พัฒนาลูกค้าและชุมชน: โครงการอบรม ปี 2567 PDF
Document Details
Uploaded by ResourcefulCentaur
2567
รพีรัตน์ ราชเพ็ชร
Tags
Summary
เอกสารนี้เป็นโครงการถ่ายทอดความรู้ด้านการพัฒนาลูกค้าและชุมชนสำหรับพนักงานในปี 2567 ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ เช่น การพัฒนาลูกค้า ชุมชนและชนบท นโยบายธนาคารและนโยบายรัฐ และหลักการบริหารสินเชื่อ
Full Transcript
โครงการถ่ ายทอดความรู้สู่ พนักงาน ปี บัญชี 2567 ความรู้ ด้านพัฒนาลูกค้ าและชุมชน รพีร ัตน์ ราชเพ็ชร ผอ.ลอ ความรู้เฉพาะตาแหน่งพัฒนาลูกค้าและชุมชน 1. การพัฒนาลูกค้า / ชุมชน / ชนบท...
โครงการถ่ ายทอดความรู้สู่ พนักงาน ปี บัญชี 2567 ความรู้ ด้านพัฒนาลูกค้ าและชุมชน รพีร ัตน์ ราชเพ็ชร ผอ.ลอ ความรู้เฉพาะตาแหน่งพัฒนาลูกค้าและชุมชน 1. การพัฒนาลูกค้า / ชุมชน / ชนบท 5. ความรู้ด้านนโยบายธนาคารและนโยบายรัฐ 1.1 สถาบันการเงินประชาชน กองทุนหมู่บ้าน และวิสาหกิจชุมชน 5.1 เกษตรแปลงใหญ่ 1.2 ชุมชนอุดมสุข / ศูนย์เรียนรู้ / ชุมชนท่องเที่ยว 5.2 โครงการพักชาระหนี้ / การฟื้นฟูศักยภาพลูกค้าพักชาระหนี้ 1.3 D&MBA 5.3 ความรู้ทางการเงิน (Financial Literacy) และ 2. การขับเคลื่อนงานจาก Corporate Social Responsibility (CSR) สู่ CSV Digital Literacy 2.1 ธนาคารต้นไม้ / ชุมชนไม้มีค่า / การใช้ไม้เป็นหลักประกัน 6. ความรู้ในการจัดทาแผนงานและบริหารโครงการ 2.2 BAAC Carbon Credit 6.1 การจัดทาแผนงาน 3. หลักการบริหารสินเชื่อ และผลิตภัณฑ์สินเชื่อที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาลูกค้า 6.2 การบริหารโครงการ ชุมชน / ชนบท เช่น สินเชื่อธุรกิจชุมชนสร้างไทย, สินเชื่อ BCG เป็นต้น 6.3 การจัดทาแผนธุรกิจ 4. การพัฒนาการเพิ่มมูลค่าผลผลิต และช่องทางการตลาด / เทคโนโลยี 7. หลักการบัญชีเบื้องต้น หลักการตลาดเบื้องต้น นวัตกรรม / แปรรูปผลผลิตมูลค่าสูง 7.1 หลักการบัญชี 4.1 การพัฒนา YSF / Smart Farmer / New Gen / SMEs หัวขบวน 7.2 หลักการตลาด 4.2 การฟื้นฟู พัฒนา และยกระดับ สกต. / สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร 8. บทบาทและหน้าที่พนักงานพัฒนาลูกค้า 4.3 ช่องทางการตลาดออนไลน์ / ออฟไลน์ 4.4 การยกระดับสินค้าเกษตรมูลค่าสูง 2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และมิติการขับเคลื่อนงาน ปีบัญชี 2567 วิสัยทัศน์ (Vision) “เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่ยั่งยืน” พันธกิจ (Mission) M1 เป็นศูนย์กลางทางการเงินที่ให้บริการทางการเงินครบวงจร และทันสมัยแก่ลูกค้าในภาคชนบท M2 พัฒนาการบริหารและจัดการทรัพยากร เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรประสิทธิภาพสูงอย่างมีธรรมาภิบาล M3 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนและเพิ่มรายได้ของคนในชนบท M4 สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจในชุมชน โดยให้ความรู้และเงินทุนที่คานึงถึงคุณค่าร่วมทีส่ มดุลด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม มิติการขับเคลื่อนเพื่อมุ่งสู่วิสัยทัศน์ ยกระดับธนาคารสู่ความยั่งยืน พัฒนาชนบทที่ยั่งยืน พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินครบวงจร และทันสมัย เพื่อสร้าง ฟื้นฟู พัฒนา และยกระดับความเข้มแข็งของเศรษฐกิจระดับครัวเรือน โดยเชื่อมโยงการผลิต ขีดความสามารถในการแข่งขันและการเติบโตอย่างยั่งยืน และการตลาดตลอดห่วงโซ่ เพื่อสร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร เพิ่มขีดความสามารถขององค์กรและบุคลากรอย่างมีธรรมาภิบาล ยกระดับ ส่งเสริมความรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สนับสนุนการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมการเกษตร เพื่อสร้าง ประสิทธิภาพการดาเนินงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล การพัฒนาฐานข้อมูล และนวัตกรรม ความเข้มแข็ง ยกระดับเศรษฐกิจชุมชน และแก้ไขหนี้นอกระบบ 3 ตาแหน่งทางยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning) 2571 “เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่ยั่งยืน” เกษตรกร ผู้ประกอบการ สหกรณ์ สถาบันฯ ≥ 1,500,000 ราย ROA ≥ ร้อยละ 0.47 ได้รับการพัฒนา ยกระดับ และเชื่อมโยงตลาด NPLs/Loan ≤ ร้อยละ 3.50 เกษตรกรรุ่นใหม่ได้รับการพัฒนา 50,000 ราย และ สัดส่วนธุรกรรมดิจิทัล 70 : 30 Environment SME หัวขบวน 10,000 ราย (สะสม) Governance ผู้ใช้ BAAC Mobile (สะสม) ≥ 14 ล้านราย & Social HCROI ≥ 4.5 เป้าหมายจ่ายสินเชื่อเพื่อความยั่งยืน 100,000 ล้านบาท (สะสม) 2570 “ให้บริการผ่านดิจิทัลตลอดทั้งกระบวนการ (Fully Digital Bank) อย่างยั่งยืน” เกษตรกร ผู้ประกอบการ สหกรณ์ สถาบันฯ ≥ 1,200,000 ราย ได้รับการพัฒนา ROA ≥ ร้อยละ 0.46 ยกระดับ และเชื่อมโยงตลาด NPLs/Loan ≤ ร้อยละ 3.50 เกษตรกรรุ่นใหม่ได้รับการพัฒนา 40,000 ราย และ SME หัวขบวน สัดส่วนธุรกรรมดิจิทัล 70 : 30 Environment & Social 8,000 ราย (สะสม) Governance ผู้ใช้ BAAC Mobile (สะสม) ≥ 10 ล้านราย 2569 เป้าหมายจ่ายสินเชื่อเพื่อความยั่งยืน 75,000 ล้านบาท (สะสม) HCROI ≥ 4.4 “เป็นศูนย์กลางการเงินภาคชนบทเกษตรกรมีความมั่นคงทางอาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้น” ROA ≥ ร้อยละ 0.45 เกษตรกร ผู้ประกอบการ สหกรณ์ สถาบันฯ ≥ 900,000 ราย ได้รับการพัฒนา NPLs/Loan ≤ ร้อยละ 3.50 ยกระดับ และเชื่อมโยงตลาด สัดส่วนธุรกรรมดิจิทัล 70 : 30 เกษตรกรรุ่นใหม่ได้รับการพัฒนา 30,000 ราย และ SME หัวขบวน 6,000 ราย (สะสม) Environment Governance ผู้ใช้ BAAC Mobile (สะสม) ≥ 7 ล้านราย & Social เป้าหมายจ่ายสินเชื่อเพื่อความยั่งยืน 50,000 ล้านบาท (สะสม) HCROI ≥ 4.3 2568 “เชื่อมโยงภาคการเกษตร โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้บริการ (Digital Services) การเงิน ครอบคลุมธุรกิจหลักของธนาคาร” ROA ≥ ร้อยละ 0.44 เกษตรกรกลุ่มพักหนี้ ได้รับการพัฒนาความรู้ ศักยภาพ และเชื่อมโยงตลาด ≥ 600,000 ราย (สะสม) NPLs/Loan ≤ ร้อยละ 3.50 เกษตรกรนอกกลุ่มพักหนี้ : พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ 20,000 ราย และ Environment SME หัวขบวน 4,000 ราย (สะสม) สัดส่วนธุรกรรมดิจิทัล 65 : 35 & Social เป้าหมายจ่ายสินเชื่อเพื่อความยั่งยืน 25,000 ล้านบาท (สะสม) Governance ผู้ใช้ BAAC Mobile (สะสม) ≥ 5 ล้านราย 2567 HCROI ≥ 4.1 “เชื่อมโยงเครือข่ายด้านการเกษตรตลอดห่วงโซ่คุณค่า และยกระดับการให้บริการทางการเงินครบวงจร” ROA ≥ ร้อยละ 0.43 เกษตรกรกลุ่มพักหนี้ ได้รับการพัฒนาความรู้ ศักยภาพ และเชื่อมโยงตลาด ≥ 300,000 ราย NPLs/Loan ≤ ร้อยละ 3.96 เกษตรกรนอกกลุ่มพักหนี้: พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ 10,000 ราย และ SME หัวขบวน 2,000 ราย สัดส่วนธุรกรรมดิจิทัล 60 : 40 Environment & Social เป้าหมายจ่ายสินเชื่อเพื่อความยั่งยืน 10,000 ล้านบาท Governance ผู้ใช้ BAAC Mobile (สะสม) ≥ 4 ล้านราย HCROI ≥ 4.0 4 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ นโยบาย และทิศทางการด าเนินงานของธนาคารในการขับเคลื่อนภารกิจขององค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ นโยบาย และทิศทางการด าเนินงานของธนาคารในการขับเคลื่อนภารกิจขององค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ นโยบาย และทิศทางการด าเนินงานของธนาคารในการขับเคลื่อนภารกิจขององค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ นโยบาย และทิศทางการด าเนินงานของธนาคารในการขับเคลื่อนภารกิจขององค์กร ทิศทางการดาเนินงาน ปีบัญชี 2567 ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และโครงการเชิงยุทธศาสตร์ 5 ยุทธศาสตร์ 11 กลยุทธ์ 22 โครงการเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Project : SP) แผนแม่บท (Operation Project) กลยุทธ์ 1 : เติบโตสินเชื่ออย่างมีคุณภาพ สินเชื่อยั่งยืน SP67-1 ปรับกระบวนการอานวยสินเชื่อรายใหญ่ สหกรณ์ฯ และขยายฐานลูกค้าใหม่ สินเชื่อเติบโต 90,000 ลบ. SP67-2 เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการอานวยสินเชื่อรายย่อย อัตราผลตอบแทนเงินให้สินเชื่อ (Loan Yield) ≥ ร้อยละ 4.56 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินทรัพย์ 1 และรายได้อย่างสมดุล ยอดจ่ายสินเชื่อเพื่อความยั่งยืน 10,000 ลบ. กลยุทธ์ 2 : จัดหาสภาพคล่องให้เพียงพอด้วยต้นทุนที่เหมาะสม SP67-3 สร้างความสัมพันธ์และขยายฐานลูกค้าเงินฝาก SP67-4 ยกระดับธุรกรรมเงินฝากอิเล็กทรอนิกส์ BIS Ratio ≥ ร้อยละ 12 เงินรับฝากเติบโต 120,000 ลบ. อัตราต้นทุนเงินฝาก (Deposit Cost) ≤ ร้อยละ 1.15 SP67-5 การแก้ไข พ.ร.บ. ธ.ก.ส. รองรับธุรกิจใหม่ ROA ≥ ร้อยละ 0.43 Liquidity Ratio ≥ ร้อยละ 11 กลยุทธ์ 3: ยกระดับการเพิ่มรายได้ SP67-6 การปรับกลยุทธ์การลงทุนในตลาดการเงินเชิงรุก Coverage Ratio ≥ ร้อยละ 737 รายได้ตลาดการเงิน 10,000 ลบ. SP67-7 การปรับปรุงกระบวนการขายธุรกิจประกันภัย รายได้ค่าบริการและค่าธรรมเนียม 5,480 ลบ. รายได้ธุรกิจประกันภัย 1,920 ลบ. SP67-8 การบริหารจัดการหนี้เชิงพื้นที่ตามศักยภาพ กลยุทธ์ 4 : บริหารจัดการ NPL ยกมาต้นปี ยกระดับการบริหารจัดการคุณภาพสินเชื่อ SP67-9 การออกแบบกระบวนการ Write off ทางบัญชี และ Write off แบบสูญเสีย 2 อย่างยั่งยืน NPL ยกมาต้นปีลดลง ≥ 45,550 ลบ. กลยุทธ์ 5 : บริหารจัดการหนี้ถึงกาหนดชาระ SP67-10 พัฒนาระบบบริหารจัดการหนี้ถึงกาหนดชาระ (Electronic Dashboard) NPLs/Loan ≤ ร้อยละ 3.96 อัตราการรับชาระหนี้ ร้อยละ 98 SP67-11 ฟื้นฟูศักยภาพลูกค้าพักหนี้ พัฒนา สร้างความสัมพันธ์ เพื่อเสริมความ กลยุทธ์ 6 : พัฒนาศักยภาพ และเพิ่มขีดความสามารถของลูกค้า 3 เข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก กลุ่มพักหนี้ 300,000 ราย รายได้ลูกค้าเพิ่มขึ้น หรือต้นทุนลดลง SP67-12 จัดตั้งบริษัทเพื่อเชื่อมโยงสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่ หรือเพิ่มผลผลิต ≥ ร้อยละ 15 SP67-13 พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่หัวขบวนเพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ หนี้สินต่อรายได้ภาคการเกษตรของลูกค้าเกษตรกร กลยุทธ์ 7: สร้างความสัมพันธ์ลูกค้าเพิ่มปริมาณธุรกิจ SP67-14 เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการเพิ่มปริมาณธุรกิจ ที่ผ่านการพัฒนาลดลง ≥ ร้อยละ 13 ลูกค้าที่พัฒนามีการทาธุรกิจกับธนาคาร ≥ ร้อยละ 90 ความพึงพอใจลูกค้าภาพรวมของธนาคาร (ระดับ) 4.8 ลูกค้าบุคคล ทาธุรกรรมกับธนาคาร ≥ ร้อยละ 90 ลูกค้าสินเชื่อนิติบุคคล ทาธุรกรรมกับธนาคาร ≥ ร้อยละ 80 SP67-15 เพิ่มบริการบน BAAC Mobile ครอบคลุมบริบทธนาคาร และเทียบเท่าคู่เทียบ กลยุทธ์ 8 : ยกระดับ BAAC Mobile เพิ่มขีดความสามารถองค์กรและบุคลากร SP67-16 เพิ่มประสิทธิภาพองค์กรด้วยข้อมูล (Data Driven) 4 ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล จานวนลูกค้า BAAC Mobile (สะสม) ≥ 4 ล้านราย ปริมาณธุรกรรม BAAC Mobile เพิ่มขึ้น ≥ 120 ล้านธุรกรรม SP67-17 ยกระดับกระบวนการ 2nd Line โดยใช้เทคโนโลยี กลยุทธ์ 9 : ยกระดับกระบวนการทางานด้วยดิจิทัล และข้อมูล SP67-18 ยกระดับกระบวนการตรวจสอบภายในโดยใช้ Virtual Audit แผนปฏิบัติการส่วนงาน Digital Transaction ≥ ร้อยละ 60 HCROI ≥ 4.0 เท่า ร้อยละความสาเร็จของโครงการ 16-19 ร้อยละ 100 SP67-19 ลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก กลยุทธ์ 10 : บริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์รองรับกระบวนการทางานด้านดิจิทัล SP67-20 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารทรัพยากรมนุษย์รองรับดิจิทัล 58 ส่วนงาน สร้างมูลค่าเพิ่มทางธุรกิจแก่องค์กรและลูกค้า (30 ฝ่าย 28 สานัก) 5 ด้วยนวัตกรรม สัดส่วนค่าใช้จ่ายพนักงานต่อค่าใช้จ่ายดาเนินงานรวม ≤ ร้อยละ 65 SP67-21 พัฒนานวัตกรรมองค์กรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร กลยุทธ์ 11 : การขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางธุรกิจ ROI จากนวัตกรรม ≥ ร้อยละ 5 รายได้ที่เพิ่มขึ้นและ/หรือค่าใช้จ่ายที่ลดลง จานวน 1,000 ล้านบาท SP67-22 ขยายผลนวัตกรรมเกษตรสู่การใช้ประโยชน์ 9 10 วิสัยทัศน์ (Vision) “เป็นธนาคารพัฒนาชนบทที่ยั่งยืน” เป็นศูนย์กลางทางการเงินที่ให้บริการทางการเงิน ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน พันธกิจ (Mission) ครบวงจร และทันสมัยแก่ลูกค้าในภาคชนบท เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนและเพิ่มรายได้ของคนในชนบท พัฒนาการบริหารและจัดการทรัพยากร เพื่อมุ่งสู่การเป็น สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจในชุมชน โดยให้ความรู้และเงินทุน องค์กรประสิทธิภาพสูงอย่างมีธรรมาภิบาล ที่คานึงถึงคุณค่าร่วมที่สมดุลด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ยกระดับธนาคารสู่ความยั่งยืน พัฒนาชนบทที่ยั่งยืน พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินครบวงจร และทันสมัย เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันและการ ฟื้นฟู พัฒนา และยกระดับความเข้มแข็งของเศรษฐกิจระดับครัวเรือน โดยเชื่อมโยงการผลิตและการตลาดตลอด เติบโตอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์ ห่วงโซ่ เพื่อสร้างรายได้และยกระดับคุณภาพชีวติ ของเกษตรกร เพิ่มขีดความสามารถขององค์กรและบุคลากรอย่างมีธรรมาภิบาล ยกระดับประสิทธิภาพการดาเนินงานด้วย ส่งเสริมความรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สนับสนุนการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมการเกษตร เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ยกระดับ เทคโนโลยีดิจิทัล การพัฒนาฐานข้อมูล และนวัตกรรม เศรษฐกิจชุมชน และแก้ไขหนี้นอกระบบ พัฒนาชนบททีย่ ั่งยืน ฝ่ายพัฒนาลูกค้าและชุมชน พล. ชุมชน รายคน + ชุมชน วิสาหกิจชุมชน สถาบันการเงินประชาชน การพัฒนา สานักพัฒนา SME และ Startup สพ. Startup + หัวขบวน เศรษฐกิจ หัวขบวน ชุมชน สานักพัฒนาลูกค้าสถาบันและองค์ชุมชน เกษตรกร ลอ. สถาบันเกษตรกร + ตลาด + วิสาหกิจชุมชน + ท่องเที่ยวชุมชน พล. แผนงาน/โครงการ และงบประมาณ ปีบัญชี 2567 MD MD โครงการพัฒนา โครงการ D&MBA : Design & โครงการยกระดับสมุนไพร โครงการส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืน โครงการฟื้นฟูพัฒนา โครงการยกระดับธนาคาร โครงการยกระดับชุมชน ตามการพัฒนาเชิงพื้นที่ (Area Financial & Digital Manage by Area พัฒนา โดยใช้เทคโนโลยีพลังงาน ศักยภาพลูกค้าพักชาระหนี้ ต้นไม้เพื่อสนับสนุนสู่ อุดมสุขสู่การเป็นแกนกลาง Based Approach) Literacy ลูกค้าพักหนี้ หัวขบวนสู่แกนกลาง สะอาด Carbon Neutrality การเกษตร แผนยุทธศาสตร์ แผนแม่บท CSR การเกษตร แผนงานงบกองทุนการตลาดฯ พัฒนาโครงการT-VER ชุมชนอุดมสุขเป็น เกษตรกรตามมาตรการ หัวขบวนผู้ผ่านการพัฒนา สร้างผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น พื้นที่เกษตรยั่งยืน ตามการ ผ่านการพัฒนา 76 แห่ง แกนกลางทางการเกษตร พักหนี้ผ่านการพัฒนา 154 ราย อย่างน้อย 18 ผลิตภัณฑ์ พัฒนาเชิงพื้นที่ 20 แห่ง จานวน 300,000 ราย 181 ชุมชน จานวน 300,000 ราย พื้นที่ 10,000 ไร่ (Area base) ผู้ผ่านการฟื้นฟูพัฒนา ได้รับการขึ้นทะเบียน ชุมชนอุดมสุข ผู้ผ่านการพัฒนาร้อยละ 82 - หัวขบวนผู้ผ่านการพัฒนามี สร้างรายได้ให้กับกลุ่มฯ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น มีรายได้เพิ่มขึ้นหรือมี 4,500 181 ชุมชน มีความรู้ทางการเงินและ การเชื่อมโยงธุรกิจกับเกษตรกร ปีละ 18 ล้านบาท หรือต้นทุนลดลง หรือผลผลิต ต้นทุนลดลง ตันคาร์บอนไดออกไซด์ มีรายได้เพิ่ม ร้อยละ 5 ดิจิทัลเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า 20 ราย ต่อ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5 หรือผลผลิตเพิ่มขึ้น หัวขบวน ≥ ร้อยละ 15 - สร้างมูลค่าเพิ่ม /สร้างรายได้ / ลดต้นทุนของหัวขบวนธุรกิจ ≥ ร้อยละ 15 สานักพัฒนา SME และ STARTUP (สพ.) ปี 2567 ยุทธศาสตร ์ที่ 3 กลยุทธที่ 7 : สร ้างความสัมพันธ ์ลูกค ้าเพิมปริ ่ มาณธุรกิจ ยุทธศาสตร ์ที่ 5 กลยุทธที่ 11 : การขับเคลือนนวั ่ ่ ตกรรมเพือสร ่ ้างมูลค่าเพิมทางธุ รกิจ 01 - พัฒนา SME เกษตรหัวขบวน ่ 03 - ขับเคลือนนวั ตกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายภายนอก : โรงเรือนอัจฉริยะ กลุ่มเป้ าหมาย ่ ผูป้ ระกอบการทีธนาคารร่ วมลงทุน กลุ่มเป้ าหมาย หัวขบวนรายเดิม 2564 - 2566 จานวน 21,468 ราย ่ ้บริการสินเชือ่ SME จานวน 24,650 ราย เกษตรกร สหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน กลุม ่ บุคคล ลูกค ้าทีใช Output จานวนนวัตกรรมเกษตรร่วมกับเครือข่ายภายนอก ≥ 1 ผลงาน Output ลูกค ้า SME เกษตรหัวขบวนได ้รับการพัฒนา 3,000 ราย ่ ้าร่วมโครงการมีรายได ้สุทธิเฉลีย่ Outcome เกษตรกรทีเข Outcome ลูกค ้า SME หัวขบวนมีรายได ้จากการทาธุรกิจ ≥ ร ้อยละ 10 จานวน 2,000 ราย ่ นและ/หรื เพิมขึ ้ อค่าใช ้จ่ายลดลง ≥ ร ้อยละ 12 02 - พัฒนาเกษตรกรรุน ่ ใหม่ ้ ่ 04 - บูรณาการเครือข่าย ค ้นหานวัตกรรมเกษตรในเชิงพืนที ฐานข ้อมูลเกษตรกรรุน ่ ใหม่ ่ กลุ่มเป้ าหมาย : นวัตกรรมสิงทอ YSF (กรมส่งเสริมการเกษตร) 23,412 ราย ่ ผูป้ ระกอบการทีธนาคารร่ วมลงทุน YSF (กรมปศุสตั ว ์) 200 ราย พัฒนา ยกระดับ เกษตรกร สหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน กลุม ่ บุคคล New Gen SS1 และ SS2 12,368 ราย Output จานวนนวัตกรรมเกษตร ≥ 2 ผลงาน ทายาทเกษตรกร 420 ราย ่ อายุไม่เกิน 45 ปี Outcome ่ านวัตกรรมไปทดสอบ จานวน 2 กลุ่ม กลุ่มเป้ าหมายทีน ทายาททดแทนและลูกค ้าใหม่ ระหว่างปี ทีมี Output เกษตรกรรุน ่ ใหม่ได ้รับการพัฒนา 12,000 ราย 05 - พัฒนาห่วงโซ่ธรุ กิจเกษตรร่วมกับเครือข่าย Outcome ร ้อยละ 90 ของผูผ้ ่านการพัฒนามีการทา ธุรกรรมกับธนาคารเพิมขึ่ น้ จานวน 10,000 ราย กลุ่มเป้ าหมาย ลูกค ้าเกษตรกร ผู ้ประกอบการ เกษตรกรโคนม เครือข่ายศูนย ์เรียนรู ้ ่ เชือมโยง Output ่ ผูเ้ ข ้าร่วมโครงการได ้ร ับการพัฒนาหรือเชือมโยงธุ รกิจ 600 ราย Outcome ่ นร ผู ้เข ้าร่วมโครงการ 180 ราย มีรายได ้หรือปริมาณธุรกิจเพิมขึ ้ ้อย ละ 5 จากปี ทีผ่ ่ านมา ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนา สร้างความสัมพันธ์ เพื่อเสริมความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก กลยุทธ์ 6 : พัฒนาศักยภาพ และเพิ่มขีดความสามารถของ ลอ. ลูกค้า บริหารจัดการบริษัทเพือ่ เชื่อมโยงสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่ วิสาหกิจชุมชน / กองทุนหมู่บ้าน พัฒนา วิสาหกิจชุม/กองทุนหมู่บ้าน 77 แห่ง >> 39 แห่ง มีรายได้ 5% เป็นต้นแบบ >> 9 แห่ง พัฒนา สถาบันเกษตรกร / สกต. ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสร้างมูลค่า >> 1 ผลงาน เตรียมฟื้นฟู สกต. (เหลือง แดง) >> 58 แห่ง และฟื้นฟู สถาบันการเงิน ฟื้นฟู สกต. >> 10 แห่ง ให้ดีขึ้น รายได้เพิ่ม/ขาดทุนน้อยลง / พัฒนาองค์กรการเงินชุมชนเป็นสถาบันการเงินประชาชน >> 2 แห่ง หยุดการขาดทุน ขยายการเติบโต สถาบันเกษตรกร (สีเขียว) >> 25 แห่ง Online มีรายได้เพิ่ม 5% เชื่อมโยงตลาด Online ร่วมกับพันธมิตร >> 2 Platform ตลาด ผลิตภัณฑ์ของผูป้ ระกอบการบนตลาด Online >> 250 SKUs A Product จานวนสินค้า >> 2,500 SKUs (สะสม) (baacfarmermarket) ผู้ประกอบการขออนุญาตใช้เครื่องหมาย A-Product เตรียมจัดตั้งบริษัทร่วมทุนเพื่อเชื่อมโยงสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่ ผลิตภัณฑ์ (สินค้า/บริการ) เชื่อมโยงตลาด Online >> 50 ราย มูลค่าซื้อขาย 50 ล้านบาท คัดเลือก A-Product Premium >> 5 SKUs Offline โครงการบริหารจัดการตลาดและผลิตภัณฑ์ลูกค้า >> 700,000 ตัน BAAC Agro-Tourism จัดหาตลาดผู้รับซื้อผลผลิตของลูกค้าพักหนี้ 300,000 ราย >> รายได้เพิ่ม 15% ชุมชนผ่านการประเมินมาตรฐาน 97 ชุมชน (สะสม) ตลาดนัดลูกค้า ธ.ก.ส. ส่วนภูมิภาค >> 150 แห่ง เครือข่ายชุมชนท่องเที่ยว >> 290 เครือข่าย (สะสม) Branch Outlet >> 148 แห่ง และ Branch Outlet Premium >> 2 แห่ง Route ท่องเที่ยวเชิงเกษตร >> 12 เส้นทาง 1. การพัฒนาลูกค้า / ชุมชน / ชนบท 1.1 องค์กรการเงินชุมชนสู่สถาบันการเงินประชาชน กองทุนหมู่บ้าน และ วิสาหกิจชุมชน 1.2 ชุมชนอุดมสุข / ศูนย์เรียนรู้ / ชุมชนท่องเที่ยว 1.3 D & MBA 1.1.1 องค์กรการเงินชุมชนสู่สถาบันการเงินประชาชน โครงสร้างของระบบสถาบันการเงินประชาชน สถาบันการเงินประชาชนคืออะไร มีบทบาทหน้าที่อย่างไร สถาบันการเงินประชาชน คือ องค์กรการเงินชุมชนซึ่งได้รับจดทะเบียนเป็นสถาบันการเงินประชาชนตาม พระราชบัญญัติสถาบันการเงินประชาชน พ.ศ. 2562 องค์กรการเงินชุมชน หมายความว่า คณะบุคคลที่รวมตัวกันจัดตั้งขึ้นเพื่อเก็บออมเงินสะสมรวมกัน โดยมีการ บริหารจัดการกันเอง และมีการให้บริการทางการเงิน ได้แก่ การรับฝากเงิน การให้สินเชื่อ การเป็น ตัวแทน การรับชาระเงิน และการโอนเงิน วัตถุประสงค์ขององค์กรการเงินชุมชน คือ ส่งเสริมการออมทรัพย์และให้บริการทางการเงินแก่สมาชิก รวมทั้งส่งเสริมหรือสนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ คุณภาพชีวิต และสวัสดิการของสมาชิกและประชาชน ในพื้นที่ สามารถยื่นคาขอจดทะเบียนเป็นสถาบันการเงินประชาชนตามพระราชบัญญัติสถาบันการเงิน ประชาชน พ.ศ. 2562 ได้ตามความสมัครใจ 17 องค์กรการเงินชุมชนที่จะยื่นคาขอจดทะเบียนเป็นสถาบันการเงินประชาชน ต้องมีคุณสมบัติเบื้องต้นอย่างไร 1) ได้รับความเห็นชอบจากสมาชิกด้วยมติไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจานวนสมาชิกทั้งหมด ให้ยื่นคาขอจดทะเบียนเป็น สถาบันการเงินประชาชน 2) มีการจัดทางบการเงินประจาปีต่อเนื่องกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี นับถึงวันที่ยื่นคาขอจดทะเบียน 3) มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการทางานมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี 4) มีทุนที่ชาระแล้ว เป็นจานวนไม่ต่ากว่า 5 แสนบาท 5) มีผลการดาเนินงานเป็นกาไรต่อเนื่องกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี นับถึงวันที่ยื่นคาขอจดทะเบียน และในวันที่ยื่น คาขอจดทะเบียนต้องไม่มีผลการดาเนินงานขาดทุนสะสม นอกจากนี้ สมาชิกขององค์กรการเงินชุมชนดังกล่าวต้องเป็นบุคคลธรรมดาและมีภูมิลาเนาหรือประกอบอาชีพเป็นหลัก แหล่งในพื้นที่ในการดาเนินงานขององค์กรการเงินชุมชนนั้นเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี นับแต่วันที่สมัครเป็นสมาชิก รวมทั้งต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อบังคับของสถาบันการเงินประชาชน 18 1.1.1 องค์กรการเงินชุมชนสู่สถาบันการเงินประชาชน 1.1.1 องค์กรการเงินชุมชนสู่สถาบันการเงินประชาชน 2567 โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กรการเงินชุมชนสู่สถาบันการเงินประชาชน วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด องค์กรการเงินชุมชนที่ความประสงค์ในการ พัฒนาเตรียมความพร้อมองค์กรการเงิน องค์กรการเงินชุมชนได้รับการพัฒนา ยื่นจดทะเบียนเป็นสถาบันการเงิน ชุมชนให้มีคุณสมบัติตามเกณฑ์กากับ เตรียมความพร้อมสู่สถาบันการเงิน ประชาชน จานวน 4 แห่ง ซึ่งพัฒนาปี การดาเนินงานสถาบันการเงินประชาชน ประชาชนมีการยื่นจดทะเบียนเป็น 2562-2566 หรือองค์กรการเงินชุมชนราย ใหม่ ที่เป็นลูกค้าธนาคาร สถาบันการเงินประชาชน เพื่อเสริมสร้าง สนับสนุน การดาเนินงาน จานวน 2 แห่ง ให้มีความเข้มแข็ง และมีศักยภาพในการ สถาบันการเงินประชาชนที่อยู่ในความ ให้บริการทางการเงิน ดูแลของธนาคาร จานวน 4 แห่ง เพื่อพัฒนาบุคลากรองค์กรการเงินชุมชน และสถาบันการเงินประชาชน 1.1.2 กองทุนหมู่บา้ น กองทุนหมู่บ้านคืออะไร กองทุนหมู่บ้านมีบทบาทหน้าที่อย่างไร หมู่บ้าน หมายถึง หมู่บ้านที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่า (1) เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนสาหรับการลงทุนเพื่อพัฒนาอาชีพ สร้าง ด้วยลักษณะปกครองท้องที่ งาน สร้างรายได้ เพิ่มรายได้ และลดรายจ่าย หรือสาหรับการ ส่งเสริมและพัฒนาไปสู่การสร้างสวัสดิภาพ สวัสดิการ หรือ ชุมชนเมือง หมายถึง ชุมชนในเทศบาล ประโยชน์ส่วนรวมอื่นใดให้แก่ประชาชนในหมู่บ้านหรือชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา หรือเขตพื้นที่อื่น ทั้งนี้ โดยมี (2) เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนเร่งด่วน ขอบเขตตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ สาหรับประชาชนในหมู่บ้านหรือชุมชนเมือง กาหนด (3) รับฝากเงินจากสมาชิกหรือจัดหาทุนจากแหล่งเงินทุนอื่น กองทุนหมู่บ้าน หรือ กองทุนชุมชนเมือง แล้วแต่กรณี (4) ให้กู้ยืมเงินแก่กองทุนหมู่บ้านอื่น เพื่อประโยชน์การสร้างความ หมายถึง องค์กรการเงินที่ได้รับจดทะเบียนตาม เข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจของหมู่บ้านหรือชุมชนเมือง พระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. (5) กระทาการใดๆ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ คุณภาพชีวิต สวัสดิภาพ 2547 และสวัสดิการของสมาชิก หรือประชาชนในหมู่บ้านหรือชุมชนเมือง รวมทั้งเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม 23 1.1.2 กองทุนหมู่บา้ น เอกสารยื่นจดทะเบียนกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 1. ชื่อกองทุนหมู่บ้านและรหัสกองทุนหมู่บ้านที่ประสงค์จะจดทะเบียน 2. สาเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร 2.1 บัญชีกองทุนหมู่บ้าน (บัญชีที่ 1) เพื่อรับโอนเงินที่ได้รับจัดสรรจากรัฐ 2.2 บัญชีเงินสะสม (บัญชีที่ 2) เพื่อรองรับเงินฝากของสมาชิก 3. สาเนาระเบียบ หรือ ข้อบังคับของกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 4. บัญชีรายชื่อคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน (จานวนไม่น้อยกว่า 9 คน แต่ไม่เกิน 15 คน) 5. บัญชีรายชื่อสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน 6. สาเนาบันทึกรายงานการประชุมสมาชิกไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของผู้เข้าร่วมประชุม (ผู้เข้าร่วมประชุมต้องเป็นเป็นหัวหน้าครัวเรือนหรือผู้แทน จานวนไม น้อยกว า 3 ใน 4 ของครัวเรือนทั้งหมดใน หมู่บ้าน 7. แผนการดาเนินงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองเมื่อได้รับการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล 8. แผนที่แสดงที่ตั้งของสานักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 24 สถาบันการเงินประชาชนแตกต่างกับกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอย่างไร ? สถาบันการเงินประชาชน กองทุนหมู่บ้าน 1. เป็นนิติบุคคล 1. เป็นนิติบุคคล 2. ทาหน้าที่เป็นเหมือนธนาคารของประชาชนในตาบล 2. หน้าที่เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนสาหรับการลงทุนเพื่อ พัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ หรือบรรเทาความ 3. ให้บริการรับฝากเงิน ให้สินเชื่อ รับชาระเงินรับโอนเงิน เดือดร้อนสาหรับประชาชนในหมู่บ้าน 4. ส่งเสริมหรือสนับสนุนการจัดสวัสดิการในพื้นที่ดาเนินงาน 3. ให้กู้ยืมแก่สมาชิก โดยใช้เงินที่ได้จากการจัดสรรกาไร 4. รับฝากเงินจากสมาชิก 5. ธนาคารผู้ประสานงานเข้ามาช่วยสนับสนุนการดาเนินงาน 5. จัดหาทุนจากแหล่งเงินทุนอื่นเพื่อดาเนินการตาม และพัฒนาระบบการให้บริการทางการเงิน วัตถุประสงค์ 25 1.1.3 วิสาหกิจชุมชน มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๘” “วิสาหกิจชุมชน” หมายความว่า กิจการของชุมชนเกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการ หรือการอื่น ๆ ที่ดาเนินการโดยคณะบุคคลที่มีความ ผูกพัน มีวิถีชีวิตร่วมกันและรวมตัวกันประกอบกิจการดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนิติบุคคลในรูปแบบใดหรือไม่เป็นนิติบุคคล เพื่อสร้างรายได้และ เพื่อการพึ่งพาตนเองของครอบครัว ชุมชนและระหว่างชุมชน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการประกาศกาหนด “เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน” หมายความว่า คณะบุคคลที่รวมตัวกันโดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดทากิจกรรมอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อประโยชน์ใน การดาเนินงานของวิสาหกิจชุมชนในเครือข่าย “กิจการวิสาหกิจชุมชน” หมายความว่า กิจการของวิสาหกิจชุมชนหรือเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน “คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด” หมายความว่า คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนกรุงเทพมหานครหรือคณะกรรมการ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด แล้วแต่กรณี สาระสาคัญของ พ.ร.บ. วิสาหกิจชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๘ 1 ให้มีการจดทะเบียนรับรองสถานภาพวิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน 2 ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนทั้งระดับประเทศและระดับจังหวัด 3 ให้มีมาตรการในการส่งเสริมและสนับสนุน 4 นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาการตาม พ.ร.บ. 5 ให้กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นสานักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนและ สานักงานเกษตรจังหวัด เป็นสานักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด 27 มาตรากฎหมายที่สาคัญเกี่ยวกับ พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน หมวด ๑ วิสาหกิจชุมชน มาตรา ๕ วิสาหกิจชุมชนใดที่จะขอรับการส่งเสริมตามพระราชบัญญัตินี้ต้องยื่นคาขอจดทะเบียนต่อกรมส่งเสริมการเกษตรตาม ระเบียบที่คณะกรรมการประกาศกาหนด มาตรา ๖ เมื่อกรมส่งเสริมการเกษตรได้รับคาขอจดทะเบียนและเห็นว่าวิสาหกิจชุมชนที่ยื่นคาขอจดทะเบียนมีลักษณะและ วัตถุประสงค์ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการประกาศกาหนด ให้กรมส่งเสริมการเกษตรรับจดทะเบียนและออกใบสาคัญแสดง การจดทะเบียนแก่วิสาหกิจชุมชนนั้น มาตรา ๗ การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนอย่างน้อยต้องมีรายการ ดังต่อไปนี้ (๑) ชื่อและที่ตั้งของวิสาหกิจชุมชน (๒) ชื่อและที่อยู่ของผู้มีอานาจทาการแทนวิสาหกิจชุมชน (๓) ชื่อและที่อยู่ของสมาชิกวิสาหกิจชุมชน (๔) กิจการที่วิสาหกิจชุมชนมีความประสงค์จะดาเนินการ 28 มาตรากฎหมายที่สาคัญเกี่ยวกับ พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน หมวด ๑ วิสาหกิจชุมชน มาตรา ๘ ภายในสามสิบวันนับแต่วันสิ้นปีปฏิทิน ให้วิสาหกิจชุมชนที่ได้จดทะเบียนต่อกรมส่งเสริมการเกษตรซึ่ง ประสงค์จะดาเนินกิจการต่อไปแจ้งให้กรมส่งเสริมการเกษตรทราบ ตามวิธีการที่คณะกรรมการกาหนด วิสาหกิจชุมชนใดไม่แจ้งความประสงค์ตามวรรคหนึ่งเป็นเวลาสองปีติดต่อกัน ให้กรมส่งเสริมการเกษตรมีหนังสือ เตือนให้วิสาหกิจชุมชนนั้นแจ้งภายในระยะเวลาที่กาหนดแต่ต้องไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน ถ้าไม่มีการแจ้งตามคาเตือน ดังกล่าว ให้กรมส่งเสริมการเกษตรถอนชื่อออกจากทะเบียน วิสาหกิจชุมชนใดประสงค์จะเลิกกิจการให้แจ้งกรมส่งเสริมการเกษตรทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่เลิก กิจการ ตามวิธีการที่คณะกรรมการกาหนด 29 ขั้นตอนและการยื่นจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนมีอะไรบ้าง? จดทะเบียนต้องเตรียมอะไรบ้าง ขั้นตอนการขอจดทะเบียน (1) รวมกลุ่มคนในชุมชน ไม่น้อยกว่า 7 คน โดยไม่อยู่ใน วิสาหกิจชุมชนมอบหมายสมาชิกเป็นผู้มีอานาจทาการแทน ครอบครัวเดียวกัน และไม่มีรายชื่อปรากฏในทะเบียนบ้าน เพื่อยื่นคาขอ เดียวกัน (1) รับแบบทะเบียน (สวช.01) (2) ยื่นแบบพร้อมเอกสารหลักฐาน (2) กลุ่มคนที่รวมตัวกันต้องมีความตั้งใจประกอบกิจการ (3) เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐาน มอบใบรับรอง (ท.ว.ช. 1) ร่วมกัน 1 อย่าง หรือหลายอย่าง (4) นายทะเบียนตรวจสอบคุณสมบัติและเอกสารหลักฐาน (5) ปิดประกาศ 7 วัน (และไม่มีผู้คัดค้าน) (3) ร่วมกันจัดทาแผนประกอบกิจการของวิสาหกิจชุมชน (6) ออกหนังสือสาคัญแสดงการจดทะเบียน (ท.ว.ช. 2) และ ที่มีความสอดคล้องกับแผนชุมชน เอกสารสาคัญแสดงการดาเนินกิจการ (ท.ว.ช. 3) 30 ขั้นตอนและการยื่นจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนมีอะไรบ้าง? กรณีเป็นนิติบุคคล หลักฐานที่ต้องเตรียมในการยื่นจดทะเบียน (1) สาเนาเอกสารแสดงวัตถุประสงค์ของนิติบุคคล (1) หนังสือให้ความยินยอมของสมาชิกจานวนไม่น้อยกว่ากึ่ง (2) สาเนาบัญชีรายชื่อคณะกรรมการดาเนินการ หนึ่งหรือสาเนามติที่ประชุมมอบหมายบุคคลมาจดทะเบียน (3) สาเนามติคณะกรรมการดาเนินการ หรือมติที่ประชุมใหญ่ให้ (2) สาเนาบัตรประชาชนผู้มีอานาจทาการแทน จดทะเบียน (3) ทะเบียนรายชื่อและที่อยู่ของสมาชิกพร้อมสาเนาบัตร (4) ทะเบียนรายชื่อและที่อยู่ของสมาชิก ประชาชน (5) สาเนาข้อบังคับของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (เฉพาะกรณี (4) สาเนาข้อบังคับของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (เฉพาะกรณี จดทะเบียนเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน) จดทะเบียนเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน) 31 โครงการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนและกองทุนหมู่บ้าน วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด จานวนวิสาหกิจชุมชน/กองทุนหมู่บ้าน/กลุ่มไม่ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน กองทุนหมู่บ้าน วิสาหกิจชุมชน เป็นทางการได้รับการพัฒนายกระดับศักยภาพ และกลุ่มไม่เป็นทางการให้เข้มแข็งมีศักยภาพ (รหัสประเภทลูกค้า 712) จานวน 77 แห่ง ด้านเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมด้านมาตรฐาน จานวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนา ไม่ กองทุนหมู่บ้าน ผลผลิต/ผลิตภัณฑ์ และการเชื่อมโยงเครือข่าย น้อยกว่าร้อยละ 50 สามารถลดต้นทุนการผลิต (รหัสประเภทลูกค้า 711) หรือมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 หรือ ยกระดับวิสาหกิจชุมชน กองทุนหมู่บ้าน กลุ่มไม่เป็นทางการ สามารถจ่ายเงินกู้เพิ่มหรือรับชาระหนี้ได้ภายใน เข้มแข็งและเพิม่ ศักยภาพในการแข่งขัน (รหัสประเภทลูกค้า 701) ปีบัญชี จานวน 39 แห่ง ทางธุรกิจ จานวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนา สามารถยกระดับศักยภาพและเป็นต้นแบบ จานวน 9 แห่ง โครงการขยายผลนวัตกรรมเกษตรสู่การใช้ประโยชน์ กิจกรรม การขับเคลื่อนนวัตกรรมเกษตรร่วมกับภาคีเครือข่ายภายนอก (กลุ่มเป้าหมาย : กลุ่มวิสาหกิจชุมชน) วัตถุประสงค ์ กลุม ่ เป้ าหมาย ตัวชีวั้ ด ส่งเสริมให้เกษตรกรนาเทคโนโลยีและ วิสาหกิจชุมชนใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมทางการเกษตรมาใช้เพื่อลดความ วิสาหกิจชุมชนลูกค้าธนาคารที่ผ่านการ หรือนวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าผลผลิต เสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พัฒนาได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้มี จานวน 1 ผลงาน การใช้เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมเพื่อสร้าง สนับสนุนให้เกษตรกรเพิ่มขีดความสามารถ ในการนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทาง มูลค่าผลผลิต วิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ มีรายได้ การเกษตรมาใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตทางการเกษตร เพิ่มขึ้นหรือค่าใช้จ่ายลดลง ร้อยละ 5 สนับสนุนภาคการเกษตรในการสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตด้วยเทคโนโลยีและ นวัตกรรมทางการเกษตร 1. การพัฒนาลูกค้า / ชุมชน / ชนบท 1.2 ชุมชนอุดมสุข / ศูนย์เรียนรู้ / ชุมชนท่องเที่ยว 1.2.1 ชุมชนอุดมสุข นิ ชุมชนอุดมสุข - ชุมชนที่ใช้กรอบการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ยั่งยืน - มีเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) เป็นแนวทางการพัฒนา - เพื่อสร้างความสมดุลด้าน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมประเพณี ย - ภายใต้หลักการเกื้อกูล แบ่งปัน และเป็นธรรม ส่งผลให้สมาชิกในชุมชนมีประโยชน์สุขอย่างยั่งยืน า - ระบบเศรษฐกิจของชุมชน ที่สามารถพึ่งพาตนเอง มีการช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อ ซึ่งกันและกัน มีคุณธรรม ม เศรษฐกิจฐานราก - เป็นระบบเศรษฐกิจที่เอื้อให้เกิดการพัฒนาด้านต่างๆ ในพื้นที่ ทั้ง สังคม ผู้คนชุมชน วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน ศั ผลิตภัณฑ์มวลรวมชุมชน มูลค่าจากด้านการผลิต หรือผลผลิต ด้านรายจ่าย ด้านรายได้ และการบริการทุกประเภท พ (Gross Community Product: GCP) ที่ผลิตได้ในชุมชน ท์ การพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาที่มุ่งสู่ความยั่งยืนเน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจเชิงคุณภาพทั้ง 3 ด้านไปพร้อมกัน ได้แก่ 1) เศรษฐกิจชีวภาพ (Bio Economy) มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรชีวภาพเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม แบบองค์รวม 2) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) มุ่งเน้นการนาวัสดุต่าง ๆกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด (BCG Model) 3) เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) มุ่งเน้นการพัฒนาสังคมและการรักษาสิ่งแวดล้อมให้เกิดความสมดุล ความมั่นคง และยั่งยืน 1.2.1 ชุมชนอุดมสุข 1. กลุ่มเป้าหมายการดาเนินงาน ได้แก่ ชุมชนอุดมสุข จานวน 7,927 ชุมชน ได้รับการพัฒนา ปี เป้าหมาย 1) ยกระดับเป็นชุมชนอุดมสุขที่ยั่งยืน จานวน 181 ชุมชน 2) พัฒนาชุมชนอุดมสุขเพื่อรักษามาตรฐาน จานวน 7,746 ชุมชน 2. ชุมชนอุดมสุขที่ยั่งยืนมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 และ อัตราการเติบโตผลิตภัณฑ์มวลรวมของชุมชน (GCP) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 2 ยกระดับเป็นชุมชน 1. ค้นหาชุมชน/จัดทาแผนยกระดับการพัฒนาร่วมกับเครือข่าย 5 อุดมสุข - ค้นหาปัญหา ความต้องการและแนวทางการแก้ไขปัญหาของชุมชน ->จัดทาแผนการพัฒนา 4 มิติ (เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม) - กาหนดแผนยกระดับ ด้วย BCG Model ดาเนินการให้ครบ ทั้ง 3 แผน ได้แก่ (1) แผน Bio ->1) Agri Tech 2) พัฒนา/ยกระดับผลิตภัณฑ์ (2) แผน Circular->Zero waste,Re.. (3) แผน Green ->รักษาสิ่งแวดล้อม 6 ประกวด คัดเลือก สกน. และ สนจ. อย่างละ 1 ชุมชน ที่มีความโดดเด่นด้านการพัฒนาและมีผลลัพธ์ทั้ง 6 ด้าน ดังนี้ 6 ชุมชนอุดมสุขที่ยั่งยืนยอดเยี่ยม ปีที่ 3 1) ด้านผู้นาและสมาชิ