Thai Language for Communication, Skills of Listening PDF
Document Details
Uploaded by CreativeTin2914
Kasetsart University
Tags
Summary
These notes on listening skills in Thai language for communication. They cover different types of listening and listening strategies.
Full Transcript
บทที่ 4 การพัฒนาทักษะการรับสาร 1 ทักษะการฟง 2 ทักษะการอาน บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง สารบาญบทที่ 4 บทที่ 4 การพัฒนาทักษะการรับสาร: ทักษะการฟง 1.1 การฟ...
บทที่ 4 การพัฒนาทักษะการรับสาร 1 ทักษะการฟง 2 ทักษะการอาน บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง สารบาญบทที่ 4 บทที่ 4 การพัฒนาทักษะการรับสาร: ทักษะการฟง 1.1 การฟงตามขั้นตอนของ การฟงอยางมีประสิทธิภาพ 1.2 การฟงตามประเภทของการสื่อสาร 1.3 การฟงสารจากบุคคลและจากสือ่ อิเล็กทรอนิกส 1.4 การฟงสารตามวัตถุประสงค บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง 1. ทักษะการฟง การฟง หมายถึง การรับรูความหมายของ เสียงที่ไดยิน เปนการรับสารทางโสตประสาท และ ใชสติปญญาพิจารณาเสียงนั้น แลวทําความเขาใจ จับสาระสําคัญ ตีความ ไตรตรองเรื่องที่ไดฟงจน นําไปประยุกตใชใหเกิดประโยชน ทุกคนควรฝกฝนการฟงใหเกิดความชํานาญ จนมีทักษะการฟงที่มีประสิทธิภาพ บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง 1.1 การฟงตามขั้นตอนอยางมีประสิทธิภาพ 1.1.1 ขั้นตอนการฟงอยางมีประสิทธิภาพ มี 6 ขั้นตอน 01 เขาใจเรื่อง จับประเด็น 02 03 วิเคราะห 04 ตีความเรื่อง ประเมินคา 05 บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง นําไปใช 06 ขั้นตอนการฟงอยางมีประสิทธิภาพ 1.ผูฟงเขาใจเรื่อง:ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทําไม อยางไร 2.ผูฟงจับประเด็นสําคัญของเรื่อง เพื่อหาเนื้อหาหลักและ เนื้อหารอง 3.ผูฟงวิเคราะหเรื่อง เพื่อหาความจริง/ความเท็จ/อารมณ- ความรูสึก 4.ผูฟงตีความเรื่อง เพื่อหาวัตถุประสงคและเจตนาที่แทจริง 5.ผูฟงประเมินคาเรื่อง เพื่อหาความนาเชื่อถือ 6.ผูฟง นําเนื้อหาขอคิดที่ไดจากเรื่องที่ฟงไปใชประโยชน บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง 01999021Thai Language for Communication ทักษะการฟัง ฝกการฟงตามขั้นตอนการฟงอยางมีประสิทธิภาพจากคลิปนี้ https://www.youtube.com/watch?v=UfE_qyy_eNg 01999021Thai Language for Communication ทักษะการฟัง 1.1 การฟงตามขั้นตอนอยางมีประสิทธิภาพ (ตอ) 1.1.2 ขอปฏิบัติเพื่อใหเกิดการฟงอยางมีประสิทธิภาพ 1 กําหนดจุดมุงหมาย ก่ อนการฟัง 2 ลักษณะการฟงจากบุคคล หรือสื่อ 3 เตรียมความรู 4 เลือกที่นั่ง บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง 5 เตรียมอุปกรณ และเตรียมตัว 1.1 การฟงตามขั้นตอนอยางมีประสิทธิภาพ (ตอ) ขณะฟง 1 ตั้งใจฟง ทําความเขาใจ และจับใจความ 2 มีสมาธิ จดจอ และใชสติปญ ญาคิดตามตั้งแตตนจนจบ 3 มีมารยาท 4 มีปฏิสัมพันธกับผูพูด 5 วางใจเปนกลาง 6 จดสาระสําคัญ บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง 1.1 การฟงตามขั้นตอนอยางมีประสิทธิภาพ (ตอ) หลังฟง 1 ทบทวนเรื่องที่บันทึก เติมเต็มใหสมบูรณ 2 พิจารณาเรื่องราวที่ไดฟง ไปประยุกตใช 3 สนทนาแลกเปลี่ยนความรูความคิดที่ไดฟง บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง สารบาญบทที่ 4 บทที่ 4 การพัฒนาทักษะการรับสาร: ทักษะการฟง 1.1 การฟงตามขั้นตอนของการฟงอยางมี ประสิทธิภาพ 1.2 การฟงตามประเภทของการ สื่อสาร 1.3 การฟงสารจากบุคคลและจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส 1.4 การฟงสารตามวัตถุประสงค 1.2 การฟงตามประเภทของสาร 1.2.1 การฟงสารประเภทใหความรู 1 ควรฟงตั้งแตตนจนจบเรื่อง กรณีเรื่องราวใหความรูทั่วไป ควรจับประเด็นวา สารนั้นใหความรูเรื่องอะไร มีกี่ประเด็น อะไรบาง กรณีเรื่องราวขาวสารเหตุการณ ควรจับประเด็นวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร เมื่อไร ทําไม 2 ใชสติปญ ญาไตรตรองในดานความสมเหตุสมผล ความนาเชื่อถือ และคุณคา 3 จดบันทึกสาระสําคัญ บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง 1.2 การฟงตามประเภทของสาร (ตอ) 1.2.2 การฟงสารประเภทโนมนาวใจ 1 ควรฟงตั้งแตตนจนจบเรื่อง 2 วิเคราะหเนื้อหาเกี่ยวกับ ขอเท็จจริง ขอคิดเห็น เหตุผล ขอปฏิบัติที่ใหผูรับสารปฏิบัติ 3 พิจารณาความสมเหตุสมผล และความนาเชื่อถือ 4 ไตรตรองขอปฏิบัตินั้นถูกตอง เหมาะสมหรือไม สมควรคิดตาม ปฏิบัตติ ามหรือไม 5 ผูสงสารใชวิธีการใดโนมนาวใจ 6 ใชวิจารณญาณตัดสินใจปฏิบัติตามหรือไม อยางไร บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง 1.2 การฟงตามประเภทของสาร (ตอ) 1.2.3 การฟงสารประเภทจรรโลงใจ 1 ตั้งใจฟงตั้งแตตนจนจบ 2 กรณีสารจรรโลงใจ เชน พระธรรมเทศนา พระบรมราโชวาท ควรมีสมาธิขณะฟง ตีความเนื้อหา พิจารณาแนวคิดและขอปฏิบตั ิ 3 กรณีสารจรรโลงใจ เชน เพลง นิทาน บทรอยกรอง ควร จินตนาการตา ถอยคําภาษาและเนื้อหา ตีความเนื้อหา พิจารณาสาระและแนวคิด นําไปสูการปฏิบัติ 4 ใชวิจารณญาณสารที่ฟงกอนนําไปปฏิบตั ิ บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง สารบาญบทที่ 4 บทที่ 4 การพัฒนาทักษะการรับสาร: ทักษะการฟง 1.1 การฟงตามขั้นตอนของการฟงอยางมี ประสิทธิภาพ 1.2 การฟงตามประเภทของการสื่อสาร 1.3 การฟงสารจากบุคคลและจาก สื่ออิเล็กทรอนิกส 1.4 การฟงสารตามวัตถุประสงค บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง 1.3 การฟงสารจากบุคคลและสื่ออิเล็กทรอนิกส 1.3.1 ประโยชน (1) รับรูเรื่องราว (2) ทันโลก ทันเหตุการณ (3) ไดความรูทางวิชาการ (4) ไดความบันเทิงใจ (5) ไดรับคติชีวิต (6) เกิดความคิดริเริ่ม (7) ไดแนวทางแกไขปญหา (8) เกิดสัมพันธภาพที่ดี (9) ไดพัฒนาบุคลิกภาพ คุณภาพชีวิต และจิตใจ บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง 1.3 การฟงสารจากบุคคลและสื่ออิเล็กทรอนิกส (ตอ) 1.3.2 ขอแนะนํา (1) กอนฟง (1.1) กําหนดจุดมุงหมาย (1.2) ทําความเขาใจขั้นตอนการฟงอยางมีประสิทธิภาพ (1.3) เลือกสารที่ตองการฟง หรือ บางกรณีตองฟงสารตามหนาที่ (1.4) ควรใชวิจารณญาณในการเลือกฟงสาร (1.5) ควรฟงสารทุกประเภท ทั้งนี้ควรแบงเวลาในการฟงสารแตละ ประเภทอยางเหมาะสม บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง 1.3 การฟงสารจากบุคคลและสื่ออิเล็กทรอนิกส (2) ขณะฟง (2.1) มีความพรอมทั้งทางรางกาย จิตใจ และสติปญญา (2.2) สนใจฟง และคิดตาม (2.3) มีสมาธิ (2.4) วางใจเปนกลาง ฟงอยางมีเหตุผล (2.5) ฟงตั้งแตตนจนจบ (2.6) ใชวิจารณญาณในการตัดสินใจ 1.3 การฟงสารจากบุคคลและสื่ออิเล็กทรอนิกส (ตอ) (2.7) ขอควรคํานึงเฉพาะกรณี อาทิ ฟงจากบุคคลซึ่งเปนผูสงสาร โดยตรง ผูฟงควรมีปฏิกริ ยิ าตอบสนอง หากมีขอสงสัยใหซักถาม บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง 1.3 การฟงสารจากบุคคลและสื่ออิเล็กทรอนิกส (ตอ) หากฟงผานสื่อโทรศัพท ผูฟงตองตั้งใจฟงและทําความ เขาใจเรื่องที่ผูพูดกลาวมา เพื่อ โตตอบและทําตามความ ประสงคของผูสงสาร บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง 1.3 การฟงสารจากบุคคลและสื่ออิเล็กทรอนิกส (ตอ) กรณีฟงผานสื่อโทรทัศน หรือ วิทยุกระจายเสียง ผูฟงตอง ตั้งใจฟง เขาใจเรื่อง จับประเด็น ตีความ ประเมินคา และใช วิจารณญาณอยางรอบคอบ กอนตัดสินใจ บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง 1.3 การฟงสารจากบุคคลและสื่ออิเล็กทรอนิกส (3) หลังฟง (3.1) ซักถามหากมีขอ สงสัย (กรณีฟงจากบุคคล) (3.2) จดบันทึกสาระสําคัญ (3.3) คนควาเพิ่มเติม (กรณีฟงความรูผานสื่ออิเล็กทรอนิกส) (3.4) ประเมินผลการฟงของตน พิจารณาระดับความสามารถในการฟง ของตนเพื่อพัฒนาตอไป บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง สารบาญบทที่ 4 บทที่ 4 การพัฒนาทักษะการรับสาร: ทักษะการฟง 1.1 การฟงตามขั้นตอนของการฟงอยางมี ประสิทธิภาพ 1.2 การฟงตามประเภทของการสื่อสาร 1.3 การฟงสารจากบุคคลและจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส 1.4 การฟงสารตามวัตถุประสงค บทเรียนที่ 10 ทักษะการฟง 1.4 การฟงสารตามวัตถุประสงค 1.4.1 การฟงสารเพื่อรับขอมูล มีขอแนะนําดังนี้ 1 กําหนดวัตถุประสงค 2 ตั้งใจฟงอยางมีสมาธิ ตั้งแตตนเรื่องจนจบเรื่อง 3 ปฏิบัติตามคําแนะนําการฟงสารแตละประเภท 4 วางใจเปนกลาง เปดใจกวาง 5 บันทึกสาระสําคัญ 6 สอบถามเมื่อมีขอสงสัย 1.4 การฟงสารตามวัตถุประสงค (ตอ) 1.4.2 การฟงสารเพื่อรับคําสั่ง สวนประกอบของคําสั่งมี 4 สวน ไดแก ขอความที่เปนคําสั่ง รายละเอียดประกอบ ที่มาของคําสั่ง และวัตถุประสงคของคําสั่ง ขอ (1) ทําความเขาใจวัตถุประสงค แนะ นํา (2) ตั้งใจฟงโดยตลอด (3) จับประเด็นสําคัญตามสวนประกอบของคําสั่ง (4) ปราศจากอคติ เขาใจบทบาทและหนาที่ (5) ควรซักถามหากไมเขาใจหรือตองการขอมูลเพิ่มเติม (6) ทบทวนใหเขาใจตรงกัน ระหวางผูสั่งกับ ผูรับคําสั่ง 1.4 การฟงสารตามวัตถุประสงค (ตอ) 1.4.3 การฟงสารเพื่อรายงานใหผูอื่นทราบ 1 ทําความเขาใจจุดประสงคของการฟง 2 จับประเด็นสําคัญตามลักษณะของสาร กรณีสารบอกเลา สารคําสั่ง สารคําถาม สารปฏิเสธ และสารขอรอง 3 ฟงอยางมีสมาธิโดยตลอด และเขาใจ บทบาทหนาที่ของตนในฐานะสื่อบุคคลที่ ถายทอดเรื่องราวไปยังผูรบั สารตาม ความประสงคของผูสงสาร