EDA 5501 Educational Management PDF

Summary

This document covers various aspects of educational management, including educational administration, budget management, quality assurance and school management strategies.

Full Transcript

EDA 5501 การบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษา 1 บทที่ 4 การบริหารงานวิชาการและการบริหารงานงบประมาณ การเงิน และพัสดุ 1 การบริหารงานวิชาการ ทักษะที่สำคัญสำหรับผู้บริหำรในกำร บริหำรงำนวิชำกำร 1. มีทักษะและเป็นผู้นาทางวิชาการ 6. มีความรอบรู้ทางด้านการศึกษ...

EDA 5501 การบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษา 1 บทที่ 4 การบริหารงานวิชาการและการบริหารงานงบประมาณ การเงิน และพัสดุ 1 การบริหารงานวิชาการ ทักษะที่สำคัญสำหรับผู้บริหำรในกำร บริหำรงำนวิชำกำร 1. มีทักษะและเป็นผู้นาทางวิชาการ 6. มีความรอบรู้ทางด้านการศึกษา 2. มีความรู้และประสบการณ์ด้านการ 7. มีความสามารถในการแสวงหาข้อมูล บริหารงานวิชาการ สามารถใช้ความรู้และ ข่าวสารที่ทันต่อสถานการณ์ดา้ นการ ประสบการณ์ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า บริหารงานวิชาการ ได้ทันท่วงที 8. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ 3. มีวสิ ัยทัศน์และความคิดริเริ่ม นวัตกรรมการบริหารงานวิชาการ สร้างสรรค์ 9. ปฏิบัติหน้าที่โดยคานึงถึงมาตรฐาน 4. มีความรับผิดชอบ วิชาการ 5. มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาตนเองอย่าง 10. มีความสามารถในการรายงานผล สม่าเสมอ การปฏิบัตงิ านอย่างเป็นระบบ 3 หลักกำรบริหำรงำนวิชำกำร ▸ 1. หลักประสิทธิภาพ ▹ ความสามารถในการบริหารจัดการโดยใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ▹ ปัจจัยของประสิทธิภาพจะมีอยู่ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านต้นทุน ด้านเวลา และด้าน คุณภาพ ▸ 2. หลักประสิทธิผล ▹ ผลสาเร็จของการบริหารจัดการให้บรรลุเป้าหมายทั้งในเชิงคุณภาพและเชิง ปริมาณ โดยพิจารณาจากการนาผลของกิจกรรมหรือโครงการที่ปฏิบัติ เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กาหนด 4 กระบวนกำรบริหำรงำนวิชำกำร ▸ เทคนิคที่นิยมใช้มากที่สุด คือ การนาวงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA มา ประยุกต์ใช้ในการบริหารงานวิชาการเพื่อควบคุมการดาเนินงานอย่างเป็นระบบ ▹ 1. การวางแผน (Plan) ▹ การวางแผนการบริหารงานวิชาการ ▹ 2. การปฏิบัติตามแผน (Do) ▹ การนาแผนการบริหารงานวิชาการสู่การปฏิบัติ ▹ 3. การตรวจสอบ (Check) ▹ การนิเทศและติดตามผลการบริหารงานวิชาการ ▹ 4. การปรับปรุงการดาเนินการ (Act) ▹ การปรับปรุงผลการบริหารงานวิชาการ 5 การบริหารหลักสูตร และการบริหาร การเรียนการสอน 6 กำรบริหำรหลักสูตร และกำรบริหำรกำรเรียนกำรสอน ▸ 1. การดาเนินงานแบบมีส่วนร่วม ▹ ปัจจัยสาคัญที่ทาให้การพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนมีคุณภาพคือ การ ปรับเปลี่ยนแนวคิด วิธีการ รูปแบบ และกระบวนทัศน์จากกรอบแนวคิดเดิมสู่ แนวคิดใหม่ ด้วยวิธกี ารบริหารแบบมีสว่ นร่วมกับบุคคลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ▹ มีส่วนร่วมในการวางแผน การพัฒนาหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาด้วยการนาประสบการณ์ ความ รอบรู้ ความชานาญ และภูมิปัญญาท้องถิ่นของบุคคลมาใช้เพื่อให้เกิด ประโยชน์ทางการศึกษา ▸ 2. การพัฒนาบุคลากร ▹ บุคลากรจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการ สอน ตลอดทั้งการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง 7 กำรบริหำรหลักสูตร และกำรบริหำรกำรเรียนกำรสอน (ต่อ) ▸ 3. การสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากร ▹ จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ หรือสื่อต่าง ๆ ที่จะช่วยส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรูใ้ ห้มี ประสิทธิภาพ ▸ 4. การสร้างบรรยากาศทางวิชาการ ▹ จัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรูแ้ ก่ผู้เรียนและผู้สอน ▹ การจัดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งเรียนรูต้ ่าง ๆ รวมทั้งการสนับสนุนให้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูผู้สอนและนักเรียน ระหว่างผู้เรียน ระหว่างบุคลากรร่วมกัน และระหว่างเครือข่ายภายนอกสถานศึกษา ▸ 5. การกากับดูแลคุณภาพการศึกษา ▹ การนิเทศการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา 8 การบริหารการนิเทศ ภายในสถานศึกษา 9 จุดมุ่งหมำยของกำรนิเทศกำรศึกษำ ▸ 1. เพื่อพัฒนาคน ▸ 2. เพื่อพัฒนางาน ▸ 3. เพื่อสร้างการประสานสัมพันธ์ ▸ 4. เพื่อสร้างขวัญและกาลังใจ 10 หลักกำรนิเทศกำรศึกษำ ▸ 1. ผู้นิเทศจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลักการนิเทศอย่างถูกต้อง ▸ 2. ยึดหลักการมีส่วนร่วมในการทางาน ▸ 3. มีระบบและขั้นตอนที่ชัดเจนในกระบวนการนิเทศ 11 กระบวนกำรนิเทศกำรศึกษำ 1 2 3 กระบวนการนิเทศ กระบวนการนิเทศ กระบวนการนิเทศ แบบ PIDRE แบบ PDCA เชิงระบบ (System Approach) กระบวนกำรนิเทศแบบ PIDRE ▸ ขั้นที่ 1 วางแผนการนิเทศ (Planning–P) ▸ ขั้นที่ 2 ให้ความรูค้ วามเข้าใจในการทางาน (Informing–I) ▸ ขั้นที่ 3 ลงมือปฏิบัติงาน (Doing–D) ▸ ขั้นที่ 4 สร้างเสริมกาลังใจ (Reinforcing–R) ▸ ขั้นที่ 5 ประเมินการนิเทศ (Evaluating–E) 13 กระบวนกำรนิเทศแบบ PDCA ▸ ขั้นที่ 1 การดาเนินการวางแผน (Plan) ▸ ขั้นที่ 2 การดาเนินการตามแผนนิเทศ (Do) ▸ ขั้นที่ 3 การดาเนินการตรวจสอบและประเมินผล (Check) ▸ ขั้นที่ 4 การนาผลการประเมินมาปรับปรุง (Act) 14 กระบวนกำรนิเทศเชิงระบบ (System Approach) ▸ ขั้นที่ 1 สิ่งที่ป้อนเข้าไป (Input) ▹ ขั้นตอนการเตรียมพร้อมเพื่อการนิเทศการศึกษา ▸ ขั้นที่ 2 กระบวนการหรือการดาเนินงาน (Process) ▹ เป็นการปฏิบัติตามแผนเพื่อให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้ ▸ ขั้นที่ 3 ผลผลิตหรือการประเมินผล (Output) ▹ เป็นการประเมินผลจากการปฏิบัติงานตามเป้าหมายทั้งในเชิงปริมาณและ คุณภาพ รวมทัง้ ผลการวิเคราะห์สภาพปัญหา แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงให้ มีคุณภาพมากยิ่งขึน้ 15 ภำรกิจและหน้ำที่ของผู้บริหำร และคณะกรรมกำรนิเทศของสถำนศึกษำ ▸ 1. กาหนดนโยบายของการนิเทศภายในโรงเรียน เช่น การส่งเสริมให้ใช้กระบวนการ กลุ่มในการทางานเพื่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ ▸ 2. ส่งเสริมให้ครูมีความรูค้ วามเข้าใจและมีเจตคติที่ดีต่อการนิเทศภายในโรงเรียน ▸ 3. ร่วมประชุมวางแผนกับคณะครูในโรงเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ▸ 4. สนับสนุนด้านงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนขวัญและกาลังใจ ▸ 5. กระตุ้นให้ครูตื่นตัวด้านวิชาการอยู่เสมอ ▸ 6. ปฏิบัติการนิเทศภายในโรงเรียนตามแผนการนิเทศของสถานศึกษา ▸ 7. เปิดโอกาสให้คณะครูมีส่วนร่วมในการดาเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนและการ ประเมินตนเอง ▸ 8. สร้างขวัญและกาลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานด้วยวิธีการต่าง ๆ ▸ 9. ติดตามประเมินผลและพัฒนาการดาเนินการนิเทศภายในโรงเรียน 16 การบริหารจัดการ ประกันคุณภาพการศึกษา 17 ระบบกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ ▸ 1. การประกันคุณภาพภายใน (Internal Quality Assurance) ▹ การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ สถาบันการศึกษาจากภายใน โดยวงจร PDCA (Plan–Do–Check–Act) เป็นการ ปฏิบัติโดยบุคลากรของสถาบันการศึกษาหรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่ กากับดูแลสถาบันการศึกษานั้น ๆ ▸ 2. การประกันคุณภาพภายนอก (External Quality Assurance) ▹ การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ สถาบันการศึกษาจากภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) หรือบุคคล หรือหน่วยงานภายนอกที่สานักงาน ดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและเป็นการพัฒนาให้มคี ุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของสถาบันการศึกษานั้น ๆ 18 กระบวนกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ 1 2 3 กำรควบคุมคุณภำพ กำรตรวจสอบ กำรประเมินคุณภำพ (Quality Control) (Quality Audit) (Quality Assessment) จัดทาแผนเพื่อใช้เป็น ตรวจสอบและทบทวน การประเมินคุณภาพภายในจะ แนวทางในการ การดาเนินงานทั้งระบบ ใช้วิธกี ารศึกษาตนเอง (Self– ดาเนินงานพัฒนา เพื่อนาข้อมูลมา Study) และการประเมินตนเอง คุณภาพ และมีระบบ ปรับปรุงและ (Self–Assessment) ส่วนการ และกลไกการ พัฒนาการจัด ประเมินคุณภาพภายนอกจะ ปฏิบัตงิ านตามแผน การศึกษาให้เป็นไปตาม ดาเนินการโดยสานักงานรับรอง การติดตาม กากับ และ มาตรฐานที่กาหนดไว้ มาตรฐานและประเมินคุณภาพ การดาเนินงานอย่าง การศึกษา (สมศ.) จริงจังและต่อเนื่อง บทบำทและหน้ำที่ของผู้บริหำรสถำนศึกษำ ในกำรประกันคุณภำพกำรศึกษำภำยในสถำนศึกษำ ▸ 1. กาหนดมาตรฐานการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและ ประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการกาหนด ▸ 2. จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและ ดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้ ▸ 3. จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ▸ 4. ติดตามผลการดาเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษา ▸ 5. จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับ ดูแลเป็นประจาทุกปี 20 บทบำทและหน้ำที่ของผู้บริหำรกำรศึกษำ ในกำรกำกับดูแลสถำนศึกษำ ▸ 1. ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนาสถานศึกษา เพื่อให้การประกันคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ▸ 2. รับรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ▸ 3. จัดทาประเด็นที่ต้องการให้มกี ารประเมินผลและการติดตามตรวจสอบโดยรวบรวม จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ▸ 4. จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองพร้อมกับประเด็นที่จัดทาไว้ให้แก่สานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เพื่อใช้ เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก ▸ 5. เมื่อ สมศ. ได้ดาเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษา และจัดส่งรายงานพร้อมข้อเสนอแนะให้แก่สถานศึกษาและหน่วยงานต้น สังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลแล้ว จะต้องติดตามผลการปรับปรุงและพัฒนา คุณภาพการศึกษา เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 21 2 การบริหารงานงบประมาณ การเงิน และพัสดุ ทักษะที่สำคัญสำหรับผู้บริหำรในกำรกำร บริหำรงำนงบประมำณ กำรเงิน และพัสดุ 1. เข้าใจนโยบาย ขอบเขต และอานาจ 5. มีความละเอียดรอบคอบ หมั่น หน้าที่ของตน ตรวจสอบและติดตามการใช้งบประมาณ 2. มีความรู้ความเข้าใจด้านระบบ อยู่เสมอ งบประมาณ ระเบียบการคลัง พัสดุและ 6. มีความสามารถในการตัดสินใจอย่าง การเงิน มีเหตุและผล 3. ยึดถือและปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ 7. มีความสามารถในการรายงานการเงิน คาสั่ง และแนวปฏิบัตขิ องทางราชการ อย่างเป็นระบบ 4. มีความซื่อสัตย์ สุจริต 23 กิจกรรม ▸ แบ่งกลุ่มศึกษาหลักการและกระบวนการบริหารงานงบประมาณ การเงิน และพัสดุ ▹ กลุ่มที่ 1 การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Based Budgeting: PBB) ▹ กลุ่มที่ 2 การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ (Strategic Performance Based Budgeting: SPBB) ▹ กลุ่มที่ 3 กระบวนการงบประมาณหรือวงจรงบประมาณ ▹ กลุ่มที่ 4 กระบวนการบริหารงานพัสดุหรือวงจรการบริหารงานพัสดุ 24 หลักการบริหาร งานงบประมาณ การเงิน และพัสดุ 25 หลักกำรบริหำรงำนงบประมำณ กำรเงิน และพัสดุ การบริหาร การบริหาร งบประมาณแบบ งบประมาณแบบ มุ่งเน้นผลงาน มุ่งเน้นผลงาน ตามยุทธศาสตร์ 26 “ การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Based Budgeting: PBB) อาศัย หลักการตามมาตรฐานการจัดการทางการเงิน 7 ด้าน หรือที่เรียกว่า 7 Hurdles ซึ่งเป็นเงื่อนไขที่ สานักงบประมาณกาหนดให้หน่วยงานนาร่อง ดาเนินการตามมาตรการดังกล่าว 27 กำรบริหำรงบประมำณแบบมุ่งเน้นผลงำน ▸ 1. การวางแผนงบประมาณ (Budgeting Planning) ▸ 2. การกาหนดผลผลิตและการคานวณต้นทุน (Output Specification and Costing) ▸ 3. การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement Management) ▸ 4. การบริหารทางการเงินและการควบคุมงบประมาณ (Financial Management / Fund Control) ▸ 5. การรายงานทางการเงินและผลดาเนินงาน (Financial and Performance Reporting) ▸ 6. การบริหารสินทรัพย์ (Asset Management) ▸ 7. การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) 28 “ การบริหารแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ (Strategic Performance Based Budgeting: SPBB) เป็นการบริหารงบประมาณที่เน้นหลักการ ธรรมาภิบาลหรือหลักการบริหารจัดการที่ดี เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด โดยคานึงผลสาเร็จของ งานตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ และ นโยบายของภาครัฐเป็นสาคัญ 29 กำรบริหำรงบประมำณแบบมุ่งเน้นผลงำน ตำมยุทธศำสตร์ ▸ 1. มุ่งเน้นผลสาเร็จของผลผลิต ผลลัพธ์ตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ▸ 2. การมอบอานาจการบริหารจัดการ ▸ 3. กระบวนการติดตามและประเมินผลความสาเร็จตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ ▸ 4. การเพิ่มขอบเขตการครอบคลุมงบประมาณ ▸ 5. การจัดทากรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะกลาง (Medium Term Expenditure Framework: MTEF) ▸ 6. ยึดหลักธรรมาภิบาล 30 กระบวนการบริหาร งบประมาณ การเงิน และพัสดุ 31 กระบวนกำรบริหำรงบประมำณ กำรเงิน และพัสดุ กระบวนการ กระบวนการ งบประมาณ บริหารงานพัสดุ หรือวงจร หรือวงจรการ งบประมาณ บริหารงานพัสดุ 32 กระบวนกำรงบประมำณหรือวงจรงบประมำณ ▸ กระบวนการงบประมาณ (Budget Process) หรือวงจรงบประมาณ (Budget Cycle) ▹ 1. การจัดทางบประมาณ (Budget Preparation) ▹ 2. การอนุมัติงบประมาณ (Budget Adoption) ▹ 3. การบริหารงบประมาณ (Budget Execution) ▹ 4. การติดตามประเมินผลงบประมาณ (Budget Monitoring and Valuation) 33 กระบวนกำรบริหำรงำนพัสดุ หรือวงจรกำรบริหำรงำนพัสดุ ▹ 1. การวางแผนหรือการกาหนดโครงการ ▹ 2. การกาหนดความต้องการ ▹ 3. การจัดหาพัสดุ ▹ 4. การเบิกจ่ายพัสดุ ▹ 5. การบารุงรักษาพัสดุ ▹ 6. การจาหน่ายพัสดุ 34 การตรวจสอบภายใน 35 ประเภทของกำรตรวจสอบภำยใน ▹ 1. การตรวจสอบทางการเงิน (Financial Audit) ▹ เป็นการตรวจสอบความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูลและตัวเลขต่าง ๆ ทาง การเงิน การบัญชีและรายงานทางการเงิน เพื่อให้มั่นใจว่าข้อมูลที่บันทึกมี ความถูกต้อง เชื่อถือได้ ▹ 2. การตรวจสอบการดาเนินงาน (Performance Audit) ▹ เป็นการตรวจสอบผลการดาเนินงานว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมายที่กาหนดไว้ในแผนงบประมาณหรือไม่ โดยคานึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่า และให้ความสาคัญกับผลงานที่เกิดขึ้นทั้งในเชิง ปริมาณ คุณภาพ และการใช้ทรัพยากรภายใต้ระยะเวลาที่กาหนด 36 ประเภทของกำรตรวจสอบภำยใน (ต่อ) ▹ 3. การตรวจสอบการบริหาร (Management Audit) ▹ เป็นการตรวจสอบประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริหารงานขององค์การ ด้านการวางแผน การควบคุม และการประเมินผลการงบประมาณ การเงิน การพัสดุและทรัพย์สิน รวมทัง้ การบริหารงานด้านต่าง ๆ เพื่อให้การบริหาร จัดการเป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีในเรื่อง ความน่าเชื่อถือ ความรับผิดชอบ ความเป็นธรรม และความโปร่งใส ▹ 4. การตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อกาหนด (Compliance Audit) ▹ เป็นการตรวจสอบการปฏิบัติงานขององค์การว่าได้ดาเนินการตามระเบียบ กฎเกณฑ์ และกฎหมายที่กาหนดไว้หรือไม่ เพื่อให้การบริหารงบประมาณ การเงิน และพัสดุเป็นไปอย่างถูกต้องโปร่งใส 37 ประเภทของกำรตรวจสอบภำยใน (ต่อ) ▹ 5. การตรวจสอบระบบงานสารสนเทศ (Information System Audit) ▹ เป็นการตรวจสอบความถูกต้องและเชื่อถือได้ของข้อมูลที่ได้จากการ ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ รวมทัง้ การตรวจสอบระบบการรักษาความ ปลอดภัยในการปรับปรุงแก้ไขข้อมูล เพื่อป้องกันความผิดพลาดและความ เสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับองค์การ ▹ 6. การตรวจสอบพิเศษ (Special Audit) ▹ เป็นการตรวจสอบในกรณีท่ไี ด้รับมอบหมายจากผู้บริหาร หรือกรณีที่มีการ ทุจริตหรือการกระทาที่สอ่ ไปในทางทุจริต ซึ่งผู้ตรวจสอบภายในจะ ดาเนินการตรวจสอบเพื่อค้นหาสาเหตุ ข้อเท็จจริง ผลเสียหายหรือ ผู้รับผิดชอบ พร้อมทั้งเสนอแนะมาตรการในการป้องกันแก้ไขไม่ให้เกิด ข้อผิดพลาดขึ้นอีก 38 ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนตรวจสอบภำยใน 1 2 3 การวางแผน การปฏิบัตงิ าน การจัดทารายงาน ตรวจสอบ ตรวจสอบ และติดตามผล คำถำมทบทวน ▸ 1. การบริหารงานวิชาการเพื่อคุณภาพและความเป็นเลิศมีหลักการ กระบวนการ และวิธีการอย่างไร ▸ 2. อธิบายบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษาตามกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ที่กาหนดในกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ▸ 3. อธิบายหลักและกระบวนการที่ต้องคานึงถึงในการบริหารงานงบประมาณ การเงิน และพัสดุ พร้อมวิธีการบริหารให้มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ 40 ขอบคุณ ถาม-ตอบประเด็นข้อสงสัย 41

Use Quizgecko on...
Browser
Browser