PDF คู่มือการพัฒนาสมรรถนะครู
Document Details

Uploaded by InvaluableNovaculite413
Mahamakut Buddhist University
Tags
Summary
คู่มือนี้เกี่ยวกับการพัฒนาสมรรถนะของงานและการพัฒนาหลักสําหรับครู ประกอบด้วย 5 สมรรถนะหลัก และ 6 สมรรถนะตามสายงานเพื่อปรับปรุงคุณภาพการศึกษา
Full Transcript
T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู สมรรถนะหลัก (Core Competency) สมรรถนะที่ 1 กำรมุ่งผลสัมฤทธิ์ในกำรปฏิบัติงำน (Working Achievement Motivation) หมายถึง ความ...
T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู สมรรถนะหลัก (Core Competency) สมรรถนะที่ 1 กำรมุ่งผลสัมฤทธิ์ในกำรปฏิบัติงำน (Working Achievement Motivation) หมายถึง ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานในหน้าที่ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยมีการวางแผน กาหนดเป้าหมาย ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน และปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพและผลงานอย่าง ต่อเนื่อง สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รำยกำรพฤติกรรม กำรมุ่งผลสัมฤทธิ์ 1.1 ความสามารถในการวางแผน 1. วิเคราะห์ภารกิจงานเพื่อวางแผนการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ในกำรปฏิบัติงำน การกาหนดเป้าหมาย การวิเคราะห์ 2. กาหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานทุกภาคเรียน (Working Achievement สังเคราะห์ภารกิจงาน 3. กาหนดแผนการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน Motivation) 1.2 ความมุง่ มั่นในการปฏิบัติหน้าที่ 1. ใฝ่เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ 2. ริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 3. แสวงหาความรู้ที่เกี่ยวกับวิชาชีพใหม่ ๆ เพื่อการพัฒนาตนเอง 1.3 ความสามารถในการติดตามประเมิน 1. ประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง ผลการปฏิบัติงาน 1.4 ความสามารถในการพัฒนา 1. ใช้ผลการประเมินการปฏิบัติงานมาปรับปรุง/พัฒนาการทางานให้ดียิ่งขึ้น การปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพอย่าง 2. พัฒนาการปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง ต่อเนื่องเพื่อให้งานประสบความสาเร็จ และชุมชน 29 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู สมรรถนะที่ 2 กำรบริกำรที่ดี (Service Mind) หมายถึง ความตั้งใจและความเต็มใจในการให้บริการ และการปรับปรุงระบบบริการให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รำยกำรพฤติกรรม กำรบริกำรที่ดี 2.1 ความตั้งใจและเต็มใจในการให้บริการ 1. ทากิจกรรมต่างๆ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมเมื่อมีโอกาส (Service Mind) 2. เต็มใจ ภาคภูมิใจ และมีความสุขในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ 2.2 การปรับปรุงระบบบริการให้มี 1. ศึกษาความต้องการของผู้รับบริการ และนาข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุง ประสิทธิภาพ 2. ปรับปรุงและพัฒนาระบบการให้บริการให้มีประสิทธิภาพ 30 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู สมรรถนะที่ 3 กำรพัฒนำตนเอง (Self- Development) หมายถึง การศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการและ วิชาชีพ มีการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม เพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รำยกำรพฤติกรรม กำรพัฒนำตนเอง 3.1 การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ติดตาม 1. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ มุ่งมั่นและแสวงหาโอกาสพัฒนาตนเองด้วยวิธีการ (Self- Development) องค์ความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการและวิชาชีพ ที่หลากหลาย เช่น การเข้าร่วมประชุม/สัมมนา การศึกษาดูงาน การค้นคว้า ด้วยตนเอง 3.2 การสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใน 1. รวบรวม สังเคราะห์ข้อมูล ความรู้ จัดเป็นหมวดหมู่ และปรับปรุงให้ทันสมัย การพัฒนาองค์กรและวิชาชีพ 2. สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ องค์กรและ วิชาชีพ 3.2 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสร้าง 1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นเพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน เครือข่าย 2.ให้คาปรึกษา แนะนา นิเทศ และถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ทางวิชาชีพ แก่ผู้อื่น 3. มีการขยายผลโดยสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ 31 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู สมรรถนะที่ 4 กำรทำงำนเป็นทีม (Team Work) หมายถึง การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ สนับสนุนเสริมแรงให้กาลังใจแก่เพื่อนร่วมงาน การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นหรือ ทีมงาน แสดงบทบาทการเป็นผู้นาหรือผู้ตามได้อย่างเหมาะสมในการทางานร่วมกับผู้อื่น เพื่อสร้างและดารงสัมพันธภาพของสมาชิก ตลอดจนเพื่อพัฒนา การจัดการศึกษาให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รำยกำรพฤติกรรม กำรทำงำนเป็นทีม 4.1 การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือและ 1. สร้างสัมพันธภาพที่ดีในการทางานร่วมกับผู้อื่น (Team Work) สนับสนุนเพื่อนร่วมงาน 2. ทางานร่วมกับผู้อื่นตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 3. ช่วยเหลือ สนับสนุน เพื่อนร่วมงานเพื่อสู่เป้าหมายความสาเร็จร่วมกัน 4.2 การเสริมแรงให้กาลังใจเพื่อนร่วมงาน 1. ให้เกียรติ ยกย่องชมเชย ให้กาลังใจแก่เพื่อนร่วมงานในโอกาสที่เหมาะสม 4.3 การปรับตัวเข้ากับกลุ่มคนหรือ 1. มีทักษะในการทางานร่วมกับบุคคล/กลุ่มบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพ สถานการณ์ที่หลากหลาย ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา และในสถานการณ์ต่างๆ 4.4 การแสดงบทบาทผู้นาหรือผู้ตาม 1. แสดงบทบาทผู้นาหรือผู้ตามในการทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม ตามโอกาส 4.5 การเข้าไปมีส่วนร่วมกับผู้อื่นใน 1. แลกเปลี่ยน/รับฟังความคิดเห็นและประสบการณ์ภายในทีมงาน การพัฒนาการจัดการศึกษาให้บรรลุ 2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/รับฟังความคิดเห็นและประสบการณ์ระหว่างเครือข่ายและ ผลสาเร็จตามเป้าหมาย ทีมงาน 3. ร่วมกับเพื่อนร่วมงานในการสร้างวัฒนธรรมการทางานเป็นทีมให้เกิดขึ้นใน สถานศึกษา 32 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู สมรรถนะที่ 5 จริยธรรม และจรรยำบรรณวิชำชีพครู (Teacher’s Ethics and Integrity) หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนถูกต้องตามหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน และสังคม เพื่อสร้างความศรัทธาในวิชาชีพครู สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รำยกำรพฤติกรรม จริยธรรม และ 1. ความรักและศรัทธา 1. สนับสนุน และเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพ จรรยำบรรณวิชำชีพครู ในวิชาชีพ 2. เสียสละ อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ (Teacher’s Ethics 3. ยกย่อง ชื่นชมบุคคลที่ประสบความสาเร็จในวิชาชีพ and Integrity) 4. ยึดมั่นในอุดมการณ์ของวิชาชีพ ปกป้องเกียรติและศักดิ์ศรีของวิชาชีพ 2. มีวินัย และความรับผิดชอบ 1. ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ตรงต่อเวลา วางแผนการใช้จ่าย และใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด ในวิชาชีพ 2. ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวัฒนธรรมที่ดีขององค์กร 3. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ และมุ่งมั่นพัฒนาการประกอบวิชาชีพให้ก้าวหน้า 4. ยอมรับผลอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง และหาแนวทางแก้ไขปัญหา อุปสรรค 3. การดารงชีวิตอย่างเหมาะสม 1. ปฏิบัติตน/ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้เหมาะสมกับสถานะของตน 2. รักษาสิทธิประโยชน์ของตนเอง และไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น 3. เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือ และไม่เบียดเบียนผู้อื่น 4. การประพฤติปฏิบัติตน เป็น 1. ปฏิบัติตนได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ และสถานการณ์ แบบอย่างที่ดี 2. มีความเป็นกัลยาณมิตรต่อผู้เรียน เพื่อนร่วมงาน และผู้รับบริการ 3. ปฏิบัติตนตามหลักการครองตน ครองคน ครองงานเพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสาเร็จ 4. เป็นแบบอย่างที่ดีในการส่งเสริมผู้อื่นให้ปฏิบัติตนตามหลักจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู และพัฒนาจนเป็นที่ยอมรับ หลังจำกศึกษำเนื้อหำสำระเรื่องที่ 3 แล้ว โปรดปฏิบัติใบงำนที่ 3 33 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู ตอนที่ 4 การประเมินสมรรถนะประจาสายงานและสมรรถนะหลักสาหรับครู เรื่องที่ 4.1 การประเมินสมรรถนะประจาสายงานและสมรรถนะหลักสาหรับ ครู การประเมิ น สมรรถนะในการปฏิ บั ติ งานของครูร ะดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน สั งกั ด ส านั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานนี้ เป็นการดาเนินการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้ โครงการไทยเข็มแข็ง ในเรื่องของการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ: กิจกรรมจัดระบบพัฒนาครูเชิงคุณภาพ เพื่อการพัฒนาครูรายบุคคล โดยการประเมิ นสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนนั้นครูผู้สอนจะเป็น ผู้ทาการประเมินตนเอง โดยมีรายละเอียดของการประเมินดังต่อไปนี้ 1. วัตถุประสงค์ในการประเมิน เพื่อประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอน สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน และใช้เป็นฐานข้อมูลในการกาหนดกรอบการพัฒนาสมรรถนะครูตามนโยบายพัฒนาครูทั้งระบบ 2. กรอบความคิดของการสร้างแบบประเมินสมรรถนะครู แบบประเมินสมรรถนะครูที่พัฒนาขึ้นในครั้งนี้ มีกรอบความคิดมาจากแนวคิดของ McClelland นักจิตวิทยาของมหาวิทยาลัย Harvard ที่อธิบายไว้ว่า “สมรรถนะเป็นคุณลั กษณะของบุคคลเกี่ยวกับผล การปฏิ บั ติ ง าน ประกอบด้ ว ย ความรู้ (Knowledge) ทั ก ษะ (Skills) ความสามารถ (Ability) และ คุณลักษณะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทางาน (Other Characteristics) และเป็นคุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ที่ทาให้บุคลากรในองค์กรปฏิบัติงานได้ผลงานที่โดดเด่นกว่าคนอื่นๆ ในสถานการณ์ที่หลากหลาย ซึ่งเกิด จากแรงผลักดันเบื้องลึก (Motives) อุป นิสัย (Traits) ภาพลักษณ์ภายใน (Self-image) และบทบาทที่ แสดงออกต่อสังคม (Social role) ที่แตกต่างกันทาให้แสดงพฤติกรรมการทางานที่ต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับ แนวทางการพัฒนาสมรรถนะการบริหารทรัพ ยากรบุคคลแนวใหม่ภาครัฐ ของสานักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน โดยส่ งเสริมสนั บ สนุนให้ ส่ วนราชการบริห ารทรัพยากรบุ คคลตามกรอบมาตรฐาน ความส าเร็ จ ด้ า นการบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล (Standard for Success) เพื่ อ ให้ เกิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ต่ อ ความสาเร็จของส่วนราชการ การกาหนดกรอบการประเมิ น สมรรถนะครู ส านั กงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้ นฐานได้ ดาเนิน การประชุมเชิงปฏิบัติการกาหนดความต้องการการพัฒ นาสมรรถนะของครู และการประชุมเชิง ปฏิบัติการสร้างแบบทดสอบเพื่อประเมินสมรรถนะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามโครงการ ยกระดับ คุณ ภาพครูทั้งระบบ: กิจ กรรมจัดระบบพัฒ นาครูเชิงคุณ ภาพเพื่อการพัฒ นาครูรายบุคคล ซึ่ง คณะทางานประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน ศึกษานิเทศก์ นักวิชาการศึกษา ผู้บริหาร สานักงานเขตพื้นที่ การศึ ก ษา และผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ จ ากหน่ ว ยงานที่ เกี่ ย วข้ อ ง ได้ ร่ว มกั น พิ จ ารณาและก าหนดสมรรถนะครู 34 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์สมรรถนะครู อันประกอบด้วย เจตคติ ค่ านิ ย ม ความรู้ ความสามารถ และทั ก ษะที่ จ าเป็ น ส าหรั บ การปฏิ บั ติ งานตามภารกิ จ งานใน สถานศึกษา จากแบบประเมินสมรรถนะและมาตรฐานของครูผู้สอน ที่หน่วยงานต่างๆได้จัดทาไว้ ได้แก่ แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน (สมรรถนะ) เพื่อให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีและ เลื่อนวิทยฐานะ ของสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) มาตรฐาน วิชาชีพครู ของสานักงานเลขาธิการคุรุสภา รูปแบบสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา ของสถาบัน พัฒ นาครู คณาจารย์และบุ คลากรทางการศึกษา (สค.บศ.) นอกจากนี้ยังศึกษาจากแนวคิด ทฤษฎี และ ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะที่จาเป็นในการปฏิบัติงานของครูผู้สอน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จาก การสังเคราะห์สามารถสรุปได้ว่า สมรรถนะครู สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย สมรรถนะหลัก และสมรรถนะประจาสายงาน ดังนี้ 1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ คือ 1.1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน 1.2 การบริการที่ดี 1.3 การพัฒนาตนเอง 1.4 การทางานเป็นทีม 1.5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู 2. สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ คือ 2.1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 2.2 การพัฒนาผู้เรียน 2.3 การบริหารจัดการชั้นเรียน 2.4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน 2.5 ภาวะผู้นาครู 2.6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ 3. รายละเอียดและคาอธิบายสมรรถนะครู สมรรถนะครู สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น ฐาน ที่ใช้ในการประเมิน ครั้งนี้ ประกอบด้วย สมรรถนะหลัก 5 สมรรถนะและสมรรถนะประจาสายงาน 6 สมรรถนะ ดังรายละเอียด ต่อไปนี้ 35 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู สมรรถนะหลัก (Core Competency) สมรรถนะที่ 1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน (Working Achievement Motivation) หมายถึง ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานในหน้าที่ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยมีการวางแผน กาหนดเป้าหมาย ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน และปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพและผลงานอย่าง ต่อเนื่อง สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รำยกำรพฤติกรรม การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 1.1 ความสามารถในการวางแผน 1. วิเคราะห์ภารกิจงานเพื่อวางแผนการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ในการปฏิบัติงาน การกาหนดเป้าหมาย การวิเคราะห์ 2. กาหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานทุกภาคเรียน (Working Achievement สังเคราะห์ภารกิจงาน 3. กาหนดแผนการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน Motivation) 1.2 ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ 1. ใฝ่เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ 2. ริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 3. แสวงหาความรู้ที่เกี่ยวกับวิชาชีพใหม่ ๆ เพื่อการพัฒนาตนเอง 1.3 ความสามารถในการติดตามประเมิน 1. ประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง ผลการปฏิบัติงาน 1.4 ความสามารถในการพัฒนา 1. ใช้ผลการประเมินการปฏิบัติงานมาปรับปรุง/พัฒนาการทางานให้ดียิ่งขึ้น การปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพอย่าง 2. พัฒนาการปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง ต่อเนื่องเพื่อให้งานประสบความสาเร็จ และชุมชน 36 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู สมรรถนะที่ 2 การบริการที่ดี (Service Mind) หมายถึง ความตั้งใจและความเต็มใจในการให้บริการ และการปรับปรุงระบบบริการให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รำยกำรพฤติกรรม การบริการที่ดี 2.1 ความตั้งใจและเต็มใจในการให้บริการ 1. ทากิจกรรมต่างๆ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมเมื่อมีโอกาส (Service Mind) 2. เต็มใจ ภาคภูมิใจ และมีความสุขในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ 2.2 การปรับปรุงระบบบริการให้มี 1. ศึกษาความต้องการของผู้รับบริการ และนาข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุง ประสิทธิภาพ 2. ปรับปรุงและพัฒนาระบบการให้บริการให้มีประสิทธิภาพ 37 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู สมรรถนะที่ 3 การพัฒนาตนเอง (Self- Development) หมายถึง การศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการและ วิชาชีพ มีการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม เพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รำยกำรพฤติกรรม การพัฒนาตนเอง 3.1 การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ติดตาม 1. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ มุ่งมั่นและแสวงหาโอกาสพัฒนาตนเองด้วยวิธีการ (Self- Development) องค์ความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการและวิชาชีพ ที่หลากหลาย เช่น การเข้าร่วมประชุม/สัมมนา การศึกษาดูงาน การค้นคว้า ด้วยตนเอง 3.2 การสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใน 1. รวบรวม สังเคราะห์ข้อมูล ความรู้ จัดเป็นหมวดหมู่ และปรับปรุงให้ทันสมัย การพัฒนาองค์กรและวิชาชีพ 2. สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ องค์กรและ วิชาชีพ 3.2 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสร้าง 1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นเพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน เครือข่าย 2.ให้คาปรึกษา แนะนา นิเทศ และถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ทางวิชาชีพ แก่ผู้อื่น 3. มีการขยายผลโดยสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ 38 | ห น้ า