EDA 5501 Educational Administration and Education Management (PDF)

Summary

This document provides an overview of educational leadership and management, including organizational characteristics, structures, and roles of managers, using the concept of management by groups.

Full Transcript

EDA 5501 การบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษา 1 บทที่ 3 การบริหารองค์การและการบริหารโดยองค์คณะบุคคล 1 คุณลักษณะและโครงสร้าง ขององค์การ “ องค์การ หมายถึง กลุม่ บุคคลที่มาปฏิบัติงาน ร่วมกันเพื่อให้งานดาเนินไปสูค่ วามสาเร็จตาม วัตถุประสงค์ภายใต้การ...

EDA 5501 การบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษา 1 บทที่ 3 การบริหารองค์การและการบริหารโดยองค์คณะบุคคล 1 คุณลักษณะและโครงสร้าง ขององค์การ “ องค์การ หมายถึง กลุม่ บุคคลที่มาปฏิบัติงาน ร่วมกันเพื่อให้งานดาเนินไปสูค่ วามสาเร็จตาม วัตถุประสงค์ภายใต้การสั่งการ โดยมีระบบของ การประสานงานอย่างเหมาะสม 3 คุณลักษณะขององค์การ ▸ 1. มีวัตถุประสงค์ท่แี น่นอนเพื่อให้สมาชิกขององค์การได้ยึดถือเป็นแนวทางในการ ทางานร่วมกัน ▸ 2. มีการจัดโครงสร้างที่ชัดเจน และมีสายบังคับบัญชาเป็นชั้น ๆ ลดหลั่นกันลงมาตั้งแต่ ระดับสูงสุดลงมาถึงระดับล่างสุดขององค์การ ▸ 3. มีบุคคลอย่างน้อย 2 คนขึ้นไปรวมกันเข้าเป็นกลุ่ม โดยกาหนดหน้าที่และแบ่งงาน ตามความรู้ ความสามารถ และความถนัดของแต่ละบุคคล 4 โครงสร้างขององค์การ ▸ 1. โครงสร้างองค์การแบบสูง ▸ 2. โครงสร้างองค์การแบบกว้าง 5 โครงสร้างองค์การแบบสูง 6 โครงสร้างองค์การแบบสูง ข้อดี ข้อจากัด ▸ 1. มีการบริหารงานและการควบคุมที่ ▸ 1. มีค่าใช้สูงสาหรับตาแหน่งหัวหน้า ใกล้ชิด งานในแต่ละระดับ ▸ 2. มีการติดต่อสื่อสารรวดเร็วระหว่าง ▸ 2. มีระดับการจัดการมาก ทาให้ หัวหน้าและลูกน้อง กระบวนการทางานอาจล่าช้า ▸ 3. งานมีคุณภาพเพราะอยู่ภายใต้การ ▸ 3. มีระยะทางระหว่างระดับสูงถึง ควบคุมของผู้ชานาญการเฉพาะ ส่วน ระดับต่าห่างเกินไป ข้อจากัดของโครงสร้างองค์การแบบ ▸ 4. หัวหน้ามีแนวโน้มที่จะเกี่ยวข้องกับ สูง การทางานของลูกน้องมากเกินไป 7 โครงสร้างองค์การแบบกว้าง 8 โครงสร้างองค์การแบบกว้าง ข้อดี ข้อจากัด ▸ 1. ลดค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ▸ 1. ต้องการผู้บังคับบัญชาที่มี ▸ 2. ลูกน้องมีอิสระสูงในการทางาน ความสามารถ เนื่องจากมีงาน เนื่องจากหัวหน้ามีผู้ใต้บังคับบัญชา หลากหลายที่ต้องควบคุมดูแล จานวนมากจึงมีการควบคุมน้อย ▸ 2. ผู้บังคับบัญชาอาจจะควบคุมงาน ทุกอย่างได้ไม่ทั่วถึง 9 “ สถ าน ศึ กษ าขั้ น พื้ นฐ าน จั ด โค ร งสร้ า งก าร บริ ห ารงานโดยยึ ด ตามกฎกระทรวง ซึ่ ง ก าหนด หลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหาร และการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ พ.ศ. 2545 ซึ่ง แบ่ ง แผนกงานให้ ส อดรั บ กั บ การบริ ห ารในด้ า น วิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารบุคคล และด้านการบริหารทั่วไป 10 “ การแบ่งโครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษา ไม่ได้มีการระบุว่าจะต้องเป็น 4 กลุ่มงาน แต่ภาระ งานของผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษามี 4 ด้ า นตามการ กระจายอานาจ และจะต้องมีผู้กากับติดตาม คือ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยอาศั ย ระเบี ย บแนวปฏิ บั ติ ต่ า ง ๆ ตามที่ ไ ด้ ก าหนดไว้ ใ น พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ร ะ เ บี ย บ บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 11 ตัวอย่างการจัดโครงสร้างการบริหารของสถานศึกษา 12 ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาจั ด โครงสร้ า งส่ ว น ราชการและการแบ่ ง งานภายในตามประกาศ “ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการ ภายในสานั กงานเขตพื้น ที่การศึกษา พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2561 (ฉบั บ ที่ 2) ได้ แ ก่ 1) กลุ่ ม อ านวยการ 2) กลุ่ ม นโยบายและแผน 3) กลุ่ ม ส่งเสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร 4) กลุ่ มบริห ารงานการเงิ น และ สินทรัพย์ 5) กลุ่มบริหารงานบุคคล 6) กลุ่มพัฒนา ครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา 7) กลุ่ ม นิ เ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา 8) กลุ่ม ส่ ง เสริ ม การจั ด การศึ ก ษา 9) หน่ ว ยตรวจสอบ ภายใน และ 10) กลุม่ กฎหมายและคดี 13 ตัวอย่างการจัดโครงสร้างการบริหารของสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา 14 2 สายการบังคับบัญชา และช่วงการควบคุม “ สายบังคับบัญชา (Chain of Command) หมายถึง ความสัมพันธ์ตามลาดับขั้นระหว่างผู้บังคับบัญชา กับผู้ ใต้บั งคั บ บัญ ชาเพื่ อให้ ทราบถึง ช่องทางการ ติดต่อสื่อสาร สัมพันธภาพ และการควบคุม….. …..สายการบังคับบัญชาที่ดีควรจะมีลักษณะชัดเจน ว่าใครเป็นผู้มีอานาจสั่งการ และไม่ควรทับซ้อนกัน เพราะจะก่อให้เกิดการสับสนแก่ผปู้ ฏิบัติงาน….. 16 ลักษณะของสายบังคับบัญชา ▸ 1. ลักษณะของอานาจหน้าที่ (Authority Aspect) ▹ ผู้บังคับบัญชาจะอยู่ในฐานะที่เป็นผู้ออกคาสั่ง โดยลักษณะของสายสัมพันธ์จะเป็น การติดต่อสื่อสารที่เป็นทางการในเชิงของการใช้อานาจหน้าที่ในการควบคุม ▸ 2. ลักษณะของความรับผิดชอบ (Responsibility Aspect) ▹ ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาจะต้องตระหนักและรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ท่ไี ด้รับ มอบหมายจากผู้บังคับบัญชา ▸ 3. ลักษณะของการติดต่อสื่อสาร (Communication Aspect) ▹ ผู้บังคับบัญชาและผู้อยูใ่ ต้บังคับบัญชาจะต้องปรึกษาหารือกันอยูเ่ ป็นประจา เช่น การรายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน หรือการปรึกษาหารือเพื่อหาแนวทาง ในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ 17 “ ช่วงการควบคุม (Span of Control) คือ สิ่งที่ทาให้ ทราบว่าผู้บังคับบัญชาหนึ่งคนมีขอบเขตที่จะต้อง รับผิดชอบเพียงใด มีจ านวนผู้อ ยู่ใต้บังคั บบัญ ชา เท่าไร หรื อมีหน่วยงานที่อยู่ในความรับ ผิดชอบกี่ หน่วยงาน….. …..การจัดช่วงการบังคับบัญชาเป็นเทคนิคที่สาคัญ ป ร ะ ก า ร ห นึ่ ง ใ น ก า ร บ ริ ห า ร อ ง ค์ ก า ร ใ ห้ มี ประสิทธิภาพ….. 18 ประเภทของช่วงการควบคุม ▸ 1. ช่วงการควบคุมแบบแคบ ▸ 2. ช่วงการควบคุมแบบกว้าง 19 ช่วงการควบคุมแบบแคบ 20 “ ช่วงการควบคุมแบบแคบ หมายถึง การที่ผู้บริหาร มีจานวนของผู้อยูใ่ ต้บังคับบัญชาโดยตรงน้อย.....ข้อดีของช่วงการควบคุมแบบแคบ คือ บุคลากร ที่มีความรู้และความสามารถจะเลื่อนขึ้นสู่ตาแหน่ง ที่สูงขีน้ ได้….. ….. ข้อเสียของช่วงการควบคุมแบบแคบ คือ ความ ล่าช้าในการปฏิบัติงาน ความผิดพลาดของข้อมูล ข่าวสาร รวมทั้งภาระค่าใช้จ่ายด้านตาแหน่งงานที่ สูงขึ้น….. 21 ช่วงการควบคุมแบบกว้าง 22 ช่วงการควบคุมแบบกว้าง หมายถึง การที่ผู้บริหาร “ หนึ่ ง คนมี จ านวนของผู้ อ ยู่ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชามากใน ระดับบริหารเดียวกัน….. …..ข้อดีของช่วงการควบคุมแบบกว้าง ได้แก่ การ สั่ ง การและการประสานงานที่ ร วดเร็ ว ข้ อ มู ล ข่ า วสารชั ด เจนไม่ ถู ก บิ ด เบื อ น และผู้ บ ริ ห าร สามารถบริหารด้วยความรับผิดชอบสูง….. …..ข้ อ จ ากั ด ของช่ ว งการควบคุ ม แบบกว้ า ง คื อ ผู้ปฏิบัติงานที่มีค วามรู้ค วามสามารถไม่สามารถ เลื่อนขึ้นสู่ตาแหน่งที่สูงได้ทาให้มีอัตราการลาออก จากองค์การสูง….. 23 3 การบริหารและการจัดองค์การ การบริหารองค์การแบบดั้งเดิม กับการบริหารองค์การแบบใหม่ การบริหารองค์การแบบดั้งเดิม การบริหารองค์การแบบใหม่ คงสภาพเดิม เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ ยึดกฎเกณฑ์และระเบียบที่เคร่งครัด มีกฎระเบียบที่ยืดหยุ่นได้ มุ่งเน้นปริมาณงาน มุ่งเน้นผลการปฏิบัติงาน งานถูกกาหนดโดยตาแหน่ง งานถูกกาหนดโดยลักษณะงาน ต่างคนต่างทา ทางานเป็นทีม จ้างแบบถาวร จ้างแบบชั่วคราว มอบหมายงาน ร่วมกันทางาน ผูบ้ ริหารตัดสินใจ ร่วมตัดสินใจ ยึดถือองค์การเป็นหลัก ยึดถือลูกค้าเป็นหลัก ผูป้ ฏิบัติงานอยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกัน ผูป้ ฏิบัติงานมีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ เวลาทางานตายตัว เวลาทางานยืดหยุ่น ความสัมพันธ์แนวดิ่ง ความสัมพันธ์แนวนอนและเครือข่าย กาหนดสถานที่ทางาน ไม่กาหนดสถานที่แต่ตอ้ งสามารถติดต่อสื่อสารได้ 25 หลักการจัดองค์การ ▸ 1. หลักวัตถุประสงค์ (Consideration of Objectives) ▹ องค์การต้องกาหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนเพื่อใช้เป็นแนวทางหรือทิศทางให้บุคลากรยึดถือ และปฏิบัตติ าม ซึ่งวัตถุประสงค์องค์การมีบทบาทสาคัญในการกาหนดโครงสร้างองค์การ ▸ 2. หลักการแบ่งโครงสร้างและจาแนกสายงาน (Departmentalization and Separation of Line) ▹ การจัดองค์การที่มีประสิทธิภาพจะต้องมีโครงสร้างและแยกสายงานออกจากกันให้ชัดเจน ▸ 3. หลักการกาหนดลักษณะของงานและแบ่งงานตามความเชี่ยวชาญเฉพาะ (Definition of Jobs and Specialization) ▹ การกาหนดลักษณะงานว่าควรอยู่ในหน่วยงานใดและจะมอบหมายให้บุคคลใดดาเนินการ ซึ่งงานทุกประเภทไม่ควรซ้าซ้อนและก้าวก่ายกัน 26 หลักการจัดองค์การ (ต่อ) ▸ 4. หลักสายบังคับบัญชา (Chain of command) ▹ ทุกองค์การต้องกาหนดสายบังคับบัญชาตามลาดับขั้น การออกคาสั่งควรปฏิบัติตามลาดับ ขัน้ ของสายการบังคับบัญชา ไม่ควรออกคาสั่งข้ามหน้าผู้ที่มีความรับผิดชอบโดยตรง ▸ 5. หลักเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) ▹ ผู้บริหารควรให้ผู้ปฏิบัติงานรับคาสั่งจากผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้างานเพียงคนเดียว งานที่ มีลักษณะคล้ายคลึงหรือสัมพันธ์กัน ควรจะต้องอยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของคนเดียวกัน เพื่อให้เกิดเอกภาพในการบังคับบัญชา ▸ 6. หลักช่วงการบังคับบัญชาหรือช่วงของการควบคุม (Span of Supervision or Span of Control) ▹ เป็นการกาหนดขีดความสามารถในการบังคับบัญชาของผู้บริหารในการควบคุมดูแล ผู้ใต้บังคับบัญชา หากช่วงการควบคุมแคบผู้บริหารจะมีการควบคุมอย่างเข้มงวด เนื่องจาก ได้ดูแลลูกน้องเพียงไม่ก่คี น แต่หากช่วงการควบคุมกว้างผู้บริหารอาจดูแลได้ไม่ทั่วถึง 27 หลักการจัดองค์การ (ต่อ) ▸ 7. หลักการใช้อานาจ หน้าที่และความรับผิดชอบ (Authority and Responsibility) ▹ เมื่อบุคคลใดได้รับมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ก็ควรจะได้รับ มอบหมายให้มีอานาจเพียงพอเพื่อให้การปฏิบัติงานสาเร็จได้ดว้ ยดี ▸ 8. หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) ▹ การกระจายอานาจลงไปยังส่วนล่างขององค์การที่ลดหลั่นไปตามสายงานและลาดับชั้น ผู้บังคับบัญชาที่สูงกว่าจะเป็นผู้ควบคุมและตัดสินใจในการทางานตามลาดับชั้นของอานาจ ที่เป็นรูปพีระมิด ▸ 9. หลักการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน (Communication and Coordination) ▹ เป็นการสร้างความเข้าใจในการทางานให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ โดยผู้บริหารจะต้อง มีวิธใี นการโน้มน้าวทุกฝ่ายให้ร่วมมือและทางานสอดคล้องกันเพื่อประโยชน์ขององค์การ 28 หลักการจัดองค์การ (ต่อ) ▸ 10. หลักความยืดหยุ่นและต่อเนื่อง (Flexibility and Continuity) ▹ เป็นหลักการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการตามความเหมาะสมและการเปลี่ยนแปลงของ ปัจจัยสภาพแวดล้อมในหลากหลายรูปแบบ โดยการบริหารและการดาเนินงานของ องค์การต้องมีความยืดหยุ่นและต่อเนื่องมากพอที่จะพัฒนาองค์การให้เจริญก้าวหน้าต่อไป ▸ 11. หลักความสมดุลของปัจจัยต่าง ๆ (Balance of Factors) ▹ ผู้บริหารจะต้องพิจารณาองค์ประกอบทุกอย่างด้วยความรอบคอบเพื่อให้การทางานมี ความสมดุล อาทิเช่น การกระจายอานาจ ช่วงการบังคับบัญชา หรือการมอบหมายงานใน ปริมาณที่ใกล้เคียงกัน เพื่อให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ▸ 12. หลักการรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (Integration) ▹ ผู้บริหารมีหน้าที่ในการขับเคลื่อนความเป็นหนึ่งเดียวกัน โดยให้ความสาคัญกับบุคลากรทุก คนอย่างเสมอภาคในการปฏิบัตหิ น้าที่ร่วมกัน ช่วยเหลือเกือ้ กูลกันและสามารถบรรลุ เป้าหมายขององค์การได้ 29 4 ระดับและหน้าที่ของผู้บริหารองค์การ ระดับและหน้าที่การบริหารงาน ▸ 1. ผู้บริหารระดับต้น ▹ เป็นผู้บริหารที่อยู่สว่ นล่างขององค์การ ทาหน้าที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ปฏิบัตงิ าน โดยการ กากับดูแล สั่งการ และเสนอรายงานต่อผู้บริหารระดับกลางและระดับสูงต่อไป ▸ 2. ผู้บริหารระดับกลาง ▹ เป็นผู้บริหารที่อยู่ระหว่างผู้บริหารระดับต้นและผู้บริหารระดับสูง มีหน้าที่รับนโยบายจาก ผู้บริหารระดับสูงไปปฏิบัติในฝ่ายของตน โดยการวางแผนและกาหนดวิธกี ารปฏิบัตงิ าน เพื่อให้ประสบความสาเร็จตามนโยบายของผู้บริหารระดับสูง ▸ 3. ผู้บริหารระดับสูง ▹ เป็นผู้บริหารที่อยู่ในตาแหน่งสูงสุดขององค์การ มีหน้าที่บริหารงานตลอดทั้งองค์การโดย การกาหนดวัตถุประสงค์ กลยุทธ์ นโยบาย วางแผน ตลอดทัง้ ตัดสินใจแก้ปัญหาในประเด็น ที่มีความสาคัญ 31 ระดับการบริหารงานและทักษะของผู้บริหาร 32 ผู้บริหารองค์การแบบดั้งเดิม กับผู้บริหารองค์การแบบใหม่ ผู้บริหารองค์การแบบดั้งเดิม ผู้บริหารองค์การแบบใหม่ ยุคอุตสาหกรรม ยุคสารสารสนเทศ ยึดถือความคงที่ ยึดถือการเปลี่ยนแปลง มุ่งเน้นการควบคุม มุ่งเน้นการกระจายอานาจ มุ่งการแข่งขัน มุ่งความร่วมมือ มุ่งงาน มุ่งบุคคลและความสัมพันธ์ อันดีระหว่างกัน เป็นรูปแบบเดียวกัน มีความหลากหลาย 33 5 การบริหารโดยองค์คณะบุคคล “ การบริ ห ารองค์ ก ารแบบใหม่ ยึ ด หลั ก การกระจาย อ านาจและการบริ ห ารแบบมี ส่ ว นร่ ว ม โดยมี ก าร บริหารในรูปแบบคณะกรรมการหรือที่เรียกกันว่าองค์ คณะบุคคล…. …..แนวคิ ด การบริ ห ารโดยองค์ ค ณะบุ ค คล หรื อ คณะกรรมการในการบริหารงานสถานศึกษาและเขต พื้นที่การศึกษา เกิดขึ้นตามพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และเข้ามามีบทบาทในการร่วม ขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษาให้มปี ระสิทธิภาพ….. 35 “ การบริหารโดยองค์คณะบุคคลว่า หมายถึง รูปแบบ การบริหารโดยมีบุคคลหลายฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมใน การก าหนดนโยบาย ตั ด สิ น ใจ ร่ ว มรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผลลัพ ธ์ และผลกระทบของการด าเนิ น การ รวมทั้ ง ร่วมวางแนวทางต่าง ๆ เพื่อให้การบริหารเกิดสัมฤทธิ์ ผลตามวัตถุประสงค์ท่วี างไว้ 36 องค์ประกอบขององค์คณะบุคคล 1. 2. องค์ป ระกอบขององค์ค ณะ องค์ป ระกอบขององค์ค ณะ บุ ค คลในการบริ ห ารงาน บุคคลในการบริหารงานเขต สถานศึกษา พื้นทีก่ ารศึกษา 37 องค์ประกอบของ องค์คณะบุคคลในการ บริหารงานสถานศึกษา 38 องค์ประกอบขององค์คณะบุคคล ในการบริหารงานสถานศึกษา 1. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น 2. คณะกรรมการ พื้นฐาน บริหารหลักสูตรและ - สถานศึกษาขนาดเล็ก งานวิชาการ - นักเรียนไม่เกิน 300 คน สถานศึกษา - มีคณะกรรมการ 9 คน - สถานศึกษาขนาดใหญ่ - มีนักเรียนเกิน 300 คน - มีคณะกรรมการ 15 คน (พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ, 2546; พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา, 2547) 39 องค์ประกอบของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ▸ 1. ประธานกรรมการ ▸ 2. กรรมการที่เป็นผู้แทนผู้ปกครอง จานวน 1 คน ▸ 3. กรรมการที่เป็นผู้แทนครู จานวน 1 คน ▸ 4. กรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กรชุมชน จานวน 1 คน ▸ 5. กรรมการที่เป็นผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 1 คน ▸ 6. กรรมการที่เป็นผู้แทนศิษย์เก่า จานวน 1 คน ▸ 7. กรรมการที่เป็นผู้แทนพระภิกษุสงฆ์ หรือผู้แทนองค์กรศาสนาในพื้นที่ จานวน 1 รูป หรือ 1 คน สาหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก และจานวน 2 รูป หรือ 2 คน สาหรับ สถานศึกษาขนาดใหญ่ ▸ 8. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒจิ านวน 1 คน สาหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก และจานวน 6 คนสาหรับสถานศึกษาขนาดใหญ่ ▸ 9. ผู้อานวยการ เป็นกรรมการและเลขานุการ 40 อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ▸ ประชุมอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง ▹ 1. กากับการดาเนินการของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับกฏหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ คาสั่ง และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พื้นฐานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และความต้องการของ ชุมชนและท้องถิ่น ▹ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินการกิจการด้านต่าง ๆ ของสถานศึกษา ▹ 3. มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล สาหรับข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา ตามที่กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการ และบุคลากรทางการศึกษากาหนด ▹ 4. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนดให้เป็นอานาจ หน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 41 องค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการสถานศึกษา ▸ 1. ผู้บริหารสถานศึกษา เป็นประธาน ▸ 2. ผู้ชว่ ยผู้บริหารสถานศึกษา เป็นรองประธาน ▸ 3. หัวหน้าหมวดวิชาหรือกลุ่มวิชา เป็นกรรมการ ▸ 4. หัวหน้างานแนะแนว เป็นกรรมการ ▸ 5. หัวหน้าด้านวัดผลและประเมินผล เป็นกรรมการ ▸ 6. ผู้ช่วยผู้บริหารฝ่ายวิชาการ เป็นกรรมการ *ในกรณีที่สถานศึกษาไม่มผี ชู้ ว่ ยผูบ้ ริหาร ให้ผู้บริหารสถานศึกษาพิจารณาแต่งตั้งผูท้ ี่เหมาะสมเป็นรองประธาน กรรมการ และเป็นกรรมการและเลขานุการ และในกรณีที่เห็นควรให้มกี รรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ให้ พิจารณาแต่งตัง้ ได้ตามความเหมาะสม (ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาพืน้ ฐาน, 2544) 42 อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการสถานศึกษา ▸ ประชุมอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ▸ การวางแผนการดาเนินงาน ครั้ง วิชาการ ▸ มีคณะที่ปรึกษาซึ่งอาจเป็นบุคคลที่ ▸ การกาหนดสาระการเรียนรู้และ เป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น กิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน พื้นฐานหรือไม่ก็ได้ ▸ การกากับ ติดตามการพัฒนา ▸ มีคณะอนุกรรมการระดับกลุม่ วิชา หลักสูตร จานวน 9 คณะ อยู่ภายใต้คณะ ▸ การจัดกระบวนการเรียนรู้ และ กรรมการบริหารหลักสูตรและงาน การวัดและประเมินผลให้มี วิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประสิทธิภาพ 43 องค์ประกอบขององค์คณะ บุคคลในการบริหารงาน เขตพื้นที่การศึกษา 44 องค์ประกอบขององค์คณะบุคคลใน การบริหารงานเขตพื้นที่การศึกษา 1. คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศ การศึกษา 45 องค์ประกอบของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ▸ 1. ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นประธานกรรมการ ▸ 2. กรรมการที่เป็นผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษาขัน้ พื้นฐานของรัฐ จานวนหนึ่งคน ▸ 3. กรรมการที่เป็นผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษาขัน้ พื้นฐานของเอกชน จานวนหนึ่งคน ▸ 4. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนห้าคน ซึ่งแต่งตั้งจากผู้ท่มี ีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงในด้านการศึกษาปฐมวัย ด้านการศึกษาขั้น พื้นฐาน ด้านการวิจัยและประเมินผล ด้านการบริหารการศึกษา ด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้านรวมกัน ▸ 5. หัวหน้ากลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา เป็นกรรมการและ เลขานุการ 46 อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา ▸ 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการนามาตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐาน มากาหนดเป็นแนวทาง ในการติดตาม ประเมินผลและนิเทศการบริหารและการดาเนินการของหน่วยงานและ สถานศึกษา ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ▸ 2. กาหนดแนวทางการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย การบริหารและการดาเนินการของ หน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ▸ 3. พิจารณาแผนการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลและนิเทศการศึกษา โดย มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด ▸ เขตพื้นที่การศึกษา ▸ 4. ติดตาม ประเมินผลและนิเทศการบริหารและการดาเนินการตามแผนที่กาหนด 47 อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา (ต่อ) ▸ 5. รับทราบผลการติดตาม ประเมินผลและนิเทศการบริหารและการดาเนินการตาม แผน และให้ข้อเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงและพัฒนา ▸ คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ▸ 6. ส่งเสริมให้มกี ารประสานงานการติดตาม ประเมินผล และนิเทศการศึกษา กับ คณะกรรมการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ▸ 7. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษาตามความ จาเป็น ▸ 8. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย 48 หลักการบริหาร โดยองค์คณะบุคคล 49 “ …การบริหารโดยองค์คณะบุคคลประกอบไปด้วย 2 ฝ่ายที่มสี ่วนสาคัญในการบริหาร… 1. ฝ่ายสานักงาน คือ ฝ่ายปฏิบัติงานประจาและทา หน้าที่บริหารงานโดยตรง 2. ฝ่ายคณะกรรมการ คือ ฝ่ายบริหารทางอ้อม โดย ใช้อานาจจากการประชุมในการกาหนดแนวทางการ ดาเนินงานเพื่อให้ฝ่ายบริหารนาไปปฏิบัติ …..หากฝ่ายสานักงานและฝ่ายคณะกรรมการเข้าใจ คลาดเคลื่อนในบทบาทและอานาจหน้าที่ของตน อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งในการปฏิบัติงานได้…., 50 หลักการบริหารโดยองค์คณะบุคคล ▸ 1. มีหลักเกณฑ์ ระเบียบ หรือข้อบังคับต่าง ๆ เป็นตัวกาหนดบทบาทหน้าที่ขององค์ คณะบุคคล เพื่อให้การบริหารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ขอบเขตที่กฎหมาย กาหนด และไม่ละเมิดสิทธิหรือภารกิจของผู้บริหารสถานศึกษา/ผู้บริหารการศึกษา หรือบุคลากรที่ปฏิบัติงานในองค์การ ▸ 2. ปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจด้วยความรับผิดชอบและความรวดเร็ว โดยนานโยบาย แนวคิด และ/หรือข้อเสนอแนะที่ได้จากการปรึกษาหารือ การพบปะ หรือการประชุม กับองค์คณะบุคคล ไปปฏิบัติอย่างเต็มกาลังความรูแ้ ละความสามารถ 51 หลักการบริหารโดยองค์คณะบุคคล (ต่อ) ▸ 3. การบริหาร การตัดสินใจ และการปฏิบัติการใด ๆ ก็ตามต้องยึดถือประโยชน์ของ ส่วนรวมเป็นหลัก เพราะองค์คณะบุคคลเป็นตัวแทนของสาธารณชน ทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้องจึงคาดหวังในความเป็นกลางและการก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อส่วนรวมในทุก กิจกรรมอย่างแท้จริง ▸ 4. การใช้อานาจของคณะกรรมการต้องตั้งอยูบ่ นพื้นฐานแห่งความเป็นเหตุและผล การ บริหารที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือระเบียบข้อบังคับของกฎหมายจะก่อให้เกิดความ เสียหายต่อองค์การและสาธารณชนโดยรวม ผู้บริหารในฐานะกรรมการและเลขานุการ จึงต้องมีทมี งานในการรวบรวมข้อมูลและข้อเท็จจริงเสนอต่อที่ประชุมพร้อมชีแ้ จง เหตุผลที่ชัดเจนให้คณะกรรมการรับทราบ 52 ลักษณะสาคัญของการบริหารโดยองค์คณะบุคคล ▸ 1) การใช้ปัญญาธรรม ▹ การใช้สติปัญญาในการวิเคราะห์และตัดสินใจอย่างมีเหตุผล การแสดงออกทาง ความคิดในการอภิปรายเรื่องต่าง ๆ และการใช้ดุลยพินิจในการรับฟังความคิดเห็น ของผูอ้ ื่น ▸ 2) การใช้คารวะธรรม ▹ การเคารพความคิดเห็นที่แตกต่างและให้เกียรติซึ่งกันและกัน เคารพในกฎหมาย กฎระเบียบ เคารพในมติของที่ประชุมและสิทธิของผูอ้ ื่น โดยไม่นาเรื่องที่เป็นข้อยุติ ในที่ประชุมไปวิพากษ์วิจารณ์ให้เกิดความเสื่อมเสียต่อองค์คณะบุคคล ▸ 3) การใช้สามัคคีธรรม ▹ การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการด้วยความสามัคคีและเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน การทางานเป็นหมู่คณะเพื่อประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน การร่วมกันคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมภาคภูมใิ จในผลสาเร็จด้วยกัน 53 เทคนิคการบริหาร โดยองค์คณะบุคคล 54 เทคนิคการบริหารโดยองค์คณะบุคคล ▸ 1. เทคนิคการบริหารแบบทีมงาน ▹ การรวมตัวของบุคคลในการร่วมกันคิดและปฏิบัติงานด้วยความสามารถที่ หลากหลาย เรียนรูแ้ ละอาศัยพึ่งพาซึ่งกันและกัน โดยมีผู้นาทีมที่มวี ิธกี ารบริหาร ให้บุคคลในทีมงานทางานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ▸ 2. เทคนิคการบริหารแบบมีสว่ นร่วม ▹ บุคคลที่เกี่ยวข้องอาจมีส่วนร่วมโดยตาแหน่ง หรืออาจเชิญมาตามความสามารถ และความถนัดของแต่ละบุคคล ▸ 3. เทคนิคการควบคุมคุณภาพแบบกลุม่ ควบคุม ▹ กลุ่มบุคคลขนาดเล็กประมาณ 10–12 คน ซึ่งจะต้องมีการประชุมปรึกษาหารือ ร่วมกันในการวิเคราะห์ปัญหาและจัดหาวิธีการแก้ไขปรับปรุงประสิทธิภาพการ ดาเนินงานขององค์การ โดยมีผบู้ ริหารรับฟังความคิดเห็นไปประกอบการตัดสินใจ 55 ปัจจัยเกื้อหนุนการบริหารโดยองค์คณะบุคคล ▸ 1. ปัจจัยภายในหน่วยงาน ▹ เสรีภาพหรืออิสระที่บุคลากรได้รับในการปฏิบัติหน้าที่แบบประชาธิปไตย โดย ผู้บริหารจะต้องสนับสนุนให้บุคลากรมีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็นอย่าง ตรงไปตรงมา ▸ 2. ปัจจัยภายนอกหน่วยงาน ▹ ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากชุมชนและเครือข่ายภายนอก เพื่อเข้ามามีสว่ นร่วม ในการแสดงความคิดเห็น ▸ 3. ปัจจัยด้านผู้บริหาร ▹ ผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นา รู้จักวิธีการผลักดันการทางานเป็นทีม การสร้างความ สามัคคี และการสมานความสัมพันธ์ให้ทุกคนเต็มใจร่วมกันปฏิบัติงาน 56 คาถามทบทวน ▸ 1. การจัดโครงสร้างการบริหารของสถานศึกษาและโครงสร้างการบริหารของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร จงอธิบาย ▸ 2. อธิบายหลักในการจัดองค์การอย่างน้อยสามประการที่สามารถทาให้การบริหาร จัดการมีประสิทธิภาพสูงสุด ▸ 3. ท่านเห็นด้วยกับทักษะในการบริหารองค์การของผูบ้ ริหารแต่ละระดับหรือไม่ เพราะเหตุใด ▸ 4. ท่านเห็นด้วยกับรูปแบบการบริหารโดยองค์คณะบุคคลหรือไม่ จงอธิบายข้อดี และข้อจากัดของการบริหารโดยองค์คณะบุคคล 57 ขอบคุณ ถาม-ตอบประเด็นข้อสงสัย 58

Use Quizgecko on...
Browser
Browser