Document Details

CreativeTin2914

Uploaded by CreativeTin2914

Kasetsart University

ดร.ดารารัตน์ ซึมพัฒนวงษ์

Tags

tourism tourism types travel tourism studies

Summary

This document covers the meaning and types of tourism in Thailand. It explores the evolution of tourism from past to present and details the various categories of travelers. A variety of different aspects of tourism are discussed, like the role of the tourist, destinations, and other key elements.

Full Transcript

TOURISM FOR WELL-BEING การท่องเที่ยวเพื่อความผาสุก 01390103 เรียบเรียงโดย อ.ดร.ดารารัตน์ ซิม้ พัฒนวงษ์ บทที่ 1ความหมาย และประเภทของการท่องเที่ยว อดีต VS ปั จจุบัน อดีต ภาพของการเดินทางท่องเที่ยวยังเป็ นภาพที่ถกู จํากัด กระทํากันโดยคนบาง กลุม่ ที่เป็ นส่วนน้อย แ...

TOURISM FOR WELL-BEING การท่องเที่ยวเพื่อความผาสุก 01390103 เรียบเรียงโดย อ.ดร.ดารารัตน์ ซิม้ พัฒนวงษ์ บทที่ 1ความหมาย และประเภทของการท่องเที่ยว อดีต VS ปั จจุบัน อดีต ภาพของการเดินทางท่องเที่ยวยังเป็ นภาพที่ถกู จํากัด กระทํากันโดยคนบาง กลุม่ ที่เป็ นส่วนน้อย แต่หากคนส่วนใหญ่มกั มองภาพของการเดินทางท่องเที่ยวว่า เป็ นสิ่งที่ไม่คอ่ ยเป็ นที่ยอมรับว่าเป็ นส่วนหนึ่งของการให้กาํ ไรชีวิต ซํา้ ร้ายยังถูก มองว่าเป็ นการใช้ชีวิต แบบไม่มีสาระแก่นสาร ปั จจุบัน มีการคมนาคมที่สะดวก คนมีความเครียดจากหน้าที่การงาน การเกิด พฤติกรรม เลียนแบบ ความต้องการความภาคภูมิใจในชีวิต การเดินทางท่องเที่ยวจึง กลับกลายเป็ นค่านิยมของคน แทบทุกชนชัน้ ธุรกิจต่างๆ จึงพากันเกิดขึน้ ตามมาเพื่อ รองรับกิจกรรมในการเดินทางท่องเที่ยว จุดประสงค์ของการเดินทาง  เยีย่ มญาติ  ทาธุรกิจ  ดูกฬ ี า  ไปประชุม  พักผ่อน ่ื  จุดประสงค์อน การเดินทางท่องเที่ยวไม่วา่ จะด้วยวัตถุประสงค์ใด สิ่งสําคัญที่ เกิดขึน้ ตามมาคือความ ต้องการพืน้ ฐานระหว่างการเดินทางท่องเที่ยว นั่นคือ ความต้องการที่พกั ต้องการอาหาร ต้องการซือ้ ของฝาก ต้องการแลกเงิน ต้องการคนนําทาง ต้องการท่องเที่ยวในที่แปลก ใหม่ หรือที่ใจต้องการอยากไป ต้องการตั๋วเดินทาง และอื่น ๆ อีกมากมาย การท่องเทีย่ วกับหลากหลายอาชีพ  พนักงานต้อนรับ พนักงานเสิรฟ์ มัคคุเทศก์ พนักงานขายของที่ระลึก ช่างฝี มือทําของที่ระลึก พนักงานธนาคาร ลูกจ้างในสถานประกอบการ ฯลฯ  เกิดการกระจายธุรกิจ กระจายอาชีพ และท้ายที่สาํ คัญที่สดุ คือการกระจายรายได้ นั่นคือสาเหตุ ของประเทศไทยในยุคหลายสิบปี ท่ีผา่ นมาในการให้ความสําคัญกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ตอกยํา้ สําคัญ ทําไมเราจึงต้องสร้างความประทับใจให้เกิดขึน้ กับนักท่องเที่ยว องค์ประกอบสาคัญของการท่องเทีย่ ว นักท่องเทีย่ ว ถือเป็ นองค์ประกอบทีส่ าคัญของอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว เนื่องจากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเป็ นอุตสาหกรรมการบริการที่ตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวให้ นักท่องเที่ยวได้รบั ความสะดวกสบายและความพึงพอใจ ถ้าหากประเทศใดหรือพืน้ ที่ใดมีนกั ท่องเที่ยวเดินทางเข้า มาท่องเที่ยวมาก ก็จะเกิดกิจกรรมและการบริการทางด้านการท่องเที่ยวต่างๆ ในการตอบสนองความ ต้องการของ นักท่องเที่ยวมากตามไปด้วย โดยทุกประเทศพยายามวิเคราะห์การตลาดท่องเที่ยวและใช้ ส่วนผสมทางการตลาด ท่องเที่ยวเข้าแข่งขันดึงนักท่องเที่ยวให้มาท่องเที่ยวในประเทศของตนมากขึน้ เพื่อให้รายได้จากการท่องเที่ยว สามารถนําไปพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ ให้เจริญก้าวหน้า ด้วยเหตุนี ้ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจึงต้องผูกพันกับ นักท่องเที่ยวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เราจึงต้องทําความรูจ้ กั กับนักท่องเที่ยว เพื่อจะได้ตอบสนองความต้องการของ นักท่องเที่ยวได้อย่างถูกต้อง ความหมายของนักท่องเทีย่ ว นักท่องเทีย่ ว (Tourists) ตามความหมายของสันนิบาตชาติ ได้ให้คาํ นิยามไว้ในปี พ.ศ.2480 ว่านักท่องเที่ยว หมายถึง บุคคลทีเ่ ดินทางอยู่ในประเทศหนึ่งประเทศใดที่ มิใช่บ้านเมืองทีอ่ าศัยอยู่เป็ นประจา เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง และได้ให้ความหมายเพิ่มเติมต่อไปว่า บุคคลทีน่ ับเป็ นนักท่องเทีย่ วและบุคคลทีไ่ ม่นับเป็ นนักท่องเทีย่ วมีดงั ต่อไปนีค้ อื บุคคลที่นบั เป็ นนักท่องเที่ยว ได้แก่ 1) ผูเ้ ดินทางเพื่อพักผ่อนหย่อนใจหรือเพื่อสุขภาพ 2) ผูเ้ ดินทางไปประชุมหรือประกอบภารกิจอย่างใดอย่างหนึ่ง 3) ผูเ้ ดินทางเพื่อทําธุรกิจการค้าบางประการ 4) ผูเ้ ดินทางมากับเรือที่เพลินตากับทิวทัศน์สองฝั่ งนํา้ แม้จะแวะพักอยูน่ อ้ ยกว่า 24 ชั่วโมง ก็ตาม บุคคลทีไ่ ม่นับเป็ นนักท่องเทีย่ ว 1) ผูท้ ่ีเดินทางมาเพื่อประกอบอาชีพใดอาชีพหนึ่งหรือประกอบธุรกิจที่มีรายได้ในประเทศ นัน้ โดย จะมีสญ ั ญาไว้กบั ผูใ้ ดหรือไม่ก็ตาม 2) ผูเ้ ดินทางมาเพื่อตัง้ ถิ่นฐานที่อยูอ่ ย่างถาวรในประเทศนัน้ 3) ผูเ้ ดินทางข้ามพรมแดนไปทํางานนอกประเทศของตน 4) ผูเ้ ดินทางเพื่อเข้าไปเป็ นนักเรียนหรือนักศึกษาที่อาศัยอยูใ่ นที่ท่ีจดั ไว้เป็ นหอพัก นักเรียนนักศึกษา 5) ผูเ้ ดินผ่านทางโดยมิได้แวะลงจากยานพาหนะเลย แม้วา่ จะเดินทางอยูใ่ นอาณาเขตของ ประเทศ ใดประเทศหนึ่ง เป็ นเวลามากกว่า 24 ชั่วโมงก็ตาม 6) ผูล้ ภี ้ ยั ทางการเมืองหรือผูล้ ภี ้ ยั ทางศาสนาไปอยูต่ า่ งประเทศหรือผูล้ ภี ้ ยั สงคราม ต่อมาในปี พ.ศ.2493 สหพันธ์องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวระหว่างประเทศ ได้หยิบยกคํา นิยามของนักท่องเที่ยวมาพิจารณาใหม่ และได้ตกลงให้นกั เรียนหรือนักศึกษาต่างประเทศ เป็ น นักท่องเที่ยวด้วย เพราะค่าใช้จ่ายของนักเรียนนักศึกษาเหล่านัน้ มาจากต่างประเทศ นอกจากนัน้ ยังให้ เรียกผูเ้ ดินทางที่ตงั้ ใจมาท่องเที่ยว ณ ประเทศหนึ่ง แต่อยูไ่ ม่ถึง 24 ชั่วโมงว่าเป็ น “นักทัศนาจร” ซึง่ รวมถึงผูโ้ ดยสารที่เดินทางผ่านประเทศโดยมิได้ออกจาก บริเวณที่จดั ไว้สาํ หรับผูเ้ ดินทางผ่านสนามบินด้วย ปี ค.ศ.1963 (พ.ศ.2506) องค์การสหประชาชาติได้ให้คาํ จํากัดความของคําว่า “การท่องเที่ยว” ในคราวประชุมว่าด้วยการเดินทางและท่องเที่ยว ณ กรุงโรมประเทศอิตาลี ว่า หมายถึงกิจกรรมที่มี เงื่อนไขที่เกี่ยวข้องอยู่ 3 ประการ คือ 1. ต้องเดินทางจากที่อยูป่ กติไปยังที่อ่ืนเป็ นการชั่วคราว แต่มิใช่ไปตัง้ หลักแหล่งเป็ นการถาวร 2. การเดินทางนัน้ เป็ นไปด้วยความสมัครใจ หรือความพึงพอใจของผูเ้ ดินทางเอง ไม่ใช่เป็ น การ ถูกบังคับ 3. เป็ นการเดินทางที่ไม่ได้มีวตั ถุเพื่อการประกอบอาชีพหรือหารายได้ แต่เป็ นการเดินทางเพื่อ การ พักผ่อนหย่อนใจ เพื่อเยี่ยมเยือนญาติมิตร เพื่อความเบิกบาน บันเทิงเริงรมย์ เพื่อเล่นกีฬาต่างๆ เพื่อการประชุมสัมมนา เพื่อศึกษาหาความรู ้ เพื่อติดต่อธุรกิจ ฯลฯ พร้อมทัง้ ให้ประเทศสมาชิกใช้คาํ ว่า “ผูม้ าเยือน”(Visitors) แทนคําว่า “นักท่องเที่ยวที่ ค้างคืน” (Tourists) โดยระบุคาํ ว่า “ผูม้ าเยือน” มีความหมาย 2 ประการ คือ 1. นักท่องเที่ยวที่คา้ งคืน(Tourists) ได้แก่ ผูเ้ ดินทางมาเยือนชั่วคราวซึง่ พักอยูใ่ น ประเทศที่มาเยือนตัง้ แต่ 24 ชั่วโมงขึน้ ไปและเดินทางมาเยือนเพื่อพักผ่อน พักฟื ้ น ทัศนศึกษา ประกอบศาสนกิจ ร่วมการแข่งขันกีฬา ติดต่อธุรกิจ หรือร่วมการ ประชุมสัมมนา ฯลฯ เป็ นต้น 2. นักท่องเที่ยวที่ไม่คา้ งคืน(นักทัศนาจร หรือ Excursionists) ได้แก่ ผูเ้ ดินทางมา เยือนชั่วคราว และอยูใ่ นประเทศที่มาเยือนน้อยกว่า 24 ชั่วโมง เวลาผ่านไปจน ปี ค.ศ.1968(พ.ศ.2511) องค์การท่องเที่ยวแห่งโลก (WORLD TOURISM ORGANIZATION : WTO) ได้ ประกาศใช้คาํ นิยามเกี่ยวกับนักท่องเที่ยว ภายหลังจากการประชุมเรื่องการ เดินทางและการท่องเที่ยวระหว่างประเทศ (INTERNATIONAL TRAVEL AND TOURISM) ที่กรุงโรม ประเทศ อิตาลี โดยเสนอแนะให้ประเทศสมาชิกใช้คาํ นิยามที่หมายถึง “นักท่องเที่ยว” ดังนี ้ TRAVELER หมายถึง ผูเ้ ดินทาง นักเดินทาง นักท่องเที่ยว ซึง่ รวมถึง ผูท้ ่ีสามารถนํามา จัดเก็บเป็ นข้อมูลสถิติได้ เช่น นักท่องเที่ยว (TOURIST) และเก็บรวบรวมเป็ นสถิติไม่ได้ เช่น ผูอ้ พยพ (IMMIGRANT) ผูเ้ ร่รอน (NOMAD) ผูโ้ ดยสารที่เดินทางผ่าน (TRANSIT PASSENGER) ผูท้ าํ งาน ตามชายแดน (BORDER WORKER) ผูป้ ฏิบตั ิราชการที่ได้รบั มอบหมายในประเทศนัน้ (DIPLOMAT, REPRESENTATIVE OF CONSULATE, MEMBER OF ARMED FORCE) และผูล้ ภี ้ ยั (REFUGEE) VISITOR หมายถึง ผู้มาเยือน นักท่องเทีย่ ว โดยแยกออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1) Tourist หมายถึง นักท่องเที่ยวที่คา้ งคืน เดินทางมาเยือนและพักอยูใ่ นประเทศ ตัง้ แต่ 24 ชั่วโมงขึน้ ไป โดยใช้บริการสถานที่พกั แรม ณ แหล่งท่องเที่ยวนัน้ ๆ (Local Accommodation) โดยแยก ตามลักษณะของนักท่องเที่ยวดังนี ้ - International Tourist หมายถึง นักท่องเที่ยวระหว่างประเทศที่คา้ งคืนเดินทางเข้ามา ใน ประเทศและพํานักอยูค่ รัง้ หนึ่งๆ ไม่นอ้ ยกว่า 24 ชั่วโมง(1 คืน) และไม่เกิน 60 วัน - Domestic Tourist หมายถึง นักท่องเที่ยวภายในประเทศที่คา้ งคืนอาจเป็ นคนไทย หรือคน ต่างด้าวที่อยูใ่ นประเทศไทยเดินทางมาจากจังหวัดที่อยูอ่ าศัยปกติของตนไปยังจังหวัดอื่นๆ ระยะเวลาที่พาํ นักอยูไ่ ม่เกิน 60 วัน 2) Excursionist หมายถึง นักทัศนาจร นักท่องเที่ยวที่ไม่คา้ งคืน (Day Visitor) เดินทางมา เยือนชั่วคราว และอยูใ่ นประเทศน้อยกว่า 24 ชั่วโมง และไม่ได้ใช้บริการ สถานที่พกั แรม ณ แหล่ง ท่องเที่ยวนัน้ ๆ เช่น ผูเ้ ดินทางมากับเรือสําราญ (Cruise) โดยแยกตามลักษณะของนักท่องเที่ยวได้ใน ทํานองเดียวกัน คือ International Excursionist หมายถึง นักทัศนาจรระหว่างประเทศ และ Domestic Excursionist หมายถึง นักทัศนาจรภายในประเทศ สําหรับประเทศไทย พระราชบัญญัติการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย พ.ศ.2522 มาตรา 4 ได้ ให้ความหมายของคําว่านักท่องเที่ยวว่า หมายถึง บุคคลที่เดินทางจากท้องถิ่น อันเป็ นถิ่นที่อยูโ่ ดยปกติ ของ ตนไปยังท้องถิ่นอื่นเป็ นการชั่วคราว ด้วยความสมัครใจและด้วย วัตถุประสงค์ท่ีมิใช่เพื่อประกอบ อาชีพหรือหารายได้ ประเทศไทยได้กาหนดความหมายเกีย่ วกับคาว่านักท่องเทีย่ ว ประเภทต่างๆ ไว้ ดังนี้ นักท่องเทีย่ วชาวต่างประเทศ หรือนักท่องเทีย่ วระหว่างประเทศ (Foreign Tourist or International Tourist) หมายถึง นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาเที่ยวใน ประเทศไทย นักท่องเทีย่ วภายในประเทศ (Domestic Tourists) หมายถึง นักท่องเที่ยวที่มีถ่ินที่อยูห่ รือที่ พํานักถาวรในประเทศไทยในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่ง อาจจะเป็ นคนไทยหรือคนต่างชาติท่ีพาํ นักอาศัย ถาวรในประเทศไทยก็ได้และมีการเดินทางท่องเที่ยวในจังหวัดอื่นอันมิใช่จงั หวัดที่เขามีถ่ินที่อยู่ หรือที่ พํานักอันถาวรนัน้ ประเภทของนักท่องเทีย่ ว หากจะแบ่งนักท่องเที่ยวให้เป็ นที่เข้าใจในระดับสากล สามารถแบ่งได้ 3 ลักษณะคือ 1. นักท่องเที่ยว Inbound คือนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติท่ีเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศ 2. นักท่องเที่ยว Outbound คือนักท่องเที่ยวจากในประเทศเดินทางไปท่องเที่ยวยัง ต่างประเทศ 3. นักท่องเที่ยว Domestic คือการเดินทางท่องเที่ยวของคนภายในประเทศของตน ประเภทของนักท่องเทีย่ วแบ่งตามความสามารถในการใช้จ่าย 1. นักท่องเทีย่ วประเภท หรูหรา 2. นักท่องเทีย่ วประเภท ระดับกลาง 3. นักท่องเทีย่ วประเภท ระดับมวลชน  1. นักท่องเที่ยวประเภทหรูหรา เป็ นนักท่องเที่ยวประเภทที่มีรายได้สงู มักเรียกร้อง บริการ ทางการท่องเที่ยวชนิดหรูหรา และพร้อมที่จะจ่ายค่าบริการ ในอัตราสูง ทํา ให้ผปู้ ระกอบธุรกิจท่องเที่ยว มีกาํ ไรต่อหน่วยสูงจากการขายบริการให้ นักท่องเที่ยวประเภทนี ้ โดยปกตินกั ท่องเที่ยวประเภทนี ้ จะมีจาํ นวนไม่มากนัก  2. นักท่องเที่ยวประเภทระดับกลาง เป็ นนักท่องเที่ยวประเภทที่มีรายได้ปานกลาง ไม่จจู้ ี ้ หรือ เรียกร้องบริการทางการท่องเที่ยวมากเหมือนนักท่องเที่ยวประเภทหรูหรา นักท่องเที่ยวประเภทระดับกลางนีม้ กั เป็ นนักท่องเที่ยวที่ มุง่ หาความสนุกสนานเป็ น สําคัญ โดยมีบริการทางการท่องเที่ยวที่ ไม่ตอ้ งหรูหรามากนัก แต่ก็ไม่แย่จนเกินไป โดย ปกตินกั ท่องเที่ยวประเภทนีจ้ ะมีจาํ นวนมากกว่า นักท่องเที่ยวประเภทหรู หรา จึงทําให้ผู้ ประกอบกิจการทางการท่องเที่ยวมีรายได้มากตามจํานวน นักท่องเที่ยว แต่สามารถทํา กําไรต่อหน่วยไม่สงู นัก  3. นักท่องเที่ยวประเภทระดับมวลชน เป็ นนักท่องเที่ยวประเภทที่มีจาํ นวนมาก ที่สดุ ส่วนมากมีรายได้นอ้ ย หรืออาจไม่มีรายได้ประจํา ต้องการบริการทางการ ท่องเที่ยวแบบพืน้ ๆ ในราคาถูก เอาใจง่าย นักท่องเที่ยวประเภทนี ้ เพิ่งจะ เกิดขึน้ เมื่อไม่นานมานีเ้ องโดยได้รบั การจูงใจจากการโฆษณา และบริการที่ ธุรกิจนําเที่ยวจัดขึน้ เพื่อชักชวน นักท่องเที่ยวประเภทนีม้ ีจาํ นวนมาก ทําให้ผู้ ประกอบกิจการทางการท่องเที่ยว มีรายได้มากตามไปด้วย แต่สามารถทํากําไร ต่อหน่วยน้อย อีกทัง้ ยังมีการแข่งขันสูง การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทยได้แบ่งนักท่องเทีย่ วออกเป็ นประเภท ต่างๆ เพือ่ ประโยชน์ในงานสถิติ 1) นักท่องเที่ยวระหว่างประเทศ คือบุคคลที่มิได้มีท่ีพาํ นักถาวรในราชอาณาจักรไทยเดิน ทางเข้ามา เพื่อพักผ่อนเยี่ยมญาติมิตร ศึกษาหาความรู ้ การกีฬา การศาสนา ติดต่อธุรกิจ หรือประกอบ ภารกิจใดๆ ทัง้ นี ้ ต้องมิได้รบั ค่าจ้างในการประกอบภารกิจนัน้ จากผูใ้ ดในราชอาณาจักรไทย 2) นักท่องเที่ยวระหว่างประเทศที่คา้ งคืน คือนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศที่เข้ามาใน อาณาจักรไทย แต่ละครัง้ อย่างน้อย 1 คืน แต่ไม่เกิน 60 วัน 3) นักท่องเที่ยวระหว่างประเทศที่ไม่คา้ งคืน คือนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศที่เข้ามาอยูใ่ น ราชอาณาจักรไทยแต่ละครัง้ โดยมิได้คา้ งคืน 4. นักท่องเที่ยวภายในประเทศ คือบุคคลทุกสัญชาติท่ีมีท่ีพาํ นักอาศัยถาวรอยูใ่ นราชอาณาจักรไทยและเดินทางไป ยังสถานที่หนึ่งในอีกจังหวัดหนึ่ง ซึง่ มิใช่เป็ นถิ่นที่อยู่ประจําของเขาเพื่อพักผ่อน เยี่ยมญาติมิตร ศึกษาหาความรู ้ การ กีฬา การศาสนา การประชุม สัมมนา ติดต่อธุรกิจ หรือประกอบภารกิจใด ๆ ทัง้ นีต้ อ้ งมิได้รบั ค่าจ้างในการประกอบ ภารกิจนัน้ จากผูใ้ ด ณ สถานที่แห่งนัน้ 5. นักท่องเที่ยวภายในประเทศที่คา้ งคืน (Domestic Tourist) คือนักท่องเที่ยวภายในประเทศที่ไปค้างคืน นอกที่พาํ นักอาศัยปั จจุบนั แต่ละครัง้ อย่างน้อย 1 คืน 6. นักท่องเที่ยวภายในประเทศที่ไม่คา้ งคืน (Domestic Excursionist) คือนักท่องเที่ยว ภายในประเทศ ที่มิได้พกั ค้างคืนนอกที่พาํ นักอาศัยปั จจุบนั องค์ประกอบความต้องการของนักท่องเทีย่ ว ปั จจัยพืน้ ฐานที่นกั ท่องเที่ยวต้องการก่อนตัดสินใจพิจารณาก่อนเลือกสถานที่เดินทางหรือเลือกใช้ บริการในแหล่งท่องเที่ยว มีดงั นี ้  1. ทรัพยากรท่องเที่ยว หรือสิ่งดึงดูดใจให้เกิดการเดินทางเข้าไปเยี่ยมชม ซึง่ มีอยูม่ ากมาย และ ขึน้ อยูก่ บั ความชื่นชอบของนักท่องเที่ยว เช่น อุทยานแห่งชาติ วัดวาอาราม มรดกโลก สิ่งมหัศจรรย์  2. โครงสร้างพืน้ ฐาน ที่นกั ท่องเที่ยวจําเป็ นต้องใช้ระหว่างการเดินทางท่องเที่ยวประกอบด้วย ไฟฟ้าแสงสว่าง นํา้ ประปา โทรศัพท์ ระบบกําจัดสิ่งปฏิกลู การคมนาคม การสื่อสาร ถนนหนทาง สนามบิน รถไฟ สวนสาธารณะ โรงพยาบาล สถานีรถประจําทาง สถานีรถไฟ ที่พกั ตากอากาศ โรงแรม ภัตตาคารร้านอาหาร ศูนย์ช็อปปิ ้ง สถานที่บนั เทิง พิพิธภัณฑ์  3. การขนส่ง ได้แก่พาหนะ ที่ใช้ในการบริการรับส่งนักท่องเที่ยวระหว่างการเดินทางท่องเที่ยว เช่น เรือ เครือ่ งบิน รถไฟ รถประจําทาง รถบัส แท็กซี่ รถยนต์ รถไฟฟ้า พาหนะทัง้ หลายควรมีพนักงานที่ มีความพร้อมในการให้บริการ มีความสะดวกสบาย ปลอดภัยได้มาตรฐาน มีโครงข่าย เชื่อมต่อกัน  4. การต้อนรับขับสู้ ของเจ้าบ้านหรือของคนในท้องถิ่นที่มีแหล่งท่องเที่ยว เจ้าบ้านต้องมี ทัศนคติท่ี ดีสาํ หรับแขก ต้องแสดงออกถึงความสุภาพ ความเป็ นมิตร ความจริงใจ ซื่อสัตย์ พร้อมที่จะคอย ช่วยเหลือทําในสิ่งที่สามารถทําให้นกั ท่องเที่ยวเกิดความประทับใจ  5. ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินในระหว่างการเดินทางท่องเที่ยวในทุกๆ ที่ แม้วา่ แหล่งท่องเที่ยวจะมีความ สวยงามชวนให้อยากไปเยี่ยมชมมากเท่าใด แต่หากแหล่งท่องเที่ยวนัน้ ขาดความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินก็ ยากที่นกั ท่องเที่ยวจะตัดสินใจเดินทางไป รัฐบาล ตลอดจนเจ้าของแหล่งท่องเที่ยวจึงต้องมีมาตรการสร้างความ มั่นใจให้เกิดขึน้ กับนักท่องเที่ยวทําให้เขา รูส้ กึ ว่าเขาจะได้รบั ความสะดวกสบายปลอดภัยไร้กงั วล ระหว่างเดินทาง มาท่องเที่ยวในแหล่งพืน้ ที่ของตน  6. ผูใ้ ห้บริการนําเที่ยว ปั จจัยข้อนีส้ าํ คัญมากสําหรับนักท่องเที่ยวที่มีความต้องการที่จะ ใช้บริการจากบริษัทนําเที่ยวเพื่อลดภาระขัน้ ตอนของตนเอง ชื่อเสียง การบริการ ภาพลักษณ์ของบริษัทนําเที่ยวจึงเป็ นสิ่งที่สาํ คัญที่จะทําให้นกั ท่องเที่ยวเชื่อมั่นและ ตัดสินใจใช้บริการจากบริษัทนําเที่ยว รู ปแบบการท่องเทีย่ วตามลักษณะการจัดการการเดินทาง  การท่องเที่ยวในลักษณะนีแ้ บ่งเป็ น 2 รูปแบบใหญ่ ตามลักษณะของการจัดการเดินทางของ นักท่องเที่ยว คือ การท่องเที่ยวแบบหมูค่ ณะและการท่องเที่ยวแบบอิสระ (สุวฒ ั น์ และจริญญา, 2544)  1. การท่องเที่ยวแบบหมูค่ ณ ู ะ (Group Individual Tourism) เป็ นรูปแบบของการนํา เที่ยว ที่นกั ท่องเที่ยวซือ้ รายการนําเที่ยว (Package Tour) จากบริษัทนําเที่ยว โดยเดินทาง ท่องเที่ยวเป็ นหมูค่ ณะ ซึง่ เป็ นการจัดการท่องเที่ยวที่มีนกั ท่องเที่ยว 11-15 คนขึน้ ไป  2. การท่องเที่ยวแบบอิสระ (FIT-Foreign Individual Tourism) เป็ นลักษณะของการ ท่องเที่ยวที่นกั ท่องเที่ยววางแผนจัดการเดินทางด้วยตนเอง หรืออาจใช้บริการของบริษัทนําเที่ยวใน การอํานวยความสะดวกบางส่วน เหตุผลในการเลือกเดินทางในรู ปแบบหมู่คณะ 1.ประหยัดเงิน 2.มีเพื่อนร่วมทาง 3.ความเหมาะสมคล่องตัว 4.ความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร 5.สิทธิพิเศษที่ได้รบั เหตุผลในการเลือกเดินทางท่องเทีย่ วแบบอิสระ 1. มีความเป็ นส่วนตัวสูงและสามารถยืดหยุน่ เวลาได้ตามต้องการ โอกาสในการเยี่ยมชม สถานที่ท่สี นใจเฉพาะได้อย่างละเอียด 2. ได้เดินทางท่องเที่ยวอย่างมีคณ ุ ภาพมากกว่าปริมาณแหล่งท่องเที่ยวที่ได้ไปเยือน รูปแบบการท่องเทีย่ วตามสภาพภูมิศาสตร์การเดินทาง และถิน่ พานักของนักท่องเทีย่ ว 1. การท่องเทีย่ วระหว่างประเทศ International tourism 1.1 การท่องเที่ยวขาออก Outbound tourism 1.2 การท่องเที่ยวขาเข้า Inbound tourism 2. การท่องเทีย่ วในประเทศ Internal tourism 2.1 นักท่องเที่ยวภายในประเทศ Domestic tourist 2.2 นักท่องเที่ยวขาเข้า Inbound tourist นักท่องเทีย่ วระหว่างประเทศ WTO นิยามไว้ว่า คือ บุคคลทีเ่ ดินทางจากถิน่ พานักถาวรของตนไปอีกประเทศหนึ่ง โดย มีการค้างคืนในประเทศทีต่ นไปเยือนอย่างน้อย 1 คืน แต่ไม่เกิน 1 ปี ด้วยวัตถุประสงค์ใดๆ ทีม่ ิใช่เพือ่ หารายได้ 1. นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ (Foreigner) 2. นักท่องเที่ยวโพ้นทะเล (Overseas tourist) 3. นักท่องเที่ยวที่มีถ่ินพํานักชั่วคราวในต่างประเทศที่ไม่ใช่ถ่ินฐานเดิมของตน (Expatriate) รู ปแบบการท่องเทีย่ วตามวัตถุประสงค์ของการเดินทาง 1. การท่องเที่ยวเพื่อความเพลิดเพลินและการพักผ่อน 2. การท่องเที่ยวเพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ 3. การท่องเที่ยวเพื่อการประชุมนานาชาติ Meeting, Incentive, Conference/Convention/Congress and Exhibition: MICE 4. การท่องเที่ยวเพื่อความสนใจพิเศษ Special interest tourism การท่องเทีย่ วเพือ่ ความสนใจพิเศษ SPECIAL INTEREST TOURISM 1. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ Eco-tourism 2. การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและกีฬา Health tourism, Sport tourism การท่องเที่ยวเชิงผจญภัย Adventure tourism 3. การท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม Cultural tourism 4. การท่องเที่ยวเพื่อสัมผัสชาติพนั ธุแ์ ละวัฒนธรรมพืน้ ถิ่น Ethic tourism 5. การท่องเที่ยวเพื่อการศึกษา Educational tourism ข้อคิดท้ายบท ทบทวนคาศัพท์ นิยาม และประเภทของการท่องเทีย่ ว ยกตัวอย่างการท่องเทีย่ วประเภทต่างๆ

Use Quizgecko on...
Browser
Browser