บทที่ 3 ระบบโครงร่าง (The Skeletal System) PDF

Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

Document Details

InstructiveDiscernment8731

Uploaded by InstructiveDiscernment8731

วรรณี ศรีวิลัย

Tags

anatomy skeletal system human body biology

Summary

เอกสารนีเ้ ป็นบททีส่ าม เรื่องระบบโครงร่าง (The Skeletal System) ทีอ่ ธบิ ายหน้าทีแ่ ละส่วนประกอบตา่ งๆ ของระบบโครงร่าง โดยมีการอธิบายถึงการจาแนกประเภทของกระดูก และตาแหน่ งในร่างกาย

Full Transcript

บทที่ 3 ระบบโครงร่าง (The Skeletal System) อ.วรรณี ศรีวิลยั จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบาหน้าทีข่ องระบบโครงร่างได้ 2. จาแนกกระดูกแกนกลางและกระดูกระ...

บทที่ 3 ระบบโครงร่าง (The Skeletal System) อ.วรรณี ศรีวิลยั จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบาหน้าทีข่ องระบบโครงร่างได้ 2. จาแนกกระดูกแกนกลางและกระดูกระยางศ์ได้ 3. บอกชื่อและลักษณะของกระดูกทีส่ าคัญในร่างกายได้ 4. อธิบายความสัมพันธ์และตาแหน่งของกระดูกแต่ละชนิดได้ 5. อธิบายโครงสร้างของข้อต่อชนิดต่างๆ ได้ หน้ าที่และส่วนประกอบของระบบโครงร่าง ระบบโครงร่างประกอบด้วย กระดูก กระดูกอ่อน เอ็น และเนื้อเยื่อเกีย่ วพันอื่นๆ ทีช่ ่วยยึด กระดูก ทาหน้าทีร่ บั น้าหนักของร่างกาย ทางานร่วมกับกล้ามเนื้อในการควบคุมท่าทางและการ เคลื่อนไหวของร่างกาย สรุปหน้าทีห่ ลักได้ดงั นี้ 1. พยุงและรองรับอวัยวะภายในร่างกาย 2. สะสมแคลเซียมและพลังงานในรูปของไขมันที่ yellow bone marrow 3. ผลิตเซลล์เม็ดเลือด ทัง้ เม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดแดง และส่วนประกอบอื่นๆ ของเลือดที่ red bone marrow 4. ป้ องกันอันตรายแก่อวัยวะภายใน เช่น ซีโ่ ครงช่วยป้ องกันอันตรายจากภายนอกต่อหัวใจ และปอด กะโหลกศีรษะช่วยห่อหุม้ สมอง และกระดูกสันหลังช่วยป้ องกันไขสันหลัง เป็ น ต้น 5. เป็ นทีย่ ดึ เกาะของกล้ามเนื้อ และทางานร่วมกับกล้ามเนื้อทาให้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆของ ร่างกายได้ เนื้อเยื่อวิทยาของกระดูกและกระดูกอ่อนให้ดูรายละเอียดในหัวข้อเซลล์และเนื้อเยื่อ 3 - 1 - 41 ชนิ ดของกระดูก กระดูกจาแนกเป็ นหลายชนิดตามความแตกต่างของลักษณะโครงสร้าง ลักษณะการเกิดและ รูปร่างของกระดูกดังนี้ (ตาราง 3.1) ตาราง 3.1 ชนิด ลักษณะ และตัวอย่างของกระดูกชนิดต่าง ๆ ชนิด ลักษณะ ตัวอย่าง 1.จาแนกตามลักษณะ โครงสร้าง 1.1 Compact bone - มี lamella เรียงตัวกันแน่นเป็ นชัน้ ๆ อย่างมีระเบียบเป็ น - ผิวนอกกลางๆ harversian system ทาให้ทบึ และแข็งแรง ท่อนของกระดูก ทัวไป ่ 1.2 Spongy bone - มี lamella ทีเ่ รียงตัวกันหลวมๆ ไม่เป็ นระเบียบ มี - กระดูกตอนหัว ช่องว่างมาก ทาให้พรุนคล้ายฟองน้า และมีลกั ษณะเบา ท้ายและภายใน ของกระดูกทัวไป ่ 2.จาแนกตามลักษณะการ เกิด 2.1 Membrane bone - กระดูกทีเ่ กิดเป็ นแผ่นเยื่อบางๆก่อน แล้วมีเกลือ - กระดูกกะโหลก แคลเซียมมาสะสม ศีรษะ 2.2 Cartilage bone - กระดูกทีเ่ กิดแทนทีก่ ระดูกอ่อน โดยตอนแรกเกิดเป็ น - กระดูกแขนและ hyaline cartilage ก่อน แล้วมีเกลือแคลเซียมมาสะสม ขา 3.จาแนกตามรูปร่าง 3.1 Long bone - มีรปู ร่างเป็ นท่อนยาว ทาหน้าทีร่ องรับน้าหนัก และ เคลื่อนไหวแบ่งเป็ น 3 ท่อนคือ ตอนกลาง เรียกว่า shaft - กระดูกแขน ขา หรือ diaphysis ประกอบด้วย compact bone ตอนปลาย ไหปลาร้า หัวท้ายเรียกว่า epiphysis ประกอบด้วย spongy bone เป็ นส่วนใหญ่ และมี compact bone หุม้ อยู่ขา้ งนอก และ ส่วนปลายมีขนาดใหญ่กว่าส่วนอื่น สาหรับให้เอ็นของ กล้ามเนื้อยึดเกาะ บริเวณรอยต่อระหว่าง diaphysis และ epiphysis เรียกว่า metaphysis 3 - 2 - 41 ตาราง 3.1 (ต่อ) ชนิด ลักษณะ ตัวอย่าง 3.2 Short bone - มีรปู ร่างเป็ นท่อนสัน้ ๆ อยูต่ าม - กระดูกข้อมือ ข้อเท้า ร่างกายส่วนทีแ่ ข็งแรงแต่เคลื่อนไหว น้อย ประกอบด้วย spongy bone เป็ น ส่วนใหญ่ และมี compact bone หุม้ อยู่ ข้างนอกบางๆ 3.3 Flat bone - มีรปู ร่างแบน เพื่อป้ องกันอวัยวะทีอ่ ยู่ - กระดูกกะโหลกศีรษะ เชิงกราน อก ภายในหรือเป็ นทีเ่ กาะของกล้ามเนื้อ ซีโ่ ครง 3.4 Irregular bone - องค์ประกอบเหมือน short bone - กระดูกสันหลัง กระดูกแก้ม มีรปู ร่างต่างๆกันไป เพื่อให้เหมาะสม กับส่วนต่างๆของร่างกาย การจาแนกกระดูกตามตาแหน่ งที่อยู่ของร่างกาย กระดูกในร่างกายมีทงั ้ หมด 206 ชิน้ (ตาราง 3.2, ภาพ 3.1) จาแนกตามตาแหน่งทีอ่ ยู่เป็ น 2 ส่วน คือ 1. กระดูกแกนกลาง (axial skeleton) คือกระดูกทีอ่ ยู่บริเวณแกนกลางของลาตัวจานวน 80 ชิน้ ได้แก่ กะโหลกศีรษะและกระดูกอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง (skull and associated bones) กระดูกทีป่ ระกอบ เป็ นผนังอก (thoracic cage) และกระดูกสันหลัง (vertebral column) 2. กระดูกระยางศ์ (appendicular skeleton) คือ กระดูกทีย่ ่นื ออกจากแกนกลางของลาตัว จานวน 126 ชิน้ ได้แก่ กระดูกแขน (upper limb) และกระดูกขา (lower limb) 3 - 3 - 41 ตาราง 3.2 จานวนกระดูกในร่างกาย (206 ชิ้ น) กระดูกแกนกลาง (axial skeleton) (80 ชิ้ น) กระดูกระยางศ์ (appendicular skeleton) (126 ชิ้ น) 1. กะโหลกศีรษะและกระดูกอื่นที่เกี่ยวข้อง 1.กระดูกระยางศ์ค่บู น (64) (29) 1.1 กระดูกไหปลาร้า (2) 1.1 กะโหลกศีรษะ (22) 1.2 กระดูกสะบัก (2) 1.1.1 กะโหลกสมอง (8) 1.3 กระดูกต้นแขน (2) 1.1.2 กระดูกหน้า (14) 1.4 กระดูกปลายแขนอันใน (2) 1.2 กระดูกอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง (7) 1.5 กระดูกปลายแขนอันนอก (2) 1.2.1 กระดูกหู (6) 1.6 กระดูกข้อมือ (16) 1.2.2 กระดูกโคนลิ้น (1) 1.7 กระดูกฝ่ ามือ (10) 2. กระดูกที่ประกอบเป็ นผนังทรวงอก (25) 1.8 กระดูกนิ้วมือ (28) 2.1 กระดูกอก (1) 2.กระดูกระยางศ์ค่ลู ่าง (62) 2.2 กระดูกซีโ่ ครง (24) 2.1 กระดูกสะโพก (2) 3. กระดูกสันหลัง (25) 2.2 กระดูกต้นขา (2) 3.1 กระดูกสันหลังระดับคอ (7) 2.3 กระดูกสะบ้า (2) 3.1 กระดูกสันหลังระดับอก (12) 2.4 กระดูกปลายขาอันใน (2) 3.1 กระดูกสันหลังระดับเอว (5) 2.5 กระดูกปลายขาอันนอก (2) 3.1 กระดูกสันหลังระดับก้น (1) 2.6 กระดูกข้อเท้า (14) 3.1 กระดูกสันหลังระดับก้นกบ (1) 2.7 กระดูกฝ่ าเท้า (10) 2.8 กระดูกนิ้วเท้า (28) 3 - 4 - 41 ภาพ 3.1 กระดูกทีป่ ระกอบเป็ นโครงร่างของร่างกาย (ด้านหน้า) แหล่งที่มา : Tortora, G.J., Introduction to the Human Body, (California : An Imprint of Addison Wesley Longman, Inc, 1996) p. 109 3 - 5 - 41 กระดูกแกนกลาง (axial skeleton) 1. กะโหลกศีรษะ (skull) กะโหลกศีรษะประกอบด้วยกะโหลกสมอง (cranium) และกระดูกหน้า (the facial skeleton) ภายในกะโหลกสมองจะมีสมองบรรจุอยู่ 1.1 กะโหลกสมอง (cranium) กะโหลกสองประกอบด้วยกระดูกสาคัญ 8 ชิ้น คือ กระดูกหน้าผาก (frontal bone) 1 ชิน้ กระดูกข้างศีรษะ (parietal bone) 2 ชิน้ กระดูกขมับ (temporal bone) 2 ชิน้ กระดูกท้ายทอย (occipital bone) 1 ชิ้น กระดูกรูปผีเสือ้ (Sphenoid) 1 ชิน้ และกระดูกใต้สนั จมูก (ethmoid) 1 ชิน้ กระดูกเหล่านี้จะเชื่อมต่อกันสนิทด้วยรอยต่อ (Sutures) ทีแ่ ข็งแรงดังนี้ - Coronal suture เป็ นรอยต่อระหว่าง frontal bone และ parietal bone - Sagittal suture เป็ นรอยต่อระหว่าง parietal bone 2 ชิน้ - Lambdoid suture เป็ นรอยต่อระหว่าง occiptal bone และ parietal bone - Frontal หรือ metopic suture เป็ นรอยต่อระหว่าง frontal bone ในเด็กแรกเกิด cranium แต่ละชิน้ ยังไม่เชื่อมติดกันหมด เรียกบริเวณทีย่ งั บรรจบกันไม่สนิท ว่ากระหม่อม (fontanel) ซึง่ จะมีเยื่อบาง ๆ ปิ ดอยู่ มีประโยชน์ในการคลอดกล่าวคือช่วยให้ศรี ษะเด็ก เกยกัน ทาให้มขี นาดเล็กลงในขณะคลอดจึงคลอดง่าย บริเวณนี้จะเห็นว่าเต้นได้ เนื่องจากเมื่อเลือด ไปเลีย้ งสมองไหลผ่านจะดันน้าไขสันหลังทีห่ ล่อสมอง ทาให้เยื่อทีบ่ ุ fontanel โป่ งขึน้ ได้ นอกจากนี้ยงั ช่วยให้กะโหลกศีรษะสามารถขยายออกตามการเจริญเติบโตของสมองซึง่ มีมากทีส่ ุดในระยะ 2 ปี แรก หลังคลอด การประยุกต์ใช้ทางคลิ นิก ถ้า fontanels ปิ ดเร็วกว่าปกติจะทาให้กะโหลกศีรษะมีขนาดเล็กเรียกว่า microcephalus และ ถ้ามีน้ าในกะโหลกศีรษะมากจะดัน fontanel มีผลให้กระดูกไม่เชื่อมติดกัน ศีรษะจึงมีขนาดใหญ่ เรียกว่า hydrocephalus Fontanels ทีส่ าคัญมีดงั นี้ (ภาพ 3.2) - Anterior fontanel คือบริเวณที่ coronal suture มาบรรจบกับ sagittal suture ไม่สนิทเป็ น fontanel ทีม่ ขี นาดใหญ่สุดจะติดกันสนิทเมื่ออายุประมาณหนึ่งปี ถงึ หนึ่งปี ครึง่ และเมื่อเชื่อมกันสนิทจะ เรียกบริเวณนี้ว่า bregma ในทารก fontanel นี้ช่วยในการวินิจฉัยภาวะความดันในสมองสูงได้ กล่าวคือจะมีความตึงตัวมากเมื่อเกิดภาวะนี้ - Posterior fontanel คือบริเวณที่ sagittal suture กับ lambdoid suture มาต่อกันไม่สนิท โดยจะปิ ดเมื่ออายุประมาณ 2-6 เดือน และเมื่อปิ ดแล้วจะเรียกบริเวณนี้ว่า lambda - Anterolateral fontanels คือบริเวณที่ frontal bone, parietal bone, temporal bone และ sphenoid มาเชื่อมกันไม่สนิท โดยจะเชื่อมกันสนิทเมื่ออายุประมาณ 3 เดือน และเมื่อปิ ดแล้วจะเรียก บริเวณนี้ว่า pterion มี 2 แห่งข้างซ้ายและขวา 3 - 6 - 41 การประยุกต์ใช้ทางคลิ นิก Pterion เป็ นบริเวณทีส่ าคัญ เพราะเป็ นบริเวณทีบ่ างมากของกะโหลกศีรษะ และตรงบริเวณ นี้ทางด้านในของกะโหลกศีรษะจะมีแขนงของเส้นเลือด middle meningeal artery ทอดผ่าน ถ้า บริเวณนี้ได้รบั อันตรายอาจทาให้เส้นเลือดแตกและเกิดภาวะเลือดคังในสมองได้ ่ - Posterolateral fontanels คือบริเวณที่ parietal bone, occipital bone และ temporal bone มาเชื่อมกันไม่สนิท โดยจะเชื่อมกันสนิทเมื่ออายุประมาณ 2 ปี และเมื่อปิ ดแล้วจะเรียกบริเวณนี้ว่า asterion ภาพ 3.2 กะโหลกศรีษะทารกแรกเกิดด้านบนและด้านข้างแสดง fontanels ชนิดต่าง ๆ แหล่งที่มา: Tortora,G.J., Introduction to the Human Body, (California: An Imprint of Addison Wesley Longman, Inc., 1985) P. 117 ลักษณะของกระดูกที่ประกอบเป็ นกะโหลกสมองแต่ละชิ้ น 1.กระดูกหน้ าผาก (frontal bone) (ภาพ 3.3) เป็ นแผ่นเรียบนูนขนาดใหญ่ ทางด้านหน้า ประกอบเป็ นขอบบนของเบ้าตา และมีลกั ษณะเป็ นสันโค้งซึง่ เป็ นสันค่อนข้างคม เรียกว่า superciliary arch ถ้าชนบริเวณนี้อาจก่อให้เกิดการฉีกขาดของผิวหนังทาให้เลือดออกได้ ภายในกระดูกนี้ทางด้าน หน้าเหนือขอบตาจะมีโพรงอากาศอยู่ เรียกว่า frontal sinus โพรงนี้มที างติดต่อกับช่องจมูก จึงทา ให้มกี ารอักเสบเกิดขึน้ ได้เมื่อเป็ นหวัด ทีม่ ุมนอกด้านบนของเบ้าตามีแอ่งเว้าเรียกว่า lacrimal fossa เป็ นทีอ่ ยู่ของต่อมน้าตา (lacrimal gland) Frontal bone มีสว่ นต่อกับกระดูกหลายชิน้ ดังนี้ ด้านบน ต่อกับ parietal bone ด้านหน้าต่อกับ nasal bone, zygomatic bone, maxillary bone, lacrimal bone, sphenoid และ ethmoid 3 - 7 - 41 (A) กะโหลกศีรษะด้านข้าง (B) กะโหลกศีรษะด้านหลัง (C) กะโหลกศีรษะด้านบน ภาพ 3.3 กะโหลกศีรษะ ด้านข้าง (A) ด้านหลัง (B) และด้านบน (C) แหล่งที่มา: Martini,F.H., Fundamental of Anatomy & Physiology, (Sanfrancisco: Pearson Education, Inc., 2004) P. 213 3 - 8 - 41 2.กระดูกข้างศีรษะ (parietal bone) มีลกั ษณะเป็ นแผ่นต่อกันเองทางด้านบน ด้านหลัง ต่อกับกระดูกท้ายทอย ด้านหน้าต่อกับกระดูกหน้าผาก และด้านล่างต่อกับกระดูกขมับ (ภาพ 3.3) 3. กระดูกขมับ (temporal bone) (ภาพ 3.3-3.4) มี 2 อันประกอบเป็ นด้านข้างและด้าน ฐานของกะโหลกศีรษะ มีสว่ นต่อกับ parietal bone, occipital bone, sphenoid, และ zygomatic bone แต่ละอันประกอบด้วยส่วนต่างๆ 4 ส่วน ดังนี้ 3.1 Squamous part คล้ายพัด ส่วนล่างมีแง่เรียกว่า zygomatic process ยื่นไปติดกับ กระดูกแก้ม 3.2 Petrous part คล้ายสามเหลีย่ มภายในมีอวัยวะเกีย่ วกับการได้ยนิ ระหว่าง squamous และ petrous part มีบ่อเรียกว่า mandibular fossa สาหรับให้ condyle ของกระดูก ขากรรไกรล่าง (mandible) ไปสวม อยู่หน้าต่อช่องหูเรียกว่า temporo - mandibular joint ข้อต่อนี้ ถ้าอ้าปากกว้างๆ อาจเลื่อนออกมาด้านหน้าได้ ทาให้ขากรรไกรค้าง 3.3 Mastoid part คล้ายเจดีย์ ยื่นลงมาข้างล่างหลังช่องหูและใบหู ภายในมีรพู รุน เรียกว่า mastoid sinuses ซึง่ มีทางติดต่อกับหูชนั ้ กลาง ดังนัน้ จึงเกิดการอักเสบได้เมื่อหูอกั เสบ เรียกว่า mastoiditis หนองอาจทะลุกระดูกเข้าสูเ่ ยื่อหุม้ สมอง ทาให้เยื่อหุม้ สมองอักเสบได้ (meningitis) 3.4 Tympanic part เป็ นแผ่นโค้งอยู่ใต้ squamous part อยู่หน้า mastoid process เป็ น ส่วนของช่องหู พืน้ ล่างมีแง่ยาวเรียกว่า styloid process 4. กระดูกท้ายทอย (occipital bone) ประกอบเป็ นส่วนฐานและส่วนหลังของกะโหลกศีรษะ ส่วนกึง่ กลางตอนล่างมีช่องเปิ ดรูปไข่ขนาดใหญ่ เรียกว่า foramen magnum เป็ นตาแหน่งที่ medulla oblongata ต่อกับไขสันหลัง (spinal cord) เป็ นบริเวณทีเ่ ส้นเลือด และเส้นประสาทผ่านเข้าออก (ภาพ 3.3-3.4) ใกล้กบั foramen magnum ทางด้านข้างมีรอยนูน 2 อัน เรียกว่า occipital condyles เป็ น ส่วนทีต่ ่อกับกระดูกสันหลังระดับคออันที่ 1 คือกระดูก atlas เรียกข้อต่อนี้ว่า atlanto - occipital joint ข้อต่อนี้ทาให้เราสามารถก้มศีรษะขึน้ ลงได้ 5. กระดูกรูปผีเสื้อ (sphenoid ) คล้ายผีเสือ้ เป็ นฐานของกะโหลกศีรษะ มีสว่ นต่อกับกระดูก 8 ชิน้ คือ frontal bone, parietal bone, temporal bone, occipital bone, vomer, zygomatic bone, palatine bone และ ethmoid ถ้าผ่ากะโหลกตามขวางจะพบส่วนประกอบต่างๆ คือ (ภาพ 3.3-3.4) 5.1 ส่วนลาตัว (body) อยู่ตอนกลาง พืน้ ผิวด้านบนเป็ นแอ่งเรียกว่า hypophyseal fossa ซึง่ เป็ นทีอ่ ยู่ของต่อมใต้สมอง (hypophyseal gland หรือ pituitary gland) ใต้แอ่งนี้มลี กี ษณะเป็ นโพรง อากาศเรียกว่า sphenoidal sinuses ซึง่ มีทางติดต่อกับช่องจมูกเช่นเดียวกัน frontal sinus 5.2 ส่วนปี กใหญ่ (greater wing) แผ่ออกจากส่วนลาตัวไปทางด้านข้าง 5.3 ส่วนปี กเล็ก (lesser wing) แผ่ออกจากส่วนลาตัวไปทางด้านข้างเช่นกัน แต่มขี นาด เล็กกว่าและอยู่เหนือปี กใหญ่ 5.4 ส่วนขา (pterygoid process) มองเห็นได้ชดั เจนทางด้านล่างของกะโหลกศีรษะ 3 - 9 - 41 (A) ภาพตัดตามยาว (B) ภาพตัดตามขวาง ภาพ 3.4 กะโหลกศีรษะ ตัดตามยาว (A) และตัดตามขวาง (B) แหล่งที่มา: Martini,F.H., Op. Cit., P. 215 3 - 10 - 41 6. กระดูกใต้สนั จมูก (ethmoid) (ภาพ 3.4) เป็ นแผ่นบาง โปร่งพรุน ประกอบด้วย 6.1 Horizontal หรือ cribriform plate ทาหน้าทีเ่ ป็ นหลังคาของจมูก มีรหู ลายรูคล้าย ตะแกรง รูเหล่านี้เป็ นทางผ่านของเส้นประสาทสมองคู่ท่ี 1 (olfactory nerve) ซึง่ ทาหน้าทีร่ บั กลิน่ 6.2 Perpendicular plate เป็ นแผ่นแบนยื่นลงมาในช่องจมูก ในลักษณะตัง้ ฉากกับ horizontal plate ทาหน้าทีเ่ ป็ นผนังกัน้ ช่องจมูก (nasal septum) ส่วนบน 6.3 Labyrinth ประกอบเป็ นส่วนของเบ้าตาและช่องจมูก ภายในมีโพรงเรียกว่า ethmoidal sinus ซึง่ มีสว่ นต่อกับช่องจมูกเช่นกัน 1.2 กระดูกหน้ า (the facial skeleton) (ภาพ 3.5) กระดูกหน้าประกอบด้วยกระดูกต่อไปนี้ nasal bone, vomer, inferior nasal concha , lacrimal bone, zygomatic bone, palatine bone, maxilla และ mandible Nasal bone มี 2 ชิ้น เป็ นกระดูกทีท่ าให้เกิดสันจมูก Vomer มี 1 ชิน้ เป็ นกระดูกทีก่ นั ้ ช่องจมูกทางด้านล่าง มีลกั ษณะเป็ นแผ่นบาง ด้านล่างที่ ติดกับเพดานมีขนาดใหญ่ ด้านบนต่อกับ sphenoid bone มีขนาดเล็ก ถ้ากระดูกชิน้ นี้โค้งจะมีผลให้ ช่องจมูกไม่เท่ากัน Inferior nasal concha มี 2 ชิน้ ลักษณะคล้ายหิง้ ยื่นออกมาจากผนังด้านข้างของช่องจมูก Lacrimal bone มี 2 ชิ้น ลักษณะคล้ายเล็บมืออยู่ทบ่ี ริเวณหัวตา Zygomatic bone มี 2 ชิน้ เป็ นส่วนนูนทีส่ ุดของแก้ม ด้านบนเป็ นส่วนประกอบของเบ้าตาทาง ด้านล่าง ด้านข้างเป็ นแง่ (temporal process) ยื่นไปต่อกับแง่ของ temperal bone (zygomatic process) ด้านในต่อกับกระดูกขากรรไกรบน Palatine bone มี 2 ชิน้ ด้านบนคือส่วนล่างของเบ้าตา ด้านล่างต่อกันเป็ นเพดานปาก Maxilla คือกระดูกขากรรไกรบนมี 2 ชิน้ ต่อกันเองทีบ่ ริเวณด้านหน้าเรียกข้อต่อนี้ว่า intermaxillary suture ถ้ากระดูกทัง้ 2 ชิ้นนี้ไม่ตดิ กันก่อนคลอด จะทาให้เกิดภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ (cleft lip and cleft palate) เด็กอาจมีอนั ตรายจากการสาลักน้าและอาหารเข้าสูท่ างเดินหายใจได้งา่ ย Mandible คือกระดูกขากรรไกรล่าง มี 1 ชิน้ เคลื่อนไหวได้ดปี ระกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ - Body เป็ นส่วนทีเ่ ป็ นทีอ่ ยู่ของฟั นล่าง - Ramus เป็ นส่วนทีย่ ่นื ตรงขึน้ ไปจาก body มี 2 ข้าง แต่ละข้างทีส่ ว่ นปลายจะมีแง่ 2 แง่คอื แง่ทางด้านหลังเรียกว่า condylar process และแง่ทางด้านหน้ามีลกั ษณะแหลมกว่าเรียกว่า coronoid process (ภาพ 3.6) ทางด้านในจะมีรเู รียกว่า mandibular foramen ซึง่ เป็ นทางผ่านของ เส้นเลือดและเส้นประสาททีไ่ ปเลีย้ งฟั นล่าง 3 - 11 - 41 (A) ด้านหน้ า (B) ด้านล่าง ภาพ 3.5 กะโหลกศีรษะทางด้านหน้า (A) และกะโหลกศีรษะทางด้านล่าง (B) แหล่งที่มา: Martini, F.H., Op. Cit., P. 214 3 - 12 - 41 ภาพ 3.6 ลักษณะกระดูกขากรรไกรล่าง แหล่งที่มา: Martini, F.H., Op. Cit., P. 223 กระดูกอื่นๆ ของกะโหลกศีรษะ ได้แก่ กระดูกหู (ear ossicle) ในหูชนั ้ กลางประกอบด้วยกระดูกเล็กๆ 3 ชิน้ คือ ฆ้อน (malleus) ทัง(incus) ่ และโกลน (stapes) จะกล่าวรายละเอียดในเรื่องของหู กระดูกโคนลิ้น (hyoid bone) ลักษณะโค้งคลายตัว U (ภาพ 5.15) ตัง้ อยู่ทโ่ี คนลิน้ เหนือ ลูกกระเดือก ไม่มสี ว่ นต่อกับกระดูกอื่นๆ แบ่งเป็ น 3 ส่วนคือ body คือส่วนทีอ่ ยู่ตรงกลาง เขาเล็ก (lesser cornu) มี 2 เขา และเขาใหญ่ (greater cornu) มี 2 เขาเช่นกัน (ภาพ 3.7) ภาพ 3.7 โครงสร้างของกระดูกโคนลิน้ แหล่งที่มา: Martini, F.H., Op. Cit., P. 223 3 - 13 - 41 2.กระดูกสันหลัง (vertebra) กระดูกสันหลังมีทงั ้ หมด 33 ชิน้ ต่อกันเป็ นท่อนยาว (vertebral column) โดยมีหมอนรอง กระดูก (intervertebral disc) คัน่ เพือ่ ป้ องกันการเสียดสีและลดแรงกระแทก จาแนกกระดูกสัน หลังออกได้ดงั นี้ (ภาพ 3.8) 1. กระดูกสันหลังระดับคอ (cervical vertebra) 7 ชิน้ 2. กระดูกสันหลังระดับอก (thoracic vertebra) 12 ชิน้ 3. กระดูกสันหลังระดับเอว (lumbar vertebra) 5 ชิน้ 4. กระดูกสันหลังระดับก้น (sacral vertebra) 5 ชิน้ (รวมเป็ นชิ้นเดียวเมื่อโต) 5.กระดูกสันหลังระดับก้นกบ (coccygeal vertebra) 4 ชิน้ (รวมเป็ นชิน้ เดียวเมื่อโต) ภาพ 3.8 กระดูกสันหลังระดับต่างๆ แหล่งที่มา: Martini, F.H., Op. Cit., P. 229 ลักษณะทัวไปของกระดู ่ กสันหลัง (ภาพ 3.9) กระดูกสันหลังเป็ น irregular bone ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 1. Body อยู่ทางด้านหน้า ทาหน้าทีร่ บั น้ าหนักตัว 2. Vertebral arch อยู่ทางด้านหลังอยู่ตดิ กับ body ทาหน้าทีป่ ้ องกันอันตรายต่อไขสันหลัง และเส้นประสาทประกอบด้วย 2 ส่วน คือส่วนทีเ่ ป็ นขา (pedicle) 2 อัน และส่วนทีเ่ ป็ นแผ่นบาง ๆ (lamina) 2 อัน 3 - 14 - 41 3. Process คือแง่ทย่ี ่นื ออกมาจาก vertebral arch มีดงั นี้ - Transverse process ยื่นออกมาทางด้านข้างมี 2 แง่ เป็ นทีเ่ กาะของกล้ามเนื้อ - Spinous process (spine) ยื่นออกมาทางด้านหลังในแนวกึง่ กลางมี 1 แง่ เป็ นทีเ่ กาะ ของกล้ามเนื้อเช่นกัน - Articular process ประกอบด้วยแง่ทย่ี ่นื ขึน้ (superior articular process) และแง่ทย่ี ่นื ลง (inferior articular process) อย่างละ 1 คู่ ไปต่อกับกระดูกสันหลังอันทีอ่ ยู่ถดั ขึน้ ไปหรือต่าลงมา ตามลาดับ มีหน้าทีเ่ ป็ นตัวกันไม่ให้กระดูกหลังเคลื่อนไหวในทิศทางทีผ่ ดิ ไปจากแนวของข้อต่อ และ ขัดขวางไม่ให้ตวั กระดูกเคลื่อนทีจ่ ากทีเ่ ดิม 4. Vertebral foramen เป็ นรูขนาดใหญ่ อยู่ตรงกลางระหว่าง body กับ spine ถ้าเอากระดูก สันหลังแต่ละอันมาต่อกัน รูจะกลายเป็ น vertebral canal เป็ นทีอ่ ยู่ของไขสันหลัง เส้นเลือด และ เส้นประสาททีอ่ อกจากไขสันหลัง 5. Vertebral notch เป็ นรอยเว้าอยู่ใต้และบนต่อ pedicle คือ superior และ inferior vertebral notch ถ้าเอา body มาติดกันสองอัน notch จะประกบเป็ นรูเรียกว่า intervertebral foramen เป็ น ทางผ่านของ spinal nerve ภาพ 3.9 กระดูกสันหลังระดับเอวมองทางด้านบน (ซ้ายมือ) และมองทางด้านข้าง (ขวามือ) แหล่งที่มา: Moore, KeithL., Clinically Oriented Anatomy, (Philadelphia: Lippincott Williams & Willkin, 2006) p. 480 ลักษณะเฉพาะของกระดูกสันหลังแต่ละระดับ กระดูกสันหลังระดับคอ (cervical vertebra) (ภาพ 3.10, ภาพ 3.11) ประกอบด้วยกระดูก 7 ชิน้ (C1-C7) เป็ นแกนของลาคอ ลักษณะเฉพาะคือมีรทู ่ี transverse process เรียกว่า foramen transversarium ซึง่ เป็ นทางผ่านของ vertebral artery นอกจากนัน้ spinous process ของ C3-C6 จะสัน้ และแยกเป็ น 2 แฉกส่วนของ C7 จะยาว และไม่แยกเป็ นแฉก ยื่นนูนคลาจากภายนอกได้ชดั เจน C1 (atlas) มีลกั ษณะเฉพาะคือ เป็ นรูปวงแหวน ด้านบนมีแอ่งเว้าต่อกับ occipital condyle เรียกข้อต่อนี้ว่า atlanto-occipital joint ไม่มี spinous process และ body (ภาพ 3.10) 3 - 15 - 41 C2 (axis) เป็ นชิน้ แข็งแรงทีส่ ุด มีแง่ย่นื ขึน้ ไปจากส่วน body (odontoid process หรือ dens) และไปสวมในกระดูก atlas เกิดข้อต่อ atlanto-axial joint ทาให้ศรี ษะหมุนไปข้างๆ ได้ (ภาพ 3.10) (A) Atlas มองจากด้านล่าง (B) Atlas มองจากด้านบน (C) Axis มองจากด้านหน้า (D) Axis มองจากด้านหลัง ภาพ 3.10 กระดูกสันหลังระดับคอชิน้ ที่ 1 (atlas) และกระดูกสันหลังระดับคอชิ้นที่ 2 (axis) แหล่งที่มา: Netter, Frank H., The Ciba Collection of Medical Illustration Volume 1 Nervous System, (U.S.A.: Ciba,1977) p. 22 ภาพ 3.11 กระดูกสันหลังระดับคอชิน้ ที4่ (ซ้ายมือ) และชิน้ ที่ 7 (ขวามือ) แหล่งที่มา: Netter, Frank H., Op.Cit., p. 23 3 - 16 - 41 กระดูกสันหลังระดับอก (thoracic vertebra) (ภาพ 3.12) ประกอบด้วยกระดูก 12 ชิ้น (T1-T12) ทัง้ 12 ชิน้ จะต่อกับกระดูกซีโ่ ครงโดยกระดูกซีโ่ ครงจะ ต่อกับ thoracic vertebra 2 บริเวณคือ ทีส่ ว่ นปลายของ transverse process ซึง่ จะเห็นเป็ นรอยหวา จากการที่ tubercle ของซีโ่ ครงมาติดอยู่ และทีส่ ว่ นของ body ซึง่ มีลกั ษณะเป็ นแอ่งตืน้ ๆทัง้ 2 ข้าง เนื่องจากส่วนหัวซีโ่ ครงมาเกาะทีบ่ ริเวณนี้ นอกจากนัน้ spinous process ของกระดูกสันหลังระดับนี้ จะไม่แยกออกเป็ นแฉก (A) กระดูกสันหลังระดับอกมองจากด้านข้าง (B) กระดูกสันหลังระดับอกมองจากด้านบน ภาพ 3.12 กระดูกสันหลังระดับอก (thoracic vertebra) แหล่งที่มา: Netter, Frank H., Op.Cit., p.26 กระดูกสันหลังระดับเอว (lumbar vertebra) (ภาพ 3.9) ประกอบด้วยกระดูก 5 ชิน้ (L1-L5) Body มีขนาดใหญ่ Transverse process มีลกั ษณะเรียบ ไม่มรี ู และไม่มรี อยหวา กระดูกสันหลังระดับก้น (sarcral vertebra) (ภาพ 3.13) ประกอบด้วยกระดูก 5 ชิน้ (S1-S5) ซึง่ จะเชื่อมรวมกันเป็ นชิ้นเดียวหลังอายุ 20 ปี เมื่อ รวมกันแล้วจะมีรปู ร่างเป็ นสามเหลีย่ ม มี transverse process ใหญ่เรียกว่า ala of sacrum และมีรู 4 คู่ (sacral foramen) สาหรับให้เส้นประสาทผ่าน และทางด้านหน้าจะเห็นเส้นตามขวาง 4 เส้น ซึง่ คือรอยต่อของกระดูก sacrum แต่ละชิ้น superior articular process ของกระดูก sacrum อัน แรกจะต่อกับ inferior articular process ของ L5 ทาให้เกิดเป็ นมุมเรียกว่า lumbosacral angle ซึง่ มุม นี้ในเพศหญิงจะเล็กกว่าในเพศชาย พืน้ ผิวด้านหลังของ sacrum จะนูน ไม่เรียบและมีสนั ในแนวกึง่ กลาง (median sacral crest) ซึง่ เกิดจาก spinous process ของ S1-S5 มาเชื่อมติดกัน 3 - 17 - 41 ทางด้านข้างส่วนบนจะเห็นพืน้ ผิวทีม่ ลี กั ษณะคล้ายใบหูเรียกว่า auricular surface ซึง่ จะต่อ กับ auricular surface ของ ilium เกิดเป็ นข้อต่อเรียกว่า sacroiliac joint (A) กระดูกก้น (Sacrum) และ กระดูกก้นกบ ทางด้านหน้า (B) กระดูกก้น (sacrum) และกระดูกก้นกบ ทางด้านหลัง ภาพ 3.13 ลักษณะของกระดูกสันหลังกระดูกก้น และ กระดูกก้นกบ มองทางด้านบน (A) และมองทางด้านหลัง (B) แหล่งที่มา: Moore, Keith L., Op. Cit., P. 492 3 - 18 - 41 นอกจากนัน้ ส่วนล่างทางด้านหลังจะเห็นเป็ นรูปตัว V หัวกลับเรียกว่า sacral hiatus ซึง่ ใน บริเวณนี้อาจเป็ นตาแหน่งทีใ่ ช้ในการฉีดยาชา (extradural anesthesia หรือ epidural anesthesia) โดยยาสลบจะไปมีผลต่อ sacral และ coccygeal nerve กระดูกก้นกบ (coccyx) (ภาพ 3.13) กระดูกนี้คอื ซากทีเ่ หลือของส่วนหางในตัวอ่อน ประกอบด้วยกระดูก 4 ชิ้น มาเชื่อมติดกันเป็ น ชิน้ เดียว ทาหน้าทีเ่ ป็ นทีเ่ กาะของกล้ามเนื้อตะโพกบางมัด หมอนรองกระดูก (intervertebral disc) (ภาพ 3.14) หมอนรองกระดูก (intervertebral disc) คันอยู ่ ่ระหว่าง body ของกระดูกสันหลังแต่ละอัน ทา ให้กระดูกสันหลังโค้งได้ ในคนชรา disc นี้มกั เสือ่ มทาให้หลังค่อม หมอนรองกระดูกจะไม่พบบริเวณ atlas ต่อกับ axis และบริเวณ sacrum กับ coccyx เพราะกระดูกเชื่อมรวมกัน หมอนรองกระดูกด้าน นอกเป็ น fibrocartilage เรียกว่า annulus fibrosus เส้นใย collagen ของชัน้ นี้จะยึดหมอนรองกระดูก ไว้กบั body ของกระดูกสันหลังทีต่ ดิ กับหมอนรองกระดูก ด้านในเป็ น nucleus pulposus มีลกั ษณะ นุ่ม ยืดหยุ่นได้ดี และเหนียว ขณะทีม่ กี ารเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังจะเกิดแรงกดที่ nucleus pulposus ทาให้การเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังไม่ตดิ ขัด เมื่ออายุมากขึน้ ของเหลวทีอ่ ยู่ใน nucleus pulposus จะลดลง ประสิทธิภาพการทางานของหมอนรองกระดูกจะเสือ่ มลง ทาให้มภี าวะ เสีย่ งต่อการได้รบั บาดเจ็บของกระดูกสันหลัง และของเหลวทีล่ ดลงยังทาให้แนวของกระดูกสันหลังสัน้ ลง ความสูงจึงลดลงเมื่ออายุมากขึน้ INTERVERTEBRALDISC ภาพ 3.14 ลักษณะของหมอนรองกระดูกสันหลัง NUCLEUSPULPOSUS 3 2 ANNULUSFIBROSUS 3 - 19 - 41 โค้งของสันหลัง (ภาพ 3.8) ถ้ามองกระดูกสันหลังทางด้านข้าง จะพบว่ามีลกั ษณะโค้ง 4 โค้ง คือ thoracic curvature และ sacral curvature โค้งไปทางข้างหลัง เกิดตัง้ แต่ขณะอยู่ในครรภ์มารดา ส่วน cervical curvature และ lumbar curvature โค้งมาทางด้านหน้า และเกิดภายหลังคลอด โดย cervical curvature จะเกิด เมื่อเด็กชันคอ และ lumbar curvature จะเกิดเมื่อเด็กหัดเดิน ความผิดปกติของโค้งสันหลัง (ภาพ 3.15) พบได้หลายชนิด ดังนี้ 1. Thoracic kyphosis มี thoracic curve โค้งมากกว่าปกติ ทาให้หลังค่อม โดยมักพบใน วัยสูงอายุ และพบมากในเพศหญิง 2. Lumbar lordosis มี lumbar curve แอ่นไปข้างหน้ามากกว่าปกติ มักพบในสตรีตงั ้ ครรภ์ แก่ 3. Scoliosis กระดูกสันหลังโค้งไปทางด้านข้าง มักเกิดจากมีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ บริเวณ กระดูกสันหลัง (B) Thoracic kyphosis (D) Scoliosis (A) การเกิดโค้งของกระดูกสันหลัง (C) Lumbar lordosis ภาพ 3.15 กระดูกสันหลังระดับต่างๆ แหล่งที่มา: Martini, F.H., Op. Cit., P. 229 3. กระดูกอก (sternum) (ภาพ 3.16-3.17) กระดูกอกเป็ นกระดูกแบนรูปยาว ยาวประมาณ 6 นิ้ว อยู่ตรงกลางข้างหน้าของอก ประกอบด้วย 1. Manubrium of sternum กว้างกว่าและหนากว่าส่วนอื่น มีรปู ร่างคล้ายสามเหลีย่ ม พืน้ ผิวด้านบนเว้าเรียกว่า jugular notch ด้านข้างของ notch นี้จะมีแอ่งรูปไข่ขา้ งละแอ่ง เรียกว่า clavicular notch ซึง่ เป็ นแอ่งทีต่ ่อกับกระดูกไหปลาร้า ใต้ clavicular notch จะมีรอยเว้าทีเ่ กิดจาก rib คู่ท่ี 1 มาเกาะ ด้านล่างต่อกับ body ของ sternum เป็ นมุมเรียกว่า sternal angle ซึง่ มีความสาคัญ คือใช้เป็ นตาแหน่งในการนับ rib โดยตรงรอยต่อบริเวณด้านข้างจะมี rib คู่ท่ี 2 มาเกาะ 3 - 20 - 41 2. Body of sternum เป็ นส่วนทีย่ าวทีส่ ุด โดยในเพศหญิงจะสัน้ กว่าเพศชาย ด้านหน้านูน เล็กน้อย ด้านหลังเว้า ทาให้ช่องว่างในช่องอกเพิม่ ขึน้ ทางด้านข้างมีรอยต่อของ rib คู่ท่ี 3-7 3. Xiphoid process ต่อกับ body ที่ xiphisternal joint ซึง่ มี rib 7 มาสัมพันธ์ ตอนแรกเกิด จะเป็ นกระดูกอ่อนและจะเชื่อมเป็ นเนื้อเดียวกับ body เมื่ออายุประมาณ 40 ปี ภาพ 3.16 ลักษณะของกระดูกหน้าอก (sternum) แหล่งที่มา: Moore, Keith L., Op. Cit., P. 83 4. กระดูกซี่โครง (rib หรือ costa) (ภาพ 3.17) กระดูกซีโ่ ครงเป็ นกระดูกแบน ยาว และโค้ง ประกอบเป็ นด้านข้างและด้านหลังของช่องอก โดยด้านหน้าของช่องอกเป็ น sternum และ costal cartilage ส่วนด้านหลังเป็ นกระดูกสันหลังระดับอก กระดูกซีโ่ ครงมีทงั ้ หมด 12 คู่ แบ่งเป็ น 2 พวกใหญ่ๆ คือ 1.True rib คือกระดูกซีโ่ ครงทีม่ ปี ลายด้านหนึ่งต่อกับ sternum โดยตรง โดยมีกระดูกอ่อน (costal cartilage) เชื่อม ได้แก่ค่ทู ่ี 1-7 2.False rib คือกระดูกซีโ่ ครงทีไ่ ม่มสี ว่ นต่อกับ sternum โดยตรงได้แก่ คู่ท่ี 8-12 โดยคู่ท่ี 8,9 และ 10 จะมีสว่ นต่อกับ sternum โดยต่อกับ costal cartilage ของคู่ท่ี 7 สาหรับคู่ท่ี 11-12 ไม่มสี ว่ นต่อกับ sternum โดยสิน้ เชิงมีช่อื เฉพาะว่า floating rib 3 - 21 - 41 ภาพ 3.17 กระดูกทีป่ ระกอบเป็ นช่องอกทางด้านหน้า (ซ้ายมือ) และทางด้านหลัง (ขวามือ) แหล่งที่มา: Netter,Frank H.,The Ciba Collection of Medical Illustration Volume 7 Respiratory System,(U.S.A.: Ciba,1978) p. 4 ลักษณะทัวไปของกระดู ่ กซีโ่ ครง (ภาพ 3.18) กระดูกซีโ่ ครงประกอบด้วย head, neck, tubercle และ body โดยแต่ละส่วนมีลกั ษณะดังนี้ Head มีลกั ษณะคล้ายลิม่ และมีแอ่ง 2 แอ่ง ซึง่ เป็ นส่วนทีต่ ่อกับส่วน body ของกระดูกสันหลัง Neck มีลกั ษณะแบนอยู่ระหว่างส่วน head และ tubercle ภาพ 3.18 กระดูซโ่ี ครง (rib) แหล่งที่มา: Netter, Frank H., Op.Cit., p.5 3 - 22 - 41 Tubercle อยู่ตรงรอยต่อระหว่างส่วน neck กับ body มีลกั ษณะเป็ นตุ่มนูนต่อกับกระดูก สันหลังระดับอกบริเวณรอยเว้าทีส่ ว่ น transverse process Body มีลกั ษณะแบน เบา และโค้ง ขอบด้านบนหนากว่าขอบด้านล่าง ทีข่ อบด้านล่างทาง พืน้ ผิวด้านในจะมีร่อง (costal groove) ซึง่ เป็ นทีท่ ม่ี เี ส้นเลือดและเส้นประสาททอดผ่าน ปลายทาง ด้านหน้าของ rib คู่ท่ี 1-7 มี costal cartilage ไปต่อกับ sternum ทุกอัน ทาให้ rib เคลื่อนไหวได้ดี เพราะ costal cartilage มีความยืดหยุ่นดี Rib ทัง้ 12 คู่มลี กั ษณะคล้ายกัน ยกเว้นคู่ท่ี 1 มีลกั ษณะแบน สัน้ และไม่มี costal groove และคู่ท่ี 11-12 มีลกั ษณะสัน้ กว่าคู่อ่นื ๆเช่นกัน มีเฉพาะส่วน head ไม่มี neck และ tubercle ช่องว่างระหว่าง rib แต่ละอันเรียกว่า intercostal space กระดูกระยางศ์ (appendicular skeleton) 1. กระดูกรยางค์ส่วนบน (upper limb) (ภาพ 3.18) กระดูกระยางศ์สว่ นบน ประกอบด้วยกระดูกสะบัก (scapula) กระดูกไหปลาร้า (clavicle) กระดูกแขน (humerus) กระดูกปลายแขนอันนอก (radius) กระดูกปลายแขนอันใน (ulna) กระดูก ข้อมือ(carpal bone) กระดูกฝ่ ามือ (metacarpal bone) กระดูกนิ้วมือ (phalanx) ภาพ 3.18 ส่วนประกอบของกระดูกระยางศ์สว่ นบน (upper limb) แหล่งที่มา: Tortota, G.J., Op.Cit., p.123 3 - 23 - 41 Scapula (ภาพ 3.19) เป็ นกระดูกแบนรูปสามเหลีย่ ม อยู่ทางด้านหลังตอนบนของช่องอกข้าง ละ 1 อัน โดยวางตัวปิ ดส่วนของ rib ที่ 2-7 ประกอบด้วยส่วนต่างๆดังนี้ - Body ส่วนนี้บาง พืน้ ผิวด้านทีต่ ดิ กับซีโ่ ครงเว้าเป็ นแอ่งตืน้ ๆ (subscapular fossa) พืน้ ผิว ด้าน หลังมีแง่ย่นื ออกไปทางด้านข้าง (spine of scapula) เหนือต่อแง่น้มี ลี กั ษณะเป็ นแอ่งเรียกว่า supraspinous fossa ส่วนแอ่งทีอ่ ยู่ใต้ต่อแง่น้เี รียกว่า infraspinous fossa และตรงส่วนปลายของแง่มี ลักษณะแบนยื่นไปทางด้านหน้าไปต่อกับกระดูกไหปลาร้า เรียกส่วนปลายนี้ว่า acromion - Glenoid cavity อยู่ใต้ต่อ acromion มีลกั ษณะเป็ นแอ่งหวาสาหรับต่อกับส่วนหัวของกระดูก ต้นแขน - Coracoid process อยู่เหนือ glenoid cavity มีลกั ษณะคล้ายจงอยปากนกยื่นเฉียงออกมา ทางด้านหน้า ภาพ 3.19 ลักษณะของกระดูกสะบัก (scapula) ทางด้านหน้า ด้านข้าง และด้านหลังตามลาดับ แหล่งที่มา: Martini, F.H., Op. Cit., P. 246 Clavicle (ภาพ 3.20) เป็ นกระดูกรูปยาว โค้งเล็กน้อยคล้ายตัว S ตัง้ ขวางเหนือ rib คู่ท1่ี คลา จากภายนอกได้ชดั เจน ด้านใน (sternal end) มีลกั ษณะกลมต่อกับ manubrium ของ sternum ด้าน นอก(acromial end) มีลกั ษณะแบนต่อกับ acromion ของ scapula (acromioclavicular joint) ส่วน โค้งด้าน sternal end อยู่ทางด้านหน้า และส่วนขรุขระด้าน acromial end อยู่ดา้ นล่าง 3 - 24 - 41 (A) ด้านบน (B) ด้านล่าง ภาพ 3.20 ลักษณะของกระดูกไหปลร้า (clavicle)ข้างขวาเมื่อมองจากด้านบน (A) และด้านล่าง (B) แหล่งที่มา: Martini, F.H. , Op. Cit., P. 245 Humerus (ภาพ 3.21) เป็ นกระดูกรูปยาว ด้านบนต่อกับ scapula ด้านล่างต่อกับ radius และ ulna มีสว่ นประกอบดังนี้ - Head มีลกั ษณะกลมต่อกับ glenoid cavity ของ scapula ทาให้เกิด shoulder joint - Neck (anatomical neck) เป็ นรอยคอดอยู่ถดั ลงมาจาก head คันส่ ่ วน head ออกจาก tubercle ส่วน surgical neck อยู่ใต้ tubercle เป็ นส่วนทีห่ กั ง่าย - Tubercle เป็ นตุ่มนูนอยู่ถดั จาก anatomical neck ประกอบด้วย greater tubercle อยู่ตรง ส่วนปลายบนของ humerus ทางด้านข้าง และ lesser tubercle เป็ นตุ่มนูนขนาดเล็กกว่า อยู่ตรงส่วน ปลายบนเช่นกัน แต่เยือ้ งมาทางด้านหน้า - Intertubercular groove (bicipital groove) เป็ นร่องทีอ่ ยู่ระหว่าง greater และ lesser tubercle - Body (shaft) ส่วนบนมีลกั ษณะกลม ส่วนปลายจะค่อนข้างแบน และด้านข้างมีลกั ษณะเป็ น สัน บริเวณกึง่ กลางทางด้านข้างจะพบรอยขรุขระเรียกว่า deltoid tuberosity - Distal end เป็ นแผ่นกว้าง ทางด้านหน้าจะมีสว่ นทีไ่ ปสัมพันธ์กบั กระดูก ปลายแขน ได้แก่ 1) trochlea มีลกั ษณะคล้ายหลอดด้าย ส่วนนี้ต่อกับ trochlea notch ของ ulna 2) capitulum ซึง่ อยู่ lateral ต่อ trochlea เป็ นส่วนทีต่ ่อกับส่วนหัวของ radius เหนือต่อ trochlea จะมีแอ่งตืน้ เรียกว่า 3) coronoid fossa ซึง่ แอ่งนี้สมั พันธ์กบั coronoid process ของ ulna เวลางอข้อศอก และเหนือต่อ capitulum มีแอ่งตืน้ ๆ เช่นกันเรียกว่า 4) radial fossa ซึ่งจะสัมพันธ์กบั หัวของ radius เวลางอข้อศอก เช่นกัน ส่วนทางด้านหลังจะพบแอ่งลึกคือ 5) olecranon fossa ซึง่ สัมพันธ์กบั olecranon process ของ ulna 3 - 25 - 41 (A) พืน้ ผิวด้านหน้า (B) พืน้ ผิวด้านหลัง ภาพ 3.21 ลักษณะของกระดูก humerus ทางด้านหน้า (A) และทางด้านหลัง (B) แหล่งที่มา: Martini, F.H., Op. Cit., P. 247 3 - 26 - 41 (A) (B) ภาพ 3.22 ลักษณะของ radius และ ulna ทางด้านหลัง (A) และทางด้านหน้า (B) แหล่งที่มา: Martini, F.H. , Op. Cit., P. 248 Ulna (ภาพ 3.22) เป็ นกระดูกปลายแขนอันใน ด้านบนมีขนาดใหญ่กว่าด้านล่างประกอบด้วย ส่วนต่างๆ ดังนี้ - ส่วนต้น จะมีแง่ย่นื ออกมา 2 แง่ คือแง่บนเรียกว่า olecranon process มีขนาดใหญ่ แง่น้จี ะ สวมเข้ากับ olecranon fossa ของ humerus แง่ล่างขนาดเล็กกว่าเรียกว่า coronoid process ซึง่ จะ สัมพันธ์กบั coronoid fossa ของ humerus ดังกล่าวข้างต้น ระหว่างแง่ทงั ้ สองทางด้านหน้าจะมีรอย หวาเรียกว่า trochlear notch ซึง่ จะสัมพันธ์กบั trochlea ของ humerus และทางด้าน lateral ต่อ coronoid process จะมีรอยหวาขนาดเล็กเรียกว่า radial notch ซึง่ จะสัมพันธ์กบั radius - ส่วนปลาย จะมีแง่ย่นื ออกไปทางด้านในเรียกว่า styloid process ของ ulna ซึง่ คือตุ่มที่ ยื่นออกมาบริเวณเหนือข้อมือด้านใน 3 - 27 - 41 Radius (ภาพ 3.22) เป็ นกระดูกปลายแขนอันนอก สัน้ กว่า ulna และด้านบนมีขนาดเล็กกว่า ด้านล่าง ประกอบด้วยส่วนต่างๆดังนี้ - ส่วนต้น ประกอบด้วยส่วนหัวซึง่ มีลกั ษณะเป็ นแผ่นหนา พืน้ ผิวด้านบนเป็ นรอยเว้าเพือ่ ต่อ กับ capitulum ของ humerus ได้พอดี ด้านในของส่วนหัวจะสัมพันธ์กบั radial notch ของ ulna ใต้ ส่วนหัวเป็ นส่วนคอดของคอ (neck) ใต้สว่ นคอทางด้านในมีป่ ุมหยาบเรียกว่า radial tuberosity - ส่วนปลายทางด้านในมีแอ่งตืน้ เรียกว่า ulnar notch ซึ่งจะต่อกับ ulna และทางด้านนอกมีแง่ ยื่นออกมาเรียกว่า styloid process ของ radius เช่นเดียวกับ ulna Carpus (ภาพ 3.23) สัมพันธ์กบั ส่วนปลายของ radius และ ulna มีขา้ งละ 8 อัน เรียง เป็ น 2 แถวๆ ละ 4 ชิน้ (จากนิ้วหัวแม่มอื ไปนิ้วก้อย) ดังนี้ - แถวบน scaphoid, lunate, triquetrum (cuneiform), pisiform - แถวล่าง trapezium, trapezoid, capitate, hamate Metacarpus (ภาพ 3.23) ปลายบนต่อกับกระดูกข้อมือแถวล่าง (carpo-metacarpal joint) ปลายล่างต่อกับกระดูกนิ้วมือแถวที่ 1 (metacarpophalangeal joint) Phalanx (ภาพ 3.23) มือแต่ละข้างจะมีกระดูกนิ้วมือ 14 ชิน้ นิ้วละ 3 ชิ้น (proximal, middle และ distal phalanx) ยกเว้นนิ้วหัวแม่มอื มีเพียง 2 ชิ้น (proximal และ distal phalanx) แต่ละชิน้ ต่อ กันเอง ทาให้เกิดข้อต่อเรียกว่า interphalangeal joint (A) ด้านหน้า (B) ด้านหลัง ภาพ 3.23 ลักษณะของกระดูกมือข้างขวา แหล่งที่มา: Moore, Keith L., Op. Cit., P.737 3 - 28 - 41 2. กระดูกระยางศ์ส่วนล่าง (lower limb) กระดูกระยางศ์สว่ นล่างแต่ละข้าง ประกอบด้วยกระดูกสะโพก (hip bone) กระดูกต้นขา (femur) กระดูกสะบ้า (patella) กระดูกปลายขาอันใน (tibia) กระดูกปลายขาอันนอก (fibula) กระดูก ข้อเท้า(tarsus) กระดูกฝ่ าเท้า (metatarsus) และกระดูกนิ้วเท้า (phalanx) (ภาพ 3.24) (A) ด้านหน้า (B) ด้านหลัง ภาพ 3.24 กระดูกระยางศ์ค่ลู ่าง (lower limb) แหล่งที่มา: Moore, Keith L., Op. Cit., P.559 3 - 29 - 41 กระดูกสะโพก (hip bone) มี 2 ชิ้นแต่ละชิน้ ประกอบด้วยส่วนต่างๆ 3 ส่วน คือ ilium, ischium และ pubis ในเด็กทัง้ 3 ส่วนนี้จะแยกจากกัน (ภาพ 3.25) โดยจะเชื่อมติดกันสนิทเมื่ออายุ ประมาณ 15-17 ปี รายละเอียดของแต่ละส่วนมีดงั นี้ - Ilium มีรูปร่างคล้ายพัด ขอบบนมีลกั ษณะเป็ นสันเรียกว่า iliac crest ปลายทางด้านหน้าของ สันนี้เป็ นปุ่มเรียกว่า anterior superior iliac spine มีความสาคัญคือ ใช้เป็ นจุดในการวัดหาตาแหน่ง ของการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อตะโพก ส่วนปลายทางด้านหลังมีลกั ษณะเป็ นปุ่มเช่นกัน เรียกว่า posterior superior iliac spine ใต้ต่อปุ่มทัง้ สองจะเป็ นปุ่มขนาดเล็กเรียกว่า anterior inferior iliac spine และ posterior inferior iliac spine ตามลาดับ พืน้ ผิวด้านในของ ilium เป็ นแอ่งเว้าเรียกว่า iliac fossa ใต้ ต่อ iliac fossa มีลกั ษณะเป็ นเส้นยาวเรียกว่า arcuate line ซึง่ ต่อกับ pectineal line ของกระดูก pubis เรียกเส้นนี้ว่า iliopectineal line พืน้ ผิวส่วนบนด้านในมีลกั ษณะคล้ายใบหูเรียกว่า auricular surface ซึง่ ต่อกับ auricular surface ของ sacrum เกิดเป็ นข้อต่อ sacroiliac joint - Ischium มีรูปร่างคล้ายตัว L เริม่ ต้นจาก acetabulum และทอดตัวใต้ต่อ acetabulum จากนัน้ จะโค้งตัวมาทางด้านหน้าไปเชื่อมกับ pubis ประกอบด้วยส่วนสาคัญสองส่วนคือ Body และ Ramus ส่วน body จะเชื่อมติดกับ ilium และ pubis ทีบ่ ริเวณแอ่งหวา (acetabulum) และด้านล่างมี ลักษณะหยาบเรียก ischial tuberosity เป็ นบริเวณทีร่ บั น้าหนักตัวในท่านัง่ เหนือต่อ ischial tuberosity จะมีแง่ย่นื ออกมาเรียกว่า ischial spine ซึง่ เป็ นตัวแบ่ง greater sciatic notch (รอยเว้าทาง ด้านบน) ออกจาก lesser sciatic notch (รอยเว้าขนาดเล็กทางด้านล่าง) Ramus ของ ischium จะ เชื่อมกับ inferior ramus ของ pubis - Pubis อยู่ทางด้านหน้าของ hip bone ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ body, inferior ramus และ superior ramus ส่วนของ body จะชีเ้ ข้าสูแ่ นวกลางของลาตัวเชื่อมต่อกันเองทางด้านหน้า โดยมี กระดูกอ่อนคันเรี ่ ยกว่า symphysis pubis ข้อต่อนี้จะเคลื่อนไหวได้มากในขณะมีการคลอด ทาง ด้านหน้าจะหนาตัวขึน้ เป็ นสันเรียกว่า pubic tubercle ซึง่ เป็ นตาแหน่งที่ inguinal ligament มายึด เกาะ Superior ramus จะเชื่อมติดกับ ilium และ ischium ทีบ่ ริเวณ acetabulum ส่วน inferior ramus จะเชื่อมต่อกับ ramus ของ ischium ส่วนประกอบทีส่ าคัญของ Hip Bone มีดงั นี้ 1. Acetabulum เป็ นบ่อหวารูปถ้วย ซึง่ ต่อกับส่วนหัวของกระดูกต้นขา (hip joint) เป็ น ตาแหน่งทีก่ ระดูก ilium, ischium และ pubis มาเชื่อมติดกัน 2. Obturator foramen เป็ นช่องว่างรูปไข่ อยู่ใต้ acetabulum ระหว่าง ischium และ pubis 3 - 30 - 41 ภาพ 3.25 กระดูกสะโพกข้างขวา (hip bone) แหล่งที่มา: Martini, F.H., Op. Cit., P. 250 อุ้งเชิ งกราน (pelvis) เกิดจาก hip bone 2 ชิน้ sacrum และ coccyx มาเชื่อมติดต่อกัน แบ่งเป็ น 2 ตอนโดย iliopectineal Line (ภาพ 3.26) ดังนี้ - False pelvis (pelvis major) คือส่วนทีอ่ ยู่เหนือต่อ iliopectineal line ด้านข้างเป็ นกระดูก Ilium ด้านหน้าไม่มกี ระดูก แต่มกี ล้ามเนื้อหน้าท้องปิ ดแทน - True pelvis (pelvis minor) คือส่วนทีอ่ ยู่ใต้ต่อ iliopectineal line ล้อมรอบด้วย pubis, ischium, sacrum และ coccyx พืน้ ล่างเป็ นกล้ามเนื้อ เอ็น และพังผืด ช่องเปิ ดด้านบน เรียกว่า pelvic inlet ช่องเปิ ดด้านล่างเรียกว่า pelvic outlet ภายในเป็ นทีอ่ ยู่ของอวัยวะต่างๆ เช่น กระเพาะปั สสาวะ อวัยวะสืบพันธุภ์ ายใน และ rectum เป็ นต้น 3 - 31 - 41 ภาพ 3.26 อุง้ เชิงกราน (pelvis) แหล่งที่มา: Moore, Keith, L., Op. Cit., P.359 ข้อแตกต่างระหว่าง pelvis ของเพศชายและเพศหญิง Pelvis ของเพศหญิงจะมีน้าหนักเบากว่า บางกว่า กว้างและตืน้ กว่ารวมทัง้ มี inlet และ outlet กว้างกว่าเพศชายนอกจากนี้ coccyx ยังเคลื่อนไหวได้มากกว่า และยังมี subpubic angle กว้างกว่า 90 องศา ในขณะทีเ่ พศชายมี subpubic angle น้อยกว่า 90 องศา และ acetabulum ของเพศ หญิงเล็กกว่าเพศชาย (ภาพ 3.27) (A) เพศชาย (B) เพศหญิง ภาพ 3.27 เปรียบเทียบลักษณะของอุง้ เชิงกรานเพศชาย (A) และอุง้ เชิงกรานเพศหญิง (B) แหล่งที่มา: Martini, F.H. , Op. Cit., P. 252 3 - 32 - 41 ชนิดต่างๆ ของ pelvis จาแนกตามรูปร่างมีดงั นี้ (ภาพ 3.28) 1. Gynecoid pelvis เป็ นลักษณะทีพ่ บมากทีส่ ุดในสตรีทวไป ั ่ (43%) ชนิดนี้มี pelvic inlet กว้างและเป็ นวงกลม รวมทัง้ มี subpubic arch กว้าง ช่องว่างระหว่าง ischial spine กว้างเช่นกัน สตรี ทีม่ อี งุ้ เชิงกรานแบบนี้จะคลอดง่าย 2. Android pelvis ชนิดนี้พบในสตรีประมาณ 32% มี pelvic inlet เป็ นรูปหัวใจ subpubic angle แคบ สตรีทม่ี เี ชิงกรานลักษณะนี้จะมีผลให้หวั เด็กเข้าสู่ pelvic inlet ยาก ทาให้การคลอดยาก 3. Platypelloid pelvis พบในสตรีประมาณ 2% มี pelvic inlet กว้างแบน เส้นผ่าศูนย์กลาง จากด้านหน้าไปหลัง (AP diameter) จะสัน้ กว่าเส้นผ่าศูนย์กลางตามยาว ชนิดนี้จะทาให้หวั เด็ก ผ่านเข้าสูอ่ งุ้ เชิงกรานยาก แพทย์มกั พิจารณาทาคลอดโดยการผ่าออกทางหน้าท้อง (ceasarean section) 4. Anthropoid pelvis พบในสตรีประมาณ 23% pelvic inlet มีรปู ร่างยาว และแคบ sacrum ยาวทาให้องุ้ เชิงกรานลึก subpubic angle แคบ มีผลให้การคลอดยากเช่นกัน ในเพศชายส่วนใหญ่เป็ นชนิด anthropoid และ android pelvis ภาพ 3.28 ลักษณะของอุง้ เชิงกรานชนิดต่างๆ แหล่งที่มา: Moore, Keith L., Op. Cit., P.362 3 - 33 - 41 อุง้ เชิงกรานยึดติดกันได้โดยมี ligament ต่างๆ ยึดกระดูกแต่ละชิน้ ให้ตดิ กัน (ภาพ 3.29) Ligament เหล่านี้จะคลายตัวในระหว่างตัง้ ครรภ์ รวมทัง้ symphysis pubis จะคลายตัวด้วยเช่นกัน จากผลของฮอร์โมน relaxin ซึง่ มีผลให้การคลอดของทารกง่ายขึน้ ภาพ 3.29 Ligament ทีย่ ดึ อุง้ เชิงกราน แหล่งที่มา: Moore, Keith L., Op. Cit., P.360 กระดูกต้นขา (femur) (ภาพ 3.30) เป็ นกระดูกทีย่ าวทีส่ ุด แข็งแรงทีส่ ุด และหนักทีส่ ุดใน ร่างกาย ความสูงของคนจะสูงประมาณ 4 เท่าของความยาวของกระดูก femur ประกอบด้วยส่วน ต่างๆดังนี้ - Head มีลกั ษณะเรียบกลม สวมอยู่ใน acetabulum ของ hip bone (hip joint) - Neck เป็ นส่วนคอดต่อจาก head และทามุมกับส่วน body ประมาณ 125 องศา ในผูส้ งู อายุ ส่วนนี้มกั หักง่ายโดยเฉพาะในเพศหญิง เนื่องจากภาวะกระดูกผุหลังหมดประจาเดือน - Greater trochanter เป็ นปุ่มใหญ่อยู่สว่ นบนระหว่าง neck และ body - Lesser trochanter เป็ นปุ่มขนาดเล็กกว่าอยู่ทางด้านหลังตอนล่าง ตรงรอยต่อระหว่าง neck กับ body - Intertrochanteric crest เป็ นสันอยู่ทางด้านหลังระหว่าง greater และ lesser trochanter - Linea aspera เป็ นสันอยู่ทางด้านหลังของ femur - Condyle อยู่ทส่ี ว่ นปลายของ femur มีขนาดใหญ่ย่นื ไปทางด้านหลัง มี 2 อันคือ medial และ lateral condyle เป็ นส่วนทีต่ ่อกับ tibia (knee joint) ทางด้านหน้าระหว่าง condyle ทัง้ สอง พืน้ ผิวจะเป็ นร่องตืน้ ๆ เรียกว่า patellar surface ซึง่ จะสัมพันธ์กบั patella 3 - 34 - 41 (A) (B) ภาพ 3.30 ลักษณะของกระดูกต้นขาข้างขวาทางด้านหน้า (A) และทางด้านหลัง (B) แหล่งที่มา: Martini, F.H., Op. Cit., P.253 กระดูกหน้ าแข้ง (tibia ) (ภาพ 3.31) เป็ นกระดูกของขาอันใน มีขนาดใหญ่พน้ื ผิวด้านบน แบนต่อกับ condyle ของ femur ทางด้านข้างของส่วนหัวเป็ นปุ่ม 2 ปุ่ม ยื่นออกมาคือ medial และ lateral condyle ที่ lateral condyle จะมีแอ่งเล็กๆ ซึง่ ต่อกับหัวของ fibula ทางด้านหน้าส่วนบนมี ลักษณะขรุขระเรียกว่า tibial tuberosity ซึง่ เป็ นทีเ่ กาะของ patellar ligament ใช้ทดสอบเกีย่ วกับ patella reflex ส่วน body ทางด้านหน้าเป็ นสันนูน สามารถคลาได้ชดั เจนจากภายนอก ปลายล่างของ tibia มีขนาดเล็กกว่าส่วนหัว มีตุ่มยื่นออกจากส่วนปลายสุดทางด้านในเรียกว่า medial malleolus (ตาตุ่มใน) นอกจากนัน้ ยังมีแอ่งเล็กๆ ซึง่ สัมพันธ์กบั fibula และ talus กระดูกน่ อง (fibula) (ภาพ 3.31) เป็ นกระดูกของขาอันนอก มีขนาดเล็กกว่า tibia มีลกั ษณะ ดังนี้ ส่วนหัวมีลกั ษณะค่อนข้างกลม และมีแอ่งตืน้ ๆ สาหรับต่อกับ lateral condyle ของ tibia ส่วน ปลายของ fibula จะยื่นออกเป็ นตาตุ่มด้านนอก (lateral malleolus) ส่วนด้านในจะต่อกับ tibia และ talus 3 - 35 - 41 (A) (B) ภาพ 3.31 ลักษณะของกระดูกหน้าแข้ง (Tibia) และกระดูกน่อง (Fibula) ข้างขวาทาง ด้านหน้า (A) และทางด้านหลัง (B) แหล่งที่มา: Moore, Keith L., Op. Cit., P.567 กระดูกข้อเท้า(tarsus) (ภาพ 3.32) ประกอบด้วยกระดูกต่างๆข้างละ 7 ชิน้ ดังนี้ calcaneus, talus, navicular, cuboid, medial cuneiform, intermediate cuneiform และ lateral cuneiform กระดูกฝ่ าเท้า (metatarsus) (ภาพ 3.32) ประกอบด้วยกระดูก 5 ชิ้น ในแต่ละข้าง ฝ่ าเท้าจะ มีรปู โค้งไม่แบน (foot arch) เพือ่ ป้ องกันการกระเทือนเวลาเดินหรือวิง่ คนทีม่ ฝี ่ าเท้าแบนเรียกว่า flat foot กระดูกนิ้ วเท้า (phalanx) (ภาพ 3.32) ประกอบด้วย 14 ชิน้ ในแต่ละข้างเช่นเดียวกับ กระดูกนิ้วมือ โดยแต่ละนิ้วจะประกอบด้วยกระดูก 3 ชิน้ (proximal, middle, และ distal phalanx) ยกเว้นนิ้วหัวแม่มอื มีเพียง 2 ชิน้ (proximal และ distal phalanx) 3 - 36 - 41 ภาพ 3.32 กระดูกของเท้าประกอบด้วย กระดูกข้อเท้า (tarsus) กระดูกฝ่ าเท้า (metatarsus) และกระดูกนิ้วเท้า (phalanx ) แหล่งที่มา: Tortota, G.J., Op.Cit., p.131 ข้อต่อ (joint or articulation) ข้อต่อเกิดจากกระดูกตัง้ แต่ 2 ชิน้ ขึน้ ไปมาสัมพันธ์กนั ทาให้เกิดการเคลื่อนไหว สามารถ แบ่งได้เป็ นหลายชนิดตามลักษณะสิง่ ทีม่ ายึดให้ตดิ กัน ดังนี้ 1. Fibrous joint ข้อต่อชนิดนี้เชื่อมกันโดย fibrous tissue (ภาพ 3.33) ได้แก่ 1.1 Suture พบทีก่ ะโหลกศีรษะ เป็ นข้อตาย เคลื่อนไหวไม่ได้ 1.2 Syndesmosis ได้แก่ interosseous membrane ทีย่ ดึ ระหว่าง radius และ ulna เป็ นข้อทีเ่ คลื่อนไหวได้เล็กน้อย 3 - 37 - 41 ภาพ 3.33 ลักษณะของ fibrous joint ประกอบด้วย suture (A) และ syndesmosis แหล่งที่มา: Moore, Keith L., Op. Cit., P.27 (A) Suture (B) Syndesmosis 2. Cartilaginous joint ข้อต่อชนิดนี้เชื่อมกันโดยกระดูกอ่อน เป็ นข้อต่อทีแ่ ข็งแรง เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย ได้แก่ intervertebral disc ทีเ่ ชื่อมระหว่าง body ของกระดูกสันหลัง และ symphysIs pubis ซึง่ เชื่อมติดกันด้วย fibrocartilage รวมทัง้ sacroiliac joint จัดอยู่ในชนิดนี้เช่นกัน (ภาพ 3.34) ภาพ 3.34 ลักษณะของ cartilaginous joints แหล่งที่มา: Moore, Keith L., Op. Cit., P.27 3. Synovial joint (ภาพ 3.35) เป็ นข้อต่อทีพ่ บมากทีส่ ุดและเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ มี ลักษณะเฉพาะคือ ประกอบด้วยช่องว่างระหว่างข้อต่อ (joint cavity) มีกระดูกอ่อนหุม้ ปิ ดทีป่ ลาย ของกระดูกทีต่ ่อกัน (articular cartilage) เพือ่ ลดแรงเสียดทานทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างการเคลื่อนไหว มี ปลอกหุม้ หัวของกระดูกทีต่ ่อกัน (fibrous capsule) และมีเยื่อบางๆ บุใน capsule เรียกว่า synovial membrane 3 - 38 - 41 Articular cartilage เป็ นกระดูกชนิด hyaline cartilage ไม่มเี ส้นเลือดและเส้นประสาทมาเลีย้ ง ได้รบั อาหารจาก synovial fluid ถ้าถูกทาลายจะทาให้พน้ื ผิวของ articular cartilage หยาบทาให้แรง เสียดทานเพิม่ ขึน้ นอกจากนัน้ ภายใน joint cavity จะมีน้ า (synovial fluid) หล่อลื่นอยู่ น้านี้ผลิตมาจากเซลล์ ของ synovial membrane มีลกั ษณะใส เหนียว ทาหน้าทีช่ ่วยหล่อลื่น โดย articular cartilage จะทา หน้าทีค่ ล้ายฟองน้ าทีม่ ี synovial fluid อยู่ เมื่อมีแรงกดทีข่ อ้ ต่อของเหลวใน cartilage จะถูกบีบออก เข้าสูช่ ่องว่างระหว่างข้อต่อ ซึง่ ช่วยลดแรงเสียดทานระหว่างการเคลื่อนไหว เมื่อไม่มแี รงกดทีข่ อ้ ต่อ ของเหลวจะถูกดูดกลับเข้าสู่ articular cartilage นอกจากนัน้ synovial fluid ยังทาหน้าทีใ่ ห้อาหาร และกาจัดของเสียแก่ chondrocyte ของ articular cartilage โดยจะมีการไหลเวียนเมื่อมีการ เคลื่อนไหวของข้อ แรงกดและคลายตัวทีข่ อ้ ต่อขณะทีม่ กี ารเคลื่อนไหวจะเกิดแรงดูด synovial fluid เข้าและออกจากกระดูกอ่อน ขณะทีข่ องเหลวไหลผ่าน synovial membrane ของเสียจะถูกดูดกลับ และนาอาหารให้แก่เซลล์ ภาพ 3.35 ลักษณะของ synovial joint แหล่งที่มา: Martini, F.H., Op. Cit., P.266 3 - 39 - 41 (A) Gliding joint (B) Hinge joint (C) Pivot joint (D) Condyloid joint (E) Saddle joint (F) Ball & Socket joint ภาพ 3.36 ชนิดของ synovial joint แหล่งที่มา: Martini, F.H., Op. Cit., P.273 3 - 40 - 41 ชนิ ดของ synovial joint (ภาพ 3.36) จาแนกเป็ น 6 ชนิดดังนี้ - Plane joint หรือ gliding joint พืน้ ผิวของกระดูกทีม่ าต่อกันมีลกั ษณะแบน ทาให้มกี าร เคลื่อนไหวแบบเล

Use Quizgecko on...
Browser
Browser