทศนิยม เศษส่วนและจำ นวนคละ การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ การอ่านและการเขียน ร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละ © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (9) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระที่ 1 จำ นวนและพีชคณิต สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐานการเรียนรู้ ป.4 ป.5 ป.6 ทศนิยม การอ่านและการเขียน ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ แหน่ง ตามปริมาณที่กำ หนด หลัก ค่าประจำ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละ หลักของทศนิยม และ การเขียนตัวเลขแสดง ทศนิยมในรูปกระจาย ทศนิยมที่เท่ากัน การเปรียบเทียบและ เรียงลำ ดับทศนิยม การบวก การลบทศนิยม การบวก การลบทศนิยม การแก้โจทย์ปัญหา การบวก การลบทศนิยม ไม่เกิน 2 ขั้นตอน ค 1.2 เข้าใจและ แบบรูป แบบรูป วิเคราะห์แบบรูป แบบรูปของจำ นวน การแก้ปัญหาเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ที่เกิดจากการคูณ การหาร แบบรูป ลำ ดับและอนุกรม ด้วยจำ นวนเดียวกัน และนำ ไปใช้ ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ - - - และอสมการอธิบาย ความสัมพันธ์หรือช่วย แก้ปัญหาที่กำ หนดให้ © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (10) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐานการเรียนรู้ ป.4 ป.5 ป.6 ค 2.1 เข้าใจพื้นฐาน เวลา ความยาว ความยาวรอบรูปและพื้นที่ เกี่ยวกับการวัด วัดและ ∙∙การบอกระยะเวลา ∙∙ความสัมพันธ์ระหว่าง ∙∙ความยาวรอบรูปและ คาดคะเนขนาดของสิ่งที่ เป็นวินาที นาที ชั่วโมง หน่วยความยาว พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ต้องการวัด และนำ ไปใช้ วัน สัปดาห์ เดือน ปี เซนติเมตรกับมิลลิเมตร ∙∙มุมภายในของ เมตรกับเซนติเมตร ∙∙การเปรียบเทียบระยะเวลา รูปหลายเหลี่ยม กิโลเมตรกับเมตร โดย โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง ใช้ความรู้เรื่องทศนิยม ∙∙ความยาวรอบรูปและ หน่วยเวลา พื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม ∙∙การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ∙∙การอ่านตารางเวลา ความยาวโดยใช้ความรู้ ∙∙การแก้โจทย์ปัญหา ∙∙การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ เรื่องการเปลี่ยนหน่วย เกี่ยวกับความยาวรอบรูป เวลา และทศนิยม และพื้นที่ของ รูปหลายเหลี่ยม การวัดและสร้างมุม น้ำ หนัก ∙∙ความยาวรอบรูปและ ∙∙การวัดขนาดของมุม ∙∙ความสัมพันธ์ระหว่าง พื้นที่ของวงกลม โดยใช้โพรแทรกเตอร์ หน่วยน้ำ หนัก กิโลกรัม กับกรัม โดยใช้ความรู้ ∙∙การแก้โจทย์ปัญหา ∙∙การสร้างมุมเมื่อกำ หนด เรื่องทศนิยม เกีย่ วกับความยาวรอบรูป ขนาดของมุม และพื้นที่ของวงกลม ∙∙การแก้โจทย์ปัญหา รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เกี่ยวกับน้ำ หนัก ปริมาตรและความจุ ∙∙ความยาวรอบรูปของ โดยใช้ความรู้เรื่อง ∙∙ปริมาตรของรูปเรขาคณิต รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก การเปลี่ยนหน่วย สามมิติที่ประกอบด้วย และทศนิยม ∙∙พืน ้ ทีข ่ องรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ∙∙การแก้โจทย์ปญ ั หาเกีย่ วกับ ∙∙การแก้โจทย์ปัญหา ความยาวรอบรูปและพื้นที่ เกี่ยวกับปริมาตรของ ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก รูปเรขาคณิตสามมิติ ที่ประกอบด้วย ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (11) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐานการเรียนรู้ ป.4 ป.5 ป.6 ปริมาตรและความจุ ปริมาตรของ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก และความจุของภาชนะ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความสัมพันธ์ระหว่าง มิลลิลิตร ลิตร ลูกบาศก์เซนติเมตร และลูกบาศก์เมตร การแก้โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับปริมาตรของ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก และความจุของภาชนะ ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความยาวรอบรูปและพื้นที่ ความยาวรอบรูป ของรูปสี่เหลี่ยม พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ด้านขนานและ รูปสีเ่ หลีย่ มขนมเปียกปูน การแก้โจทย์ปัญหา เกีย่ วกับความยาวรอบรูป ของรูปสี่เหลี่ยมและ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ด้านขนานและรูปสีเ่ หลีย่ ม ขนมเปียกปูน © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (12) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐานการเรียนรู้ ป.4 ป.5 ป.6 ค 2.2 เข้าใจและ รูปเรขาคณิต รูปเรขาคณิต รูปเรขาคณิตสองมิติ วิเคราะห์รูปเรขาคณิต ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี ∙∙เส้นตั้งฉากและสัญลักษณ์ ∙∙ชนิดและสมบัติของ สมบัติของรูปเรขาคณิต ส่วนของเส้นตรงและ แสดงการตั้งฉาก รูปสามเหลี่ยม ความสัมพันธ์ระหว่าง สัญลักษณ์แสดงเส้นตรง รูปเรขาคณิต และ ∙∙เส้นขนานและสัญลักษณ์ ∙∙การสร้างรูปสามเหลี่ยม รังสี ส่วนของเส้นตรง ทฤษฎีบททางเรขาคณิต แสดงการขนาน และนำ ไปใช้ ∙∙ส่วนต่าง ๆ ของวงกลม มุม ∙∙การสร้างเส้นขนาน ∙∙การสร้างวงกลม - ส่วนประกอบของมุม ∙∙มุมแย้ง มุมภายในและ - การเรียกชื่อมุม รูปเรขาคณิตสามมิติ มุมภายนอกที่อยู่บน - สัญลักษณ์แสดงมุม ข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง ∙∙ทรงกลม ทรงกระบอก - ชนิดของมุม (Transversal) กรวย พีระมิด ชนิดและสมบัติ รูปเรขาคณิตสองมิติ ∙∙รูปคลี่ของทรงกระบอก ของรูปสี่เหลี่ยมุมฉาก กรวย ปริซึม พีระมิด ∙∙ชนิดและสมบัติ การสร้างรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ของรูปสี่เหลี่ยม ∙∙การสร้างรูปสี่เหลี่ยม รูปเรขาคณิตสามมิติ ∙∙ลักษณะและส่วนต่าง ๆ ของปริซึม © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (13) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น สาระการเรียนรู้แกนกลาง มาตรฐานการเรียนรู้ ป.4 ป.5 ป.6 ค 3.1 เข้าใจกระบวนการ การนำ เสนอข้อมูล การนำ เสนอข้อมูล การนำ เสนอข้อมูล ทางสถิติ และใช้ความรู้ ∙∙การอ่านและการเขียน ∙∙การอ่านและการเขียน ∙∙การอ่านแผนภูมิรูปวงกลม ทางสถิติในการแก้ปัญหา แผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่ง (ไม่รวมการย่นระยะ) ∙∙การอ่านกราฟเส้น ∙∙การอ่านตารางสองทาง (Two-Way Table) ค 3.2 เข้าใจหลักการนับ - - - เบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำ ไปใช้ © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (14) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำ นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น จำ นวนนับ การบวก การลบ เศษส่วนและการบวก การลบ การคูณ พื้นฐานทางเรขาคณิต รูปเรขาคณิตสองมิติ การนำ เสนอข้อมูล การคูณ และการหาร การหารเศษส่วน ∙∙ บัญญัติไตรยางศ์ ∙∙ เศษส่วนแท้ เศษเกิน จำ นวนคละ ∙∙ เส้นตั้งฉาก ∙∙ ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยม ∙∙ การอ่านและการเขียนแผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ แผนภูมิแท่งที่มีการย่นระยะ ∙∙ ความสัมพันธ์ของจำ นวนคละและเศษเกิน ∙∙ เส้นขนาน ∙∙ การสร้างรูปสี่เหลี่ยม ∙∙ การอ่านกราฟเส้น ∙∙ เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วนอย่างต่ำ เศษส่วนที่เท่ากับ ∙∙ มุมแย้ง มุมภายในและมุมภายนอก ∙∙ ความยาวรอบรูป จำ นวนนับ ที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง ∙∙ โจทย์ปัญหา ∙∙ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ∙∙ การเปรียบเทียบและเรียงลำ ดับเศษส่วน จำ นวนคละ ∙∙ การสร้างเส้นขนาน และรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ∙∙ การบวก การลบเศษส่วนและจำ นวนคละ ∙∙ โจทย์ปัญหา ∙∙ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเศษส่วนและ จำ นวนคละ ทศนิยม การบวก การลบ ร้อยละ รูปเรขาคณิตสามมิติ การคูณ และการหาร ∙∙ ความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนกับทศนิยม ∙∙ การอ่าน การเขียนร้อยละ ∙∙ ลักษณะและส่วนต่าง ๆ ของปริซึม ∙∙ ค่าประมาณ ∙∙ โจทย์ปัญหา ∙∙ ปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ∙∙ การคูณ การหาร ∙∙ ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยปริมาตร ∙∙ การประมาณผลลัพธ์ของการบวก ∙∙ โจทย์ปัญหา การลบ การคูณ การหาร ∙∙ ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว ∙∙ ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยน้ำ หนัก ∙∙ โจทย์ปัญหา © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (15) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตัวอย่างคำ อธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 รหัสวิชา ค 15101 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 160 ชั่วโมง ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำ นวณ และฝึกการแก้ปัญหาในเนื้อหาต่อไปนี้ การเปรียบเทียบเศษส่วนและจำ นวนคละ การบวก การลบเศษส่วนและจำ นวนคละ การคูณ การหาร ของเศษส่วนและจำ นวนคละ การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจำ นวนคละ การแก้โจทย์ปัญหา เศษส่วนและจำ นวนคละ ความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนิยม ค่าประมาณของทศนิยมไม่เกิน 3 ตำ แหน่งให้เป็นจำ นวนเต็มหน่วย ทศนิยม 1 ตำ แหน่ง และ 2 ตำ แหน่ง การใช้เครื่องหมาย ≈ การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม การคูณทศนิยม การหารทศนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว เซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยน้ำ หนัก กิโลกรัมกับกรัม การแก้โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับความยาวและน้ำ หนักโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับทศนิยมและการเปลี่ยนหน่วย การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ การอ่านและการเขียนร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์ การแก้โจทย์ ปัญหาร้อยละ เส้นตั้งฉากและสัญลักษณ์แสดงการตั้งฉาก เส้นขนานและสัญลักษณ์แสดงการขนาน การสร้างเส้นขนาน มุมแย้ง มุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยม การสร้างรูปสีเ่ หลีย่ ม ความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หลีย่ ม พืน ้ ทีข ่ องรูปสีเ่ หลีย่ มด้านขนานและรูปสีเ่ หลีย่ มขนมเปียกปูน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ลักษณะและส่วนต่าง ๆ ของปริซึม ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยม- มุมฉาก ความสัมพันธ์ระหว่าง มิลลิลิตร ลิตร ลูกบาศก์เซนติเมตร และลูกบาศก์เมตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก การอ่านและการเขียนแผนภูมิแท่ง การอ่านกราฟเส้น โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ทใ่ี กล้ตวั ให้นกั เรียนได้ศกึ ษาค้นคว้าจากการปฏิบต ั จิ ริง สรุปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะการคิดคำ นวณ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับการแก้ปัญหา การสื่อสารและ การสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ การเชือ่ มโยง การให้เหตุผล และ การคิดสร้างสรรค์ สามารถทำ งานอย่างเป็นระบบ มีระเบียบวินัย มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง รวมทั้งตระหนัก ในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ การวัดและประเมินผล เน้นการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยให้สอดคล้องกับบริบท และเป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (16) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 รหัสตัวชี้วัด ค 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8, ป.5/9 ค 1.2 - ค 1.3 - ค 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ค 2.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ค 3.1 ป.5/1, ป.5/2 ค 3.2 - รวมทั้งหมด 19 ตัวชี้วัด © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (17) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตัวอย่างโครงสร้างเวลาเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 บทที่/เรื่อง เวลา (ชั่วโมง) ภาคเรียนที่ 1 บทที่ 1 เศษส่วน 34 บทที่ 2 ทศนิยม 34 บทที่ 3 การนำ เสนอข้อมูล 12 กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม : กินอยู่อย่างฉลาด - รวมภาคเรียนที่ 1 80 ภาคเรียนที่ 2 บทที่ 4 บัญญัติไตรยางศ์ 9 บทที่ 5 ร้อยละ 17 บทที่ 6 เส้นขนาน 13 บทที่ 7 รูปสี่เหลี่ยม 24 บทที่ 8 ปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก 17 กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็ม : ออกแบบลานจอดรถ - รวมภาคเรียนที่ 2 80 รวมเวลาเรียนตลอดปีการศึกษา 160 หมายเหตุ 1. ควรสอนวันละ 1 ชั่วโมง 4 วันต่อสัปดาห์ 2. จำ นวนชั่วโมงที่ใช้สอนแต่ละบทนั้นได้ รวมเวลาที่ใช้ทดสอบไว้แล้ว 3. กำ หนดเวลาทีใ่ ห้ไว้แต่ละบทเป็นเวลาโดยประมาณ ครูอาจปรับให้เหมาะสมกับระดับความสามารถของนักเรียน 4. กิจกรรมคณิตศาสตร์เชิงสะเต็มเป็นกิจกรรมเสริม ครูอาจให้นักเรียนทำ กิจกรรมนี้ในเวลาที่เหมาะสม © สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 2562 (18) คู่มือครู รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง