บทที่ 2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน PDF
Document Details
Uploaded by AmbitiousRhodium8975
Tags
Summary
เอกสารนี้เป็นบทที่ 2 เกี่ยวกับ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ เช่น ความหมาย ความสำคัญ จุดมุ่งหมาย หลักการ รูปแบบ และขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
Full Transcript
บทที่ 2 กิจกรรมการเรียนการสอน เนื้อหาในการสอน 1. ความหมายของกิจกรรมการเรียนการสอน 7. แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ 2. ความสำคัญของกิจกรรมการเรียนการสอน หลักสูตร 3. จุดมุ่งหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนการ 8. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโ...
บทที่ 2 กิจกรรมการเรียนการสอน เนื้อหาในการสอน 1. ความหมายของกิจกรรมการเรียนการสอน 7. แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ 2. ความสำคัญของกิจกรรมการเรียนการสอน หลักสูตร 3. จุดมุ่งหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนการ 8. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็น สอน สำคัญ 4. หลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 9. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการ 5. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เรียนรู้ 6. ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 10. บทบาทของผู้สอน ความหมายของกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน หลักสูตรฉบับปัจจุบันต้องการเน้น ที่ตัวผู้เรียนเป็นสำคัญ หมายถึง เน้นที่บทบาทของผู้เรียน แต่ผู้สอนก็ยังคงมีบทบาทร่วมด้วยเช่นกัน คือ เป็นผู้อำนวย ความสะดวก ได้แก่ เป็นผู้ให้คำปรึกษา และเป็นผู้กระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิด กิจกรรมการเรียนการสอน หมายถึง การปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน เพื่อให้การสอนดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และการเรียนรู้ของผู้เรียนบรรลุสู่จุดประสงค์การ สอนทีก่ ำหนดไว้ ความสาคัญของกิจกรรมการเรียนการสอน ส่งเสริมความงอกงามและพัฒนาการของเด็ก ขยายความรู้และประสบการณ์ของเด็กให้ ช่วยให้เห็นความแตกต่างระหว่างบุคคล กว้างขวาง เร้าความสนใจของ เปิดโอกาสให้นักเรียน ปลูกฝังความเป็น ปลูกฝังความ เด็ก ประสบความสำเร็จ ประชาธิปไตย รับผิดชอบ ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความ นักเรียนเกิดความเข้าใจในบทเรียน ซาบซึ้ง ความงามในเรื่องต่าง ๆ ปลูกฝังและส่งเสริมความคิดริเริ่ม ช่วยส่งเสริมทักษะต่าง ๆ สร้างสรรค์ นักเรียนได้รู้สกึ นักเรียนได้มีการ ส่งเสริมให้เด็กรู้จัก ปลูกฝังเจตคติท่ดี ี สนุกสนาน เคลื่อนไหว ทำงานเป็นกลุ่ม จุดมุ่งหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาไปพร้อมกัน 2. เพื่อสนองความสามารถ ความถนัด ความสนใจของผู้เรียนทุกคน ซึ่งแต่ละคนจะมีแตกต่างกัน 3. เพื่อสร้างบรรยากาศการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนเรียนด้วยความเพลิดเพลิน ไม่เกิดความรู้สึกเบื่อหน่ายในการเรียน 4. เพื่อสนองเจตนารมณ์ของหลักสูตรให้ผู้เรียนได้คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น เกิดทักษะกระบวนการ ให้เป็นคนเก่ง คนดี มี ความสุข และมีความเป็นไทย 5. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าแสดงออก และมีส่วนร่วมในการเรียน หลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. จัดกิจกรรมให้สอดคล้องและ 1. จัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับ 2. จัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับ เหมาะสมกับวัย ความสามารถ เจตนารมณ์ของหลักสูตร จุดประสงค์การสอน ความสนใจของผู้เรียน ผู้สอนต้องสอนวิธีการคิด ผู้สอนต้องพิจารณาว่า ผู้เรียนจะเรียนด้วยความ วิธีการทำ วิธกี าร จุดประสงค์การสอนใน สนุกและด้วยความสนใจ แก้ปัญหาและสอนอย่าง ครั้งนั้นมุ่งเน้นพฤติกรรม มีลำดับขั้นตอนเพื่อให้ ด้านใด ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะ ตามที่หลักสูตรมุ่งหวัง 4. จัดกิจกรรมให้ 6. จัดกิจกรรมให้น่าสนใจ 7. จัดกิจกรรมโดยให้ 5. จัดกิจกรรมให้มีลาดับ สอดคล้องกับลักษณะของ โดยใช้สื่อการสอนที่ ผู้เรียนเป็นผู้กระทา ขั้นตอน เนื้อหาวิชา เหมาะสม กิจกรรม เนื้อหาวิชาแต่ละ ผู้เรียนจะเกิดความรู้ เช่น สื่อของจริง สือ่ เพื่อให้เกิดการ ประเภทต้องอาศัย ความเข้าใจอย่าง สิ่งพิมพ์ เครื่องฉาย เรียนรู้ด้วยตนเอง เทคนิควิธีสอนหรือ ต่อเนื่องไม่สับสน เป็นต้น ผู้สอนเป็นผู้อำนวย การจัดกิจกรรมที่ และสามารถโยง ใช้ให้เหมาะกับ ความสะดวก แตกต่างกัน ความสัมพันธ์ของ เนื้อหา ความรู้และ เรียนรู้วิธกี ารหา เนื้อหาที่เรียนได้ วัตถุประสงค์ของ ความรู้ การสอน 8. จัดกิจกรรมโดยใช้วิธีการ 10. จัดกิจกรรมโดยให้มี 11. จัดกิจกรรมแล้วต้องมี 9. จัดกิจกรรมโดยใช้เทคนิค ที่ท้าทายความคิด บรรยากาศที่รื่นรมย์ การวัดผลการใช้กิจกรรมนั้น วิธีการสอนที่หลากหลาย ความสามารถของผู้เรียน สนุกสนาน และเป็นกันเอง ทุกครั้ง ให้ผู้เรียนฝึกฝนวิธีการ ผู้สอนไม่ควรใช้วิธีเดียวกัน ทำให้ผู้เรียนด้วยความสุข เพื่อค้นหาข้อดี หรือ แสวงหาความรู้ และการ ตลอด ควรคิดกิจกรรม ใจ สบายใจ ไม่ตึงเครียด ข้อบกพร่อง แล้วนำผลไป แก้ปัญหาด้วยตนเอง จะ การเรียนการสอนให้ และเกิดการเรียนรู้ได้ดี ปรับปรุงแก้ไขสำหรับใช้ ทำให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า น่าสนใจ เลือกใช้ ในครั้งต่อไป ของสิ่งที่เรียนและได้รับ เทคนิควิธีการสอนที่ ประโยชน์จากการเรียน สอดคล้องกับลักษณะ อย่างแท้จริง เนื้อหาวิชา เช่น แสดงละคร โต้วาที จัดแข่งขันการแต่งกลอน สด รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จัดกิจกรรมได้ทั้งแบบ กลุ่มและรายบุคคล แบบยึดผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง เล่นเกม การทำรายงาน โครงงาน เล่านิทาน ฯ การจัดการเรียนการ สอน ครูเป็นผู้มีบทบาทใน การจัดเรียนการสอน แบบยึดครูเป็น ศูนย์กลาง การบรรยาย การสาธิต การถาม-ตอบ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ขั้นนาเข้าสู่ 2. ขั้นปฏิบัติ 3. ขั้นสรุปและ บทเรียน กิจกรรม (ขั้นสอน) วัดผล 1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน เป็นขั้นเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เรียน และเร้าความสนใจให้ผู้เรียน อยากรู้ อยากเห็น อยากคิด อยากทำ เพื่อเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน หลักการนาเข้าสู่บทเรียน - น่าสนใจ หมายถึง นำให้น่าสนใจ โดยใช้เทคนิควิธีการ - ให้ตรงเรื่อง หมายถึง นำให้ตรงกับเรื่องที่สอน - ไม่เปลืองเวลา หมายถึง ควรใช้เวลาไม่มากในการนำเข้าสู่บทเรียน ร้องเพลง ให้แสดงท่าทาง เล่นเกม วิธีการที่ใช้ เล่าประสบการณ์ เล่านิทาน นาเข้าสู่บทเรียน ยกสถานการณ์ ปริศนาคำทาย จริง สนทนาซักถาม 2. ขั้นปฏิบัติกิจกรรม (ขั้นสอน) การอภิปราย การแสดง การค้นคว้า การรายงาน กลุ่ม บทบาทสมมุติ การพูดแสดง การสาธิต การเล่าเรือ่ ง การบรรยาย ความคิดเห็น ข้อควรคานึงถึงในการจัดกิจกรรมขั้นสอน 2.1 เป็นกิจกรรมที่สอดคล้องกับจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ 2.2 เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ 2.3 เป็นกิจกรรมที่สอดคล้องกับวัย วุฒิภาวะ และความพร้อมของผู้เรียน 2.4 เป็นกิจกรรมที่สนองความต้องการ ความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน 2.5 เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปญ ั ญา 2.6 เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับเวลาและสภาพแวดล้อม 2.7 เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำหรือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง 2.8 เป็นกิจกรรมที่มีขั้นตอนเป็นไปตามลำดับความง่ายยาก รูปธรรมไปนามธรรมและความ เรียบง่ายไปสู่ความสลับซับซ้อน 3. ขั้นสรุปและวัดผล - เป็นขั้นการสรุปเนื้อหาที่เรียนผ่านมาแล้วทั้งหมด สรุปทั้งด้านความรู้ ความคิด เจตคติ และทักษะที่ผู้เรียนได้รับ ตลอดจนการนำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน - ในการสรุปนี้ ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนเป็นผู้สรุปหรือผู้สอนกับผู้เรียนร่วมกันสรุปก็ได้ - หลังจากนั้นผู้สอนควรได้วัดผลการเรียนรู้ว่าผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ หรือไม่ โดยอาจใช้วิธีให้ตอบคำถาม ให้ทำแบบทดสอบให้ทำแบบฝึกหัด หรือทำรายงานตามที่ ผู้สอนวางแผนไว้ แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 กำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเองมีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต สาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการ สื่อสาร 5. ความสามารถในการใช้ 2. ความสามารถในการคิด เทคโนโลยี 4. ความสามารถในการใช้ 3. ความสามารถในการ ทักษะชีวิต แก้ปัญหา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ 6. มุ่งมั่นในการ 7. รักความเป็น กษัตริย์ ทำงาน ไทย 5. อยู่อย่าง 2. ซื่อสัตย์สุจริต 8. มีจิตสาธารณะ พอเพียง 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ สถานศึกษาสามารถกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตามบริบท และจุดเน้นของตนเอง เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ดังกล่าว หลักสูตรจึงเน้นให้จัด กิจกกรมการเรียนการสอน โดยยึดหลักการ 2 ประการ คือ 1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2. จัดการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ทิศนา แขมมณี (2548) กล่าวว่า กระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นสำคัญ เป็นการจัด การเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นตัวตั้ง โดยคำนึงถึงความเหมาะสมกับผู้เรียนและประโยชน์ สูงสุดที่ผู้เรียนควรจะได้รับ และมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีบทบาท สำคัญในการเรียนรู้ ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้อย่างตื่นตัว และได้ใช้กระบวนการ เรียนรู้ต่าง ๆ อันจะนำผู้เรียนไปสู่การเกิดการเรียนรู้ที่แท้จริง จัดการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ หมายถึง การที่ผู้สอนใช้เทคนิคการสอนหลาย ๆ แบบให้เหมาะสมกับเนื้อหาและจุดประสงค์ การสอน และเน้นการเรียนรู้อย่าง โดยมีลำดับขั้นตอนเพื่อนำไปสู่จุดประสงค์ที่กำหนดไว้ คือ 1. จัดกิจกรรมให้เป็นกระบวนการ หมายถึง การดำเนินการสอนอย่างมีขั้นตอนตั้งแต่ต้นจน จบ ตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ ผู้เรียนได้คิด ได้พูด ได้แก้ปัญหา ได้ปฏิบัติ ฯลฯ ทำให้ผ้เู รียนได้รับ ความรู้ เกิดการพัฒนาตนเองหลังทำกิจกรรมนั้นแล้ว 2. พัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสามารถเชิงกระบวนการ หมายถึง การปลูกฝังให้ผู้เรียนมี ความสามารถในการปฏิบัติเป็นขั้นตอนติดตัวไปใช้ในชีวิตจริง ผู้เรียนจะได้รับการฝึกฝนการเรียนรู้ อย่างเป็นกระบวนการ จนเกิดทักษะกระบวนการ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและชีวิตการ ทำงานของตนได้ กระบวนการสอนภาษาไทย ขั้นที่ 4 ทักษะฝึกเพิ่มพูน ให้ผู้เรียนได้ฝึกอ่าน ขั้นที่ 3 เหตุผลสรุปหลัก เขียน คิดคำเพิ่มเติม ให้ผู้เรียนเป็นผู้สรุป นอกเหนือจากตัวอย่าง ขั้นที่ 2 ให้หาข้อสังเกต หลักเกณฑ์เองจากการ เช่น การแต่งกลอน ให้ผู้เรียนได้สังเกต สังเกต โดยให้ เรียงความ ขั้นที่ 1 ตัวอย่างให้ศึกษา ลักษณะของคำที่ได้ว่า บอกความหมายและ ผู้สอนควรนำตัวอย่าง มีลักษณะเฉพาะ ลักษณะของคำหรือ คำ พยางค์ วลี อย่างไร เรื่องที่เรียนเอง ประโยคหรือเนื้อหา เช่น ใช้เสียงตัวสะกด ภาษาไทยอื่น ๆ ที่จะ ตัวใดเหมือนกัน สอนมาให้ผู้เรียนดู บทบาทของผู้สอน ผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้อำนวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน โดยจะทำ หน้าที่ดังนี้ เป็นผู้กำหนดบทบาทให้นักเรียนทุกคนได้มีส่วนเข้าร่วมทำกิจกกรมตามความรู้ 1. เป็นผู้จัดการ ความสามารถของตนเอง 2. เป็นผู้ร่วมทากิจกรรม เข้าร่วมทำกิจกรรมกับผู้เรียน เป็นผู้แสดงความคิดเห็นหรือแนวคิด 3. เป็นผู้ช่วยเหลือและแหล่งวิทยากร คอยให้คำตอบเมื่อนักเรียนต้องการความช่วยเหลือทางวิชาการ 4. เป็นผู้สนับสนุนและเสริมแรง ช่วยสนับสนุนด้านสื่ออุปกรณ์หรือให้คำแนะนำเพื่อกระตุ้นผู้เรียน 5. เป็นผู้ติดตามตรวจสอบ คอยตรวจสอบงานที่นักเรียนผลิตขึ้นมาก่อนที่จะส่งต่อไปให้นักเรียนคนอื่นๆ สรุป การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน เป็ น สิ ่ ง สำคั ญ และเป็ น หั ว ใจของการนำผู ้ เ รี ย นไปสู ่ จุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่ตั้งไว้ ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้ดีเพียงใดขึ้นอยู่กับการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนของผู้สอนเป็นสำคัญ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต้องจัดให้สอดคล้องกับหลักสู ตร และท้องถิ่น โดยเฉพาะหลักสูตรฉบับปัจจุบัน มุ่งให้จัดโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้ใช้วิธ ีสอนที่ หลากหลายและใช้กระบวนการต่าง ๆ เช่น กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ ป ั ญ หา กระบวนการสร้ า งค่ า นิ ย ม ฯลฯ ซึ ่ ง มี จ ุ ด มุ ่ ง หมายให้ ผ ู ้ เ รี ย นเกิ ด ทั ก ษะ กระบวนการ สามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในชีวิตได้เหมาะสมกั บสภาพแวดล้อมและทักษะของ เนื้อหาวิชา คาถามท้ายบท 1. จงอธิบายความสำคัญของกิจกรรมการเรียนการสอน 2. จงอธิบายจุดมุ่งหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3 จงอธิบายหลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 4. จงอธิบายรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน