ศาสตร์พระราชาและการพัฒนาที่ยั่งยืน (0044006) PDF

Summary

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ศาสตร์พระราชาและการพัฒนาที่ยั่งยืน รหัส 0044006 เป็นเอกสารที่อธิบายถึงพระราชประวัติ, หลักการทรงงาน, หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง, เกษตรทฤษฎีใหม่, เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs), และการประยุกต์ศาสตร์พระราชา

Full Transcript

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ๐๐๔๔๐๐๖ ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาที่ยั่งยืน The King's Philosophy and Sustainable Development หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) โดยสานักศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ...

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ๐๐๔๔๐๐๖ ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาที่ยั่งยืน The King's Philosophy and Sustainable Development หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๓) โดยสานักศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก คานา เอกสารประกอบการสอนรายวิชาศาสตร์พ ระราชากับ การพัฒนาที่ยั่งยืน รหัสวิชา ๐๐๔๔๐๐๖ ฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อนากระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างอาจารย์และนิสิต ในแต่ละกลุ่มการเรียน กิจกรรมการเรียนรู้ที่กาหนดในแต่ละบทเรียนจะส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ แบบ Active Learning ที่ เ น้ น การจั ด การเรี ย นรู้ โ ดยใช้ กิ จ กรรมในชั้ น เรี ย น (Activity-based Learning) การมอบหมายทั้งงานเดี่ยวและงานกลุ่ม จะทาให้นิสิตได้ฝึกคิดและนาเอาสิ่งที่ได้เรียนรู้ ไปทดลองปฏิบัติในการดาเนินชีวิตจริง ผ่านการเรียนรู้จากศาสตร์พระราชาในแนงต่างๆ คณะผู้แต่งหวังว่า เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้คงอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการ สอนตามสมควร หากท่านที่นาไปใช้มีข้อเสนอแนะ ผู้แต่งยินดีรับฟังความคิดเห็น และขอขอบคุณ มา ณ โอกาสนี้ด้วย คณะผู้แต่ง มิถุนายน ๒๕๖๓ ข สารบัญ หน้า คานา (ก) สารบัญภาพ (ข) สารบัญตาราง (ค) บทเรียนที่ ๑ พระราชประวัติในหลวงรัชกาลที่ ๙ ๑-๑ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ๑-๑ ๑.๑ พระราชประวัติของในหลวง รัชกาลที่ ๙...............................................................๑-๒ ๑.๒ พระอัจฉริยภาพของในหลวง รัชกาลที่ ๙..............................................................๑-๙ บทเรียนที่ ๒ ที่มาของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒-๑ ๒.๑ วิกฤตเศรษฐกิจ ๒๕๔๐..........................................................................................๒-๒ ๒.๒ พระราชดารัสเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง....................................๒-๘ บทเรียนที่ ๓ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓-๑ ๓.๑ ความเป็นมาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง...........................................................๓-๓ ๓.๒ จุดเริ่มต้นแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง....................................................๓-๔ ๓.๓ แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง...................................................................๓-๕ ๓.๔ ความหมายของ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”................................................๓-๖ ๓.๕ ความสาคัญปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง............................................................๓-๖ ๓.๖ องค์ประกอบปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง..........................................................๓-๗ ๓.๗ จุดเด่นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง................................................................. ๓-๑๑ ๓.๘ ตัวอย่างการวิเคราะห์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง.......................................... ๓-๑๑ ๓.๙ รูปแบบปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี ๒ รูปแบบ คือ.................................... ๓-๑๒ ๓.๑๐ ผลที่คาดว่าจะได้รับภายหลังปฏิบัติตนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง...... ๓-๑๔ บทเรียนที่ ๔ ศาสตร์พระราชาและหลักการทรงงาน ๔-๑ ๔.๑ ศาสตร์พระราชา....................................................................................................๔-๒ ๔.๒ หลักการทรงงาน....................................................................................................๔-๗ ค บทเรียนที่ ๕ ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาที่ยงั่ ยืน ๕-๑ ๕.๑ ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาอย่างยั่งยืน............................................................๕-๒ ๕.๒ เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)................................................................๕-๔ ๕.๓ หลักเศรษฐกิจพอเพียงหนทางสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน..........................๕-๕ บทเรียนที่ ๖ เกษตรทฤษฎีใหม่ ๖-๑ ๖.๑ เกษตรทฤษฎีใหม่...................................................................................................๖-๒ ๖.๒ เกษตรทฤษฎีใหม่ที่สมบูรณ์...................................................................................๖-๗ บทเรียนที่ ๗ เศรษฐศาสตร์กับความพอเพียง: บัญชีรายรับรายจ่าย ๗-๑ ๗.๑ เศรษฐศาสตร์การออม...........................................................................................๗-๒ ๗.๒ การทาบัญชีรายรับ-จ่ายตนเอง..............................................................................๗-๔ บทเรียนที่ ๘ การประยุกต์ศาสตร์พระราชาเพื่อนาไปสู่การพัฒนาที่ยงั่ ยืน ๘-๑ ๘.๑ ศาสตร์พระราชาด้านการอนุรักษ์ดิน......................................................................๘-๒ ๘.๒ ศาสตร์พระราชาด้านการอนุรักษ์น้า................................................................... ๘-๑๒ ๘.๓ ศาสตร์พระราชาด้านการอนุรักษ์ป่าไม้............................................................... ๘-๒๒ บทเรียนที่ ๙ การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในยุคดิจิทลั ๙-๑ ๙.๑ เศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ใช้ในยุคดิจิทัล.............................................................๙-๒ ๙.๒ เศรษฐกิจพอเพียงกับคนรุ่นใหม่.............................................................................๙-๓ ๙.๓ การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุมชน........................๙-๔ ๙.๔ ตัวอย่างการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชุมชน...........๙-๖ ๙.๕ การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงระดับประเทศ.........................๙-๗ ๙.๖ แนวทางการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับประเทศ.......๙-๘ ๑ รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะ/ภาควิชา/สาขาวิชา สานักศึกษาทั่วไป หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทั่วไป ๑. รหัสและชื่อรายวิชา ๐๐๔๔๐๐๖ ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาที่ยงั่ ยืน The King's Philosophy and Sustainable Development ๒. จานวนหน่วยกิต ๒ หน่วยกิต (๒-๐-๔) ๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรปริญญาตรี หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ประเภทของรายวิชากลุ่มพลเมืองเข้มแข็ง (วิชาเลือก) ๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ๔.๑ อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา อาจารย์ผู้ประสานงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โสภา แคนสี อาจารย์ผู้ประสานงานร่วม ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ ถนนแก้ว ๔.๒ อาจารย์ผู้สอน ๑) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประภัสสร วารีศรี ๒) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ บุญเที่ยง ๓) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เบ็ญจวรรณ ชุติชูเดช ๔) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประภัสสร บุษหมั่น ๕) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปณรัตน์ ผาดี ๖) รองศาสตราจารย์ประสิทธิ์ ชุตชิ ูเดช ๗) อาจารย์ธวัช ชินราศี ๘) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปฏิเวทย์ ยาวงษ์ ๙) อาจารย์นนั ทพร อยู่สะอาด ๑๐) ผู้ช่วยศาสตราจารย์คะนอง พิลนุ ๑๑) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กานต์สริ ิ ปักเคธาติ ๑๒) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัศน์วรรณ แก้ววังชัย ๑๓) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บังอร แถวโนนงิ้ว ๑๔) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มัณฑนา นครเรียบ ๑๕) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมชาย แก้ววังชัย ๑๖) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภลักษณ์ อรรถรังสรรค์ ๑๗) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรอนงค์ ชีระโรจน์ ๒ ๑๘) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัณศยา ท่อนโพธิ์ ๑๙) ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรทิพย์ อติชาติ ๒๐) ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิริพิศ พิศชวนชม ๒๑) รองศาสตราจารย์ ดร.ประสงค์ สีหานาม ๒๒) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โสภา แคนสี ๒๓) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจน์ เรืองมนตรี ๒๔) รองศาสตราจารย์ ดร.ธรินธร นามวรรณ ๒๕) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ ถนนแก้ว ๒๖) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขวัญใจ ศุกรนันทน์ ๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ ๑/๒๕๖๓ ชั้นปีที่ ๑-๔ ๖. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี ๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน(Co-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี ๘. สถานที่เรียน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ๙. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ๑) จุดมุ่งหมายของรายวิชา ๑.๑ เพื่อให้นิสิตทราบพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร ศาสตร์พระราชาและหลักการทรงงาน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน การประยุกต์ศาสตร์พระราชาเพื่อนาไปสู่ การพัฒนาที่ยั่งยืน การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในยุคดิจิทัล ๑.๒ เพื่อให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกา ธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ๑.๓ เพื่อให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจหลักการทรงงาน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ ๑.๔ เพื่อให้นิสิตสามารถประยุกต์ศาสตร์พระราชาเพื่อใช้ในชีวิตได้ ๑.๕ เพื่อให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจและสามารถทาบัญชีรายรับ รายจ่ายได้ ๒) วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา ๓ หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดาเนินการ ๑. คาอธิบายรายวิชา พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรม นาถบพิตร ศาสตร์พระราชาและหลักการทรงงาน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตร ทฤษฎีใหม่ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน การประยุกต์ศาสตร์พระราชาเพื่อนาไปสู่การพัฒนา ที่ยั่งยืน Biography of His Majesty King Bhumibol Adulyadej The Great; the King’ s philosophy; His Majesty the King’ s Working Principles; philosophy of the sufficiency economy; New Theory Agriculture; sustainable development goals; application of the King’s philosophy in sustainable development ๒. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา การฝึกปฏิบัต/ิ งาน บรรยาย สอนเสริม การศึกษาด้วยตนเอง ภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วย บรรยาย ๓๐ ชั่วโมงต่อ สอนเสริมตามความ ไม่มีการฝึกปฏิบตั ิ ตนเอง ๔ ชั่วโมงต่อ ภาคการศึกษา ต้องการของนิสิต สัปดาห์ ๓. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ทอี่ าจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นิสิตเป็น รายบุคคล อาจารย์ประจาวิชาจัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ๑ ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายทีต่ ้องการ) *หมวดที่ ๔ การพัฒนาการเรียนรู้ของนิสิต ๑. คุณธรรม จริยธรรม ( ) คุณธรรม จริยธรรมที่ต้อง วิธีการสอน วิธีการประเมินผล พัฒนา ๑.๑ มีความซื่อสัตย์สุจริต ให้ความสาคัญในวินัย สอดแทรก พฤติกรรมของ นักศึกษาใน คุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์ต่อ การปฏิบัติตามกฎระเบียบ ตนเอง และสังคม และ/หรือปลูกฝัง และข้อบังคับต่าง ๆ อย่าง จรรยาบรรณวิชาชีพ ต่อเนื่อง ๔ การทุจริตในการสอบ และ/ หรือความรับผิดชอบต่อ หน้าที่และงานที่ได้รับ มอบหมาย ๑.๒ มีความรับผิดชอบและ การตรงต่อเวลา การส่งงานภายใน การให้คะแนนการเข้าชั้น ตรงต่อเวลา เวลาที่กาหนด เรียนและการส่งงานตรงเวลา ๑.๓ มีจริยธรรม สานึก จัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรม สาธารณะและเป็นพลเมืองที่ และ/หรือแสดงถึงการมีเมตตา การเสียสละการทางานกลุ่ม เข้มแข็ง กรุณา หรือ ความเสียสละ ๒. ความรู้ ( ) ความรู้ที่ต้องได้รับ วิธีการสอน วิธีการประเมินผล ๒.๒ มีความรู้ความเข้าใจด้าน ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้น ๑. สอบกลางภาค และปลาย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ ภาค เพื่อให้เกิด ความรู้ความเข้าใจพระ และปลายภาค ราชประวัติพระบาทสมเด็จพระบรม ๒. ประเมินจากรายงาน ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช โครงงาน ที่นักศึกษาได้รับ มหาราช บรมนาถบพิตร ศาสตร์ มอบหมาย รายงานที่ พระราชาและหลักการทรงงาน หลัก นาเสนอ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ ๒.๔ มีความรู้ความเข้าใจ ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้น ๑. สอบกลางภาค และปลาย พื้นฐานด้านธรรมชาติและ หลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ ภาค สิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิด ความรู้ความเข้าใจศาสตร์ ๒. ประเมินจากรายงาน พระราชาและหลักการทรงงาน หลัก โครงงาน ที่นักศึกษาได้รับ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มอบหมาย รายงานที่ เกษตรทฤษฎีใหม่ นาเสนอ ๒.๕ มีความรู้ความเข้าใจ ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้น ๑.การสอบกลางภาค พื้นฐานด้านเศรษฐกิจ หลักประยุกต์ เป้าหมายการพัฒนาที่ และปลายภาค ยั่งยืน การประยุกต์ศาสตร์พระราชา ๒. ประเมินจากรายงาน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โครงงาน ที่นักศึกษาได้รับ มอบหมาย รายงานที่ นาเสนอ ๕ ๓. ทักษะทางปัญญา ( ) ทักษะทางปัญญาที่ต้อง วิธีการสอน วิธีการประเมินผล พัฒนา ๓.๑ ทักษะการคิดอย่างมี ๑. มอบหมายให้นิสิตทางานเดี่ยวจด ๑. ให้นิสิตส่งบัญชีรับ-จ่าย เหตุผล คิดวิเคราะห์อย่างมี บัญชีรับ-จ่าย โดยกาหนดให้นิสติ ต้อง ซึ่งเป็นงานเดี่ยวที่ตน ระบบและคิดอย่างเป็นองค์ มีการสรุปและวิเคราะห์การใช้จา่ ย รับผิดชอบ โดยกาหนด รวม ของตนเอง เพื่อปรับเปลี่ยน คะแนนเป็น ๑๐% พฤติกรรมในด้านการใช้เงินของตน ๒. ส่งเสริมการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ เพื่อคิดเป็นองค์รวม ๓.๕ สามารถนาความรู้ไปใช้ ๑. มอบหมายให้นิสิตทากิจกรรมกลุ่ม ๑. การส่งงานกิจกรรมกลุ่ม ในการสร้างสัมมาอาชีพและ เพื่อนาหลักของศาสตร์พระราชามา ๒. การนาเสนองานกลุ่มที่ พัฒนาคุณภาพชีวิต ประยุกต์ใช้ในแปลงเกษตร มอบหมาย โดยกาหนด ๒. ส่งเสริมการวิเคราะห์ สังเคราะห์ คะแนนเป็น ๑๐% ตีความ เพื่อนาความรูไ้ ปใช้ในการ สร้างสัมมาอาชีพและพัฒนาคุณภาพ ชีวิต ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ( ) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบที่ วิธีการสอน วิธีการประเมินผล ต้องพัฒนา ๔.๑ เข้าใจตนเองและผู้อื่น ๑. ส่งเสริมแนะนากฎ กติกา ๑. การส่งงานกิจกรรมกลุ่ม สามารถบริหารจัดการทาง มารยาท ในการมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ๒. การนาเสนองานกลุ่มที่ อารมณ์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี กับเพื่อนร่วมชั้นเรียน ทางาน มอบหมาย โดยกาหนด ร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผูน้ า และผู้ คะแนนเป็น ๑๐ % ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. ส่งเสริมให้นักศึกษากล้า แสดงออก และ/หรือเสนอความ คิดเห็น อย่างมีเหตุผลโดยการจัด อภิปราย และ/หรือเสวนางานที่ มอบหมาย ๔.๒ มีทักษะความร่วมมือ ๑. มอบหมายงานกลุ่มย่อย โดยสลับ ๑. การส่งงานกิจกรรมกลุ่ม สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ หมุนเวียนหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่ม ให้ความสาคัญในการ แบ่งหน้าที่ ๖ ความรับผิดชอบและการให้ความ ๒. การนาเสนองานกลุ่มที่ ร่วมมือ มอบหมาย โดยกาหนด คะแนนเป็น ๑๐% ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ( ) ทักษะการวิเคราะห์เชิง วิธีการสอน วิธีการประเมินผล ตัวเลข การสื่อสาร และการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ ต้องพัฒนา ๕.๑ สามารถแปรผลตัวเลขให้ ๑. มอบหมายให้ทาบัญชีรับ-จ่ายตาม ๑. ตรวจให้คะแนนบัญชีรบั - เป็นข้อมูลเกี่ยวข้องกับการ หลักตามหลักเศรษฐศาสตร์ความ จ่าย โดยกาหนดคะแนนเป็น ดารงชีวิตอย่างถูกต้อง พอเพียง ๑๐% เหมาะสม หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล ๑. แผนการสอน จานวน กิจกรรมการเรียนรู้/วิธีสอน ครั้งที่ หัวข้อ/รายละเอียด ผู้สอน ชั่วโมง /สื่อการสอนที่ใช้ ๑ แนะนารายวิชาและจุดมุ่งหมาย ๒ - บรรยาย ถาม-ตอบ รายวิชา - มอบหมายงานบันทึกบัญชี ชี้แจง มคอ.๓ รายรับ รายจ่าย - มอบหมายงานกิจกรรมการ ประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชาฯ - แทรกคุณธรรมจริยธรรม ที่มา ของข้อตกลง - ใบกิจกรรมที่ ๑ ๒ บทที่ ๑ พระราชประวัติและ ๒ - E-learning เปิดคลิปวีดีโอ พระราชกรณียกิจ หรือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สื่อมัลติมิเดียพระราชประวัติ รัชกาลที่ ๙ - บรรยายสรุปประกอบสื่อ - มอบหมายให้ทาใบกิจกรรม สุ่มให้นาเสนอแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสะท้อนการเรียนรู้ - ใบกิจกรรมที่ ๒ ๗ จานวน กิจกรรมการเรียนรู้/วิธีสอน ครั้งที่ หัวข้อ/รายละเอียด ผู้สอน ชั่วโมง /สื่อการสอนที่ใช้ ๓ บทที่ ๒ ที่มาของปรัชญาของ ๒ - E-learning เปิดคลิปวีดีโอ เศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ ๑ หรือ วิกฤตเศรษฐกิจ ๒๕๔๐ และ สื่อมัลติมิเดียศาสตร์พระราชา วิกฤตโรคโควิด ๑๙ และหลักการทรงงาน - บรรยายสรุปประกอบสื่อ - มอบหมายให้ทาใบกิจกรรม สุ่มให้นาเสนอแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสะท้อนการเรียนรู้ - ใบกิจกรรมที่ ๓ ๔ บทที่ ๒ ที่มาของปรัชญาของ ๒ - E-learning เปิดคลิปวีดีโอ เศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ 2 หรือสื่อมัลติมิเดียศาสตร์ พระราชดารัสเกี่ยวความ พระราชาและหลักการทรง พอเพียง งาน - บรรยายสรุปประกอบสื่อ - มอบหมายให้ทาใบกิจกรรม สุ่มให้นาเสนอแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสะท้อนการเรียนรู้ - ใบกิจกรรมที่ ๔ ๕ บทที่ ๓ หลักปรัชญาของ ๒ - E-learning เปิดคลิปวีดีโอ เศรษฐกิจพอเพียง หรือสื่อมัลติมิเดียศาสตร์ที่มา ของหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง - บรรยายสรุปประกอบสื่อ - มอบหมายให้ทาใบกิจกรรม สุ่มให้นาเสนอแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสะท้อนการเรียนรู้ - ใบกิจกรรมที่ ๕ - 🗹 Case study ๖ บทที่ ๓ หลักปรัชญาของ ๒ - E-learning เปิดคลิปวีดีโอ เศรษฐกิจพอเพียง (ต่อ) หรือสื่อมัลติมิเดียหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง - บรรยายสรุปประกอบสื่อ ๘ จานวน กิจกรรมการเรียนรู้/วิธีสอน ครั้งที่ หัวข้อ/รายละเอียด ผู้สอน ชั่วโมง /สื่อการสอนที่ใช้ - มอบหมายให้ทาใบกิจกรรม สุ่มให้นาเสนอแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสะท้อนการเรียนรู้ - ใบกิจกรรมที่ ๖ - 🗹 Case study ๗ บทที่ ๔ ศาสตร์พระราชาและ ๒ - E-learning เปิดคลิปวีดีโอ หลักการทรงงาน หรือ สื่อมัลติมิเดียศาสตร์พระราชา และหลักการทรงงาน - บรรยายสรุปประกอบสื่อ - มอบหมายให้ทาใบกิจกรรม สุ่มให้นาเสนอแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสะท้อนการเรียนรู้ - ใบกิจกรรมที่ ๗ ๘ บทที่ ๕ เป้าหมายการพัฒนาที่ ๒ - E-learning เปิดคลิปวีดีโอ ยั่งยืน SDG หรือสื่อมัลติมิเดียเกษตร ทฤษฎีใหม่ - บรรยายสรุปประกอบสื่อ - มอบหมายให้ทาใบกิจกรรม สุ่มให้นาเสนอแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสะท้อนการเรียนรู้ - -ใบกิจกรรมที่ ๘ - 🗹 Case study ๙ สอบกลางภาค ๑๐ บทที่ ๖ เกษตรทฤษฎีใหม่ ๒ - E-learning เปิดคลิปวีดีโอ หรือสื่อมัลติมิเดียเกษตร ทฤษฎีใหม่ - บรรยายสรุปประกอบสื่อ - มอบหมายให้ทาใบกิจกรรม สุ่มให้นาเสนอแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสะท้อนการเรียนรู้ ๙ จานวน กิจกรรมการเรียนรู้/วิธีสอน ครั้งที่ หัวข้อ/รายละเอียด ผู้สอน ชั่วโมง /สื่อการสอนที่ใช้ - ใบกิจกรรมที่ ๙ - 🗹 Case study ๑๑ บทที่ ๖ เกษตรทฤษฎีใหม่ (ต่อ) ๒ 🗹 Active Lecture - การสอนแบบยกตัวอย่าง สาธิต การถาม-ตอบ 🗹 Case study - ตัวอย่างการประผลสาเร็จ ด้านการน้อมนาเกษตรทฤษฎี ใหม่มาใช้ในชีวิต - ใบกิจกรรมที่ ๑๐ ๑๒ บทที่ ๗ การประยุกต์ศาสตร์ ๒ 🗹 Active Lecture พระราชาเพื่อนาไปสู่การพัฒนา - การสอนแบบยกตัวอย่าง ที่ยั่งยืน: เศรษฐศาสตร์กับความ สาธิต การถาม-ตอบ พอเพียง 🗹 Case study - การประยุกต์ใช้ศาสตร์ระ ราชาด้านเศรษฐศาสตร์กับ ความพอเพียง การวิเคราะห์ บัญชีรับ จ่าย - ใบกิจกรรมที่ ๑๑ ๑๓ บทที่ ๘ การประยุกต์ศาสตร์ ๒ 🗹 Active Lecture พระราชาเพื่อนาไปสู่การพัฒนา - การสอนแบบยกตัวอย่าง ที่ยั่งยืน: การอนุรักษ์ดิน สาธิต การถาม-ตอบ อนุรักษ์น้าและอนุรักษ์ป่าไม้ - ปฏิบัติการกลุ่มย่อยใน ห้องเรียน - Project based learning - Group Discussion - ใบกิจกรรมที่ ๑๒ ๑๔ บทที่ ๙ การประยุกต์ศาสตร์ 🗹 Active Lecture พระราชาเพื่อนาไปสู่การพัฒนา ๒ - การสอนแบบยกตัวอย่าง ที่ยั่งยืน: การน้อมนาหลัก สาธิต การถาม-ตอบ ๑๐ จานวน กิจกรรมการเรียนรู้/วิธีสอน ครั้งที่ หัวข้อ/รายละเอียด ผู้สอน ชั่วโมง /สื่อการสอนที่ใช้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 🗹 Case study มาใช้ในยุคดิจิทลั - การน้อมนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในยุค ดิจิทัล - ใบกิจกรรมที่ ๑๓ นาเสนอการประยุกต์ศาสตร์ ๒ - นาเสนอการ จัดนิทรรศการ ๑๕ พระราชาเพื่อนาไปสู่การพัฒนา การแลกเปลี่ยนรู้การประยุกต์ ที่ยั่งยืน ศาสตร์พระราชา ๑๖ นาเสนอการประยุกต์ศาสตร์ ๒ - นาเสนอการ จัดนิทรรศการ พระราชาเพื่อนาไปสู่การพัฒนา การแลกเปลี่ยนรู้การประยุกต์ ที่ยั่งยืน ศาสตร์พระราชา ประเมินผลการทากิจกรรมโดย - นิสิตประเมินการเรียนและ นิสิต การทากิจกรรมประจาภาค การศึกษาเพื่อจัดทาเป็น ข้อมูลการปรับปรุงการเรียน การสอน ๑๗ สอบปลายภาค *๒. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ๒. ๑ การวัดผล กิจกรรม ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ สัดส่วนของ ที่ การ ประเมิน ประเมินผล ๑ ๑.๓,๒.๓, ๓.๑,๓.๒, ๕.๑ การประยุกต์ใช้ศาสตร์ ๑๐-๑๖ ๓๐ พระราชาเพื่อนาไปสู่การ พัฒนาที่ยั่งยืน ๒ ๑.๒,๔.๑, ๔.๒ เข้าเรียน ๑-๑๖ ๑๐ ๓ ๑.๑, ๑.๒, ๑.๓ กิจกรรม/ใบงาน ๑-๑๖ ๑๐ ๔ ๒.๑, ๒.๒, ๒.๓, สอบกลางภาค ๙ ๓๐ ๕ ๓.๑, ๓.๒,๕.๑ สอบปลายภาค ๑๗ ๒๐ ๑๑ ๒.๒ การประเมินผล ช่วงเกรด เกรด ๘๐-๑๐๐ A ๗๕-๗๙ B+ ๗๐-๗๔ B ๖๕-๖๙ C+ ๖๐-๖๔ C ๕๕-๕๙ D+ ๕๐-๕๔ D ๐-๔๙ F หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน ๑. ตาราและเอกสารหลักทีใ่ ช้ในการเรียนการสอน ๑. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ๐๐๔๔๐๐๖ ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาที่ยงั่ ยืน ๒. เอกสารและข้อมูลสาคัญที่นิสิตจาเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติม ๑. เป็นไปตามดุลยพินิจของอาจารย์ผสู้ อน ๓. เอกสารและข้อมูลแนะนาที่นิสิตควรศึกษาเพิ่มเติม ๑. ปรียานุช ธรรมวิปา. วิกฤตเศรษฐกิจ. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จากัด (มหาชน). พิมพ์ครั้งที่ ๓. ๒๕๕๗ ๒. เอกสารมูลนิธิชัยพัฒนา (www.chaipat.or.th) หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา ๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนิสิต ๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน ๓. การปรับปรุงการสอน ๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิตในรายวิชา ๕. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ๑-๑ บทเรียนที่ ๑ พระราชประวัติในหลวงรัชกาลที่ ๙ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มัณฑนา นครเรียบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขวัญใจ ศุกรนันทน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัณศยา ท่อนโพธิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิริพิศ พิศชวนชม ผู้เรียบเรียง วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ๑. นิสิตสามารถบอกถึงพระราชประวัติของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ได้ ๒. นิสิตสามารถอธิบายพระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ได้ วิธีการสอน/กิจกรรมการเรียนการสอน ๑. ให้นิสิตดูคลิปวีดีโอเรื่อง “พระราชประวัติในหลวง รัชกาลที่ ๙” ๒. ให้นิสิตเขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) ลงในใบบันทึกการเรียนรู้ ๓. สะท้อนการเรียนรู้ (Learning Reflection) ๔. บรรยายสรุป การประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ ๑. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ๒. สะท้อนการเรียนรู้ผ่านใบกิจกรรม ๓. ทดสอบกลางภาคเรียน บทนา คนไทยทุกคนควรจะศึกษาพระราชประวัติของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (ในหลวงรัชกาลที่ ๙) และร่วมกันสืบสานพระราช ปณิ ธ านของพระองค์สู่ ลูกหลานสืบไป ปรัช ญาของเศรษฐกิจพอเพีย ง มิ ไ ด้ เกิด จากที่ทรงคิด หากแต่เกิดจากที่ทรงคิดและปฏิบัติด้วยพระองค์เองตลอดระยะเวลาที่ทรงครองแผ่นดินโดยธรรม อั น น าความเจริ ญ รุ่ ง เรื อ งมาสู่ ป ระเทศไทย ยั ง ความผาสุ ก สามั ค คี ใ ห้ มี กั บ คนไทยทั้ ง มวล การศึกษาพระราชประวัติและพระอัจฉริยภาพในด้านต่างๆของในหลวงรัชกาลที่ ๙ จึงเป็นเรื่องที่ จาเป็นสาหรับผู้เรียนในการศึกษาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เนื้อหา ๑. พระราชประวัติของในหลวง รัชกาลที่ ๙ ๒. พระอัจฉริยภาพของในหลวง รัชกาลที่ ๙ ๑-๒ ๑.๑ พระราชประวัติของในหลวง รัชกาลที่ ๙ พระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (ในหลวงรัชกาลที่ ๙) ทรงพระราชสมภพเมื่อวันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๑๒ ค่า ปีเถาะ นพศก จุล ศั กราช ๑๒๘๙ ตรงกับ วั นที่ วันที่ ๕ ธั น วาคม พ.ศ.๒๔๗๐ ณ โรงพยาบาลเมานท์ ออเบอร์น (MOUNT AUBURN) รัฐเมสสาชูเขตต์ (MASSACHUSETTS) ประเทศสหรัฐอเมริกา เนื่องจาก พระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนีกาลัง ทรงศึกษาวิชาการอยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา มี พระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติบัตรว่า "เบบี สงขลา” ต่อมาได้รับพระราชทานนามเป็น “พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช” ทรงเป็นพระราชโอรสในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล อดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (ต่อมาได้รับการเฉลิมพระนามาภิไธยเป็น สมเด็จพระมหิต ลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (ต่อมาได้รับ การเฉลิมพระนามาภิไธย เป็นสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนีหรือสมเด็จย่า) และเป็นพระ ราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว กับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออกพระนามเรียกพระองค์เป็นการลาลองว่า "เล็ก” ทรงมีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช ๒ พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่ นางเธอ เจ้ า ฟ้ า กัล ยาณิ วั ฒ นา กรมหลวงนราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ และพระบาทสมเด็ จ พระ ปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (ในหลวงรัชกาลที่ ๘) พระนามภูมิพลอดุลเดชนั้น พระบรมราชชนนีได้รับพระราชทานทางโทรเลขจากพระ บาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ โดยทรงกากับตัว สะกด เป็นอักษรโรมันว่า "Bhumibala Aduladeja" ทาให้สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรง เข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า "ภูมิบาล" ในระยะแรกพระนามของพระองค์ สะกดเป็นภาษา ไทยว่า "ภูมิพลอดุลเดช" ต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดชเองทรงเขียนว่า "ภูมิพลอดุลยเดช" โดยทรงเขียนทั้งสองแบบสลับกั นไป จนมาทรงนิยมใช้ แบบหลังซึ่งมีตัว "ย" สะกด พระนามของพระองค์มีความหมายดังนี้ ภูมิ หมายถึง “แผ่นดิน” และ พล หมายถึง “พลัง” รวมกันแล้ว ภูมิพล จึงหมายความว่า “พลังแห่งแผ่นดิน” ส่วน อดุลย หมายถึง “ไม่อาจเทียบได้” และ เดช หมายถึง “อานาจ” รวมกันแล้ว อดุลยเดช จึงหมายความ ว่า “อานาจที่ไม่อาจเทียบได้” เมื่อพ.ศ. ๒๔๗๑ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ได้เสด็จพระราชดาเนินกลับประเทศไทยพร้อม สมเด็จพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสาเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมจาก มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ อเมริกา พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเชษฐภคินี และสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ ๒๔ กันยายน ๒๔๗๒ สมเด็จพระบรมราชชนกเสด็จสวรรคตขณะที่ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงมีพระชนมพรรษาไม่ถึง ๒ พรรษา ๑-๓ รูปที่ ๑.๑ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (ในหลวงรัชกาลที่ ๘) สมเด็จพระ ศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราช นครินทร์และในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่มา: https://www.sanook.com/news/851107/1) พระราชประวัติการศึกษา เมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๕ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงเจริญพระชนมายุ ๔ พรรษาได้ทรงเข้า รับการศึกษาเบื้องต้นที่โรงเรียนมาแตร์เดอี ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯ ขณะนั้นประเทศไทยมีการ เปลี่ ย นแปลงการปกครองจากสมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชย์ เป็ น ระบอบประชาธิ ป ไตย โดยมี พระมหากษัตริย์อยู่ใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญ การเมืองผันผวน ในเดือน กันยายน ๒๔๗๖ หม่อม สั ง วาลย์ มหิ ด ล ณ อยุ ธ ยา จึ ง ทรงน าพระธิ ด า พระโอรส เสด็ จ ไปประทั บ ณ กรุง โลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อทรงรับการศึกษา พระองค์ทรงเข้ารับการศึกษาชั้นประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมียร์มองต์ (MERRIMENT) เมืองโลซานน์ (LASAGNA) เมื่อพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า อานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเสด็จขึ้นครอง ราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๘ แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น “สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลเดช” เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๔๗๘ ในปี พ.ศ. ๒๔๗๘ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงเข้าศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษา ณ โรงเรียนเอ โกล นูแวล เดอ ลา สวิส โรมองต์ และโรงเรียนยิมนาส กลาซีค กังโตนาล ตามลาดับ และทรง ได้รับประกาศนียบัตร บาเชอลิเย เอ แลทร์ จากการศึกษาดัง กล่าวทรงรอบรู้หลายภาษา ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมันและละติน ต่อจาก นั้นทรงเข้าศึกษาระดับอุดมศึกษาแผนกวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยโลซานน์ พร้อมกับพระเชษฐาธิราชซึ่งกาลังศึกษาวิชารัฐ ประศาสนศาสตร์อยู่ก่อนแล้ว ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ ได้เสด็จนิวัตกลับประเทศไทยพร้อมด้วย พระบรมเชษฐาธิราช พระบรมราชชนนี และสมเด็จพระนางเจ้าพี่นางเธอ ๑-๔ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๑ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ได้โดยเสด็จสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดลเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นเวลา ๒ เดือนโดยประทับที่พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต สมเด็จพระอนุชา(พระอิสริยยศช่วงนั้น) เสด็จไปด้วยทุกหนทุกแห่ง รวมทั้งเสด็จ เยือนสาเพ็งย่านธุรกิจของคนจีน ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ก็ทรงทาหน้าที่เป็นช่างภาพถวายด้วย ครองราชย์ อี กไม่ กี่วั น ที่ ในหลวงรัช กาลที่ ๙ จะเสด็ จ พระราชด าเนิ นกลั บสวิ ตเซอร์แลนด์ แต่ หมายกาหนดการนั้นต้องเลื่อนออกไปเมื่อ วันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ พระบาทสมเด็จพระ เจ้ า อยู่ หั ว อานั น ทมหิ ด ล สมเด็ จ พระบรมเชษฐาธิ ร าชทรงเสด็ จ สวรรคตด้ ว ยพระแสงปื น คณะรั ฐ มนตรี ไ ด้ มี ม ติ ใ ห้ ก ราบบั ง คมทู ล อั ญ เชิ ญ พระองค์ เ สด็ จ ขึ้ น ครองราชสมบั ติ ขึ้ น เป็ น พระมหากษัตริย์องค์ที่ ๙ แห่งราชวงศ์จักรี ทรงมีพระนามว่า “ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรามาธิบดีจักรีนฤบดินทรสยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร” ซึ่งในขณะนั้นมีพระชนมายุเพียง ๑๙ พรรษา เท่านั้น ก่อนที่พระองค์จะเสด็จพระราชดาเนินกลับไปทรงศึกษาต่อ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้มีพระราชดารัสอาลาประชาชนทางวิทยุกระจายเสียงว่า “ข้าพเจ้ามีความจาเป็นที่จะต้องจาก ประเทศไทยและพวกท่านทั้งหลายเพื่อไปศึกษาต่อให้มีความรู้ด้านใหม่ ”จากนั้นเสด็จพระราช ดาเนินกลับไปทรงศึกษาต่อที่สวิตเซอร์แลนด์จนถึงพ.ศ. ๒๔๘๘ ทรงรับระกาศนียบัตรทางอักษร ศาสตร์จากโรงเรียนยิมนาสคลาซีคกังโตนาล แล้วทรงเข้าศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยโลซานแต่ เปลี่ยนสาขาจากวิทยาศาสตร์ไปเป็นสาขาสังคมศาสตร์ นิติศาสตร์ และรัฐศาสตร์ ขณะที่พระองค์ ประทับรถพระที่นั่งเสด็จพระราชดาเนินไปยัง ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง เพื่อทรงศึกษา เพิ่ ม เติ ม ที่ ส วิ ต เซอร์ แ ลนด์ ก็ ท รงได้ ยิ น เสี ย งราษฎรคนหนึ่ ง ตะโกนว่ า “ในหลวง อย่ า ทิ้ ง ประชาชน” จึงทรงนึกตอบในพระราชหฤทัยว่า “ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะทิ้ง ประชาชนอย่างไรได้ ” ซึ่งในหลวงรัชกาลที่ ๙ ได้ทรงตระหนักในหน้าที่พระมหากษัตริย์ของ พระองค์ ดังที่ได้ตรัสตอบชายคนเดิมนั้นในอีก ๒๐ ปีต่อมา พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส ใน พ.ศ. ๒๔๙๑ ระหว่ า งที่ ในหลวงรั ช กาลที่ ๙ ทรงศึ ก ษาอยู่ ณ ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์นั้น พระองค์ได้ทรงขับรถยนต์ไปทรงร่วมงานที่ สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุง ปารีส ได้ทรงพบและมีพระราชหฤทัยสนิทเสน่หาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (ในขณะนั้นดารงพระยศเป็นหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร) ธิดา ของหม่ อมเจ้ า นั กขัต รมงคล กิติ ย ากร เอกอั ครราชทู ต ไทยประจ ากรุง ปารี ส ในปี เดี ย วกัน นี้ พระองค์ทรงประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์อย่างรุนแรง ทรงบาด เจ็บที่พระพักตร์ พระเนตรขวา และพระเศียร ทรงเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลมอร์เซส์ โดยแพทย์ได้ถวายการรักษาอย่าง ต่อเนื่องหลายครั้ง หากแต่พระอาการยังคงไม่ดีขึ้น กระทั่งวินิจฉัยแล้วว่าพระองค์ไม่ สามารถ ๑-๕ ทอดพระเนตรผ่านทางพระเนตรขวาของพระองค์เองได้ต่อไปแล้ว จึงได้ถวายการแนะนาให้ พระองค์ทรงพระเนตรปลอมในที่สุด ทรงโปรดฯให้หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากรมาเฝ้าฯ ถวาย การดู แ ลอย่ า งใกล้ ชิด พระสั มพั นธภาพจึ งแน่น แฟ้น ขึ้น และต่ อมาได้ ทรงหมั้ น เมื่ อวั น ที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๔๙๒ โดยได้พระราชทานพระธามรงค์วงที่สมเด็จพระบรมราชชนกหมั้นสมเด็จพระ ราชชนนีเมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๓ เมื่อเสด็จพระราชดาเนินกลับประเทศไทย โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีถวายพระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ระหว่ า งวั นที่ ๒๘-๓๐ มี น าคม ๒๔๙๓ และเมื่ อวั น ที่ ๒๘ เมษายน ๒๔๙๓ ทรงประกอบพิธี ราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ที่วังสระปทุม โดยสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรม ราชเทวี พระพันวสาอัยยิกาเจ้า พระราช ทานหลั่งน้าพระมหาสังข์ ทรงจดทะเบียนสมรสตาม กฎหมายเช่นเดียวกับประชาชน ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้อาลักษณ์อ่าน ประกาศสถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ พระอัครมเหสี เป็นสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ รูปที่ ๑.๒ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส กับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ที่มา: https://ka.mahidol.ac.th/king_9/history.html หลังจากนั้น ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ได้เสด็จไปประทับพักผ่อน ณ พระราชวังไกลกังวล หัวหิน และที่นี่เป็นแหล่งเกิดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริโครงการแรกคือ พระราชทาน “ถนน สายห้วยมงคล” ให้แก่ “ลุงรวย” และชาวบ้านที่มาช่วยกันเข็นรถพระที่นั่งขึ้นจากหล่มดิน ทั้งนี้ แม้ “ห้วยมงคล” จะอยู่ห่างอาเภอหัวหิน เพียง ๒๐ กิโลเมตร แต่ไม่มีถนนหนทาง ชาวบ้านได้รับ ความเดื อดร้อนในการด ารงชี วิต มาก ถนนสายห้ ว ยมงคลนี้ จึง เป็ นถนนสายสาคัญที่ น าไปสู่ โครงการในพระราชดาริ เพื่อบาบัดทุกข์ บารุงสุขแก่พสกนิกรอีกจานวน กว่า ๔,๐๐๐ โครงการ ใปัจจุบัน ๑-๖ พระบรมราชาภิเษก วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ ได้ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามโบราณขัตติย ราชประเพณี ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระมหาราชวัง เฉลิมพระปรมาภิไธยตามจารึกใน พระสุพรรณบัฏว่า “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร” และได้พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการ เป็นสัจวาจาว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม” รูปที่ ๑.๓ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่มา: http://www.finearts.go.th/nlt-korat/index.php/parameters/km/item/ วันที่ ๕ มิถุนายน ๒๔๙๓ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ได้เสด็จพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิ ติ์ พระบรมราชินี ไปยังสวิตเซอร์แลนด์อีกครั้งเพื่อทรงรักษาพระสุขภาพ และเสด็จพระราชดาเนินนิ วัติพระนคร เมื่อ ๒ ธันวาคม ๒๔๙๔ ประทับ ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน และพระที่นั่ง อัมพรสถาน ทั้งสองพระองค์มีพระราชธิดา และพระราชโอรส ๔ พระองค์ดังนี้ ๑) ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญ ญา สิริวัฒนาพรรณวดี ประสูติเมื่อ ๕ เมษายน ๒๔๙๔ ณ โรงพยาบาลมองซัวนี่ โลซานน์ ๒) พระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรรามาธิ บ ดี ศ รีสิ น ทรมหาวชิ ร าลงกรณ มหิ ศ รภู มิ พ ล ราชวรางกูร กิติสิริสมบูรณ์อดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ประสูติเมื่อ ๒๘ กรกฎาคม ๒๔๙๕ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ๓) สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธรฯ สยามบรมราชกุมารี ประสูติเมื่อ ๒ เมษายน ๒๔๙๘ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ๔) สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวาง ควัฒน วรขัตติยราชนารี ประสูติเมื่อ ๔ กรกฎาคม ๒๕๐๐ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ๑-๗ รูปที่ ๑.๔ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิติ์ พระบรมราชินี พระราชธิดา และพระราชโอรส ๔ พระองค์ ที่มา: https://www.photoontour.com/SpecialPhotos_HTML/60thcelebration ทรงพระผนวช เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๔๙๙ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ได้ทรงพระผนวช ณ วัดพระศรีรัตน ศาสดาราม ทรงจาพรรษา ณ พระตาหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร ปฏิบัติพระศาสนกิจ เป็น เวลา ๑๕ วัน ระหว่างนี้ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ แทนพระองค์ ต่ อมาจึ ง ทรงพระกรุณ าโปรดเกล้ า ฯ สถาปนาเป็ น สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และได้ทรงพระกรุณาสถาปนาพระอิสริยยศสมเด็จพระบรมชนกนาถขึ้นเป็น สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ทรงสถาปนาสมเด็จพระราชชนนี เป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิ วัฒนา เป็นสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และ ทรงประกอบพระราชพิธีเฉลิมพระปรมาภิไธย สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลใหม่ เมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๓๙ เพื่อให้สมพระเกียรติตามโบราณขัตติย ราชประเพณี รูปที่ ๑.๕ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงพระผนวช ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ที่มา: https://sites.google.com/site/chankeidnirachkalthi9/thrng-phnwch) ๑-๘ พระราชกรณียกิจ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๒ เป็นต้นมา ในหลวงรัชกาลที่ ๙ และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงกระชับสัมพันธไมตรีกับประเทศต่าง ๆ ทั้งใน ยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย และ เอเชีย และได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในภูมิภาค ต่างๆ ทุกภาคทรงประจักษ์ในปัญหาของราษฎรในชนบทที่ดารงชีวิตด้วยความยากจน ลาเค็ญ และด้อยโอกาส ได้ทรงพระวิริยะอุตสาหะหาทางแก้ปัญหามาโดยตลอด อาจกล่าวได้ว่า ทุกหน ทุกแห่งบนผืนแผ่นดินไทยที่รอยพระบาทได้ประทับลง ได้ทรงขจัดทุกข์ยากนาความผาสุกและ ทรงยกฐานะความเป็ น อยู่ ของราษฎร ให้ ดี ขึ้น ด้ ว ยพระบุ ญ ญาธิ การและพระปรีช าสามารถ ปราดเปรื่อง พร้อมด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล ทรงอุทิศพระองค์เพื่อประโยชน์สุขของราษฎร และเพื่ อความเจริญ ของประเทศชาติ โ ดยมิ ไ ด้ ท รงคานึ ง ประโยชน์ สุ ข ส่ ว นพระองค์เลย ทรง พระราชทานโครงการนานัปการ ทั้งการแพทย์สาธารณสุข การเกษตร การชลประทาน การ พั ฒ นาที่ ดิ น การศึ ก ษา การพระศาสนา การสั ง คมวั ฒ นธรรม การคมนาคม ตลอดจนการ เศรษฐกิจเพื่อประโยชน์สุขของพสกนิกร เช่น ทรงแก้ปัญหาการจราจรอุทกภัยและปัญหาน้าเน่า เสียในปัจจุบัน ได้ทรงริเริ่มโครงการการช่วยสงเคราะห์ และอนุรักษ์ช้างของไทยอีกด้วย ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงตรากตราพระวรกายทรงงานอย่างมิทรงเหน็ดเหนื่อย แม้ใน ยามทรงพระประชวร ก็มิได้ทรงหยุดยั้งพระราชดาริเพื่อขจัดความทุกข์ผดุงสุขแก่พสกนิกร กลาง แดดแผดกล้าพระเสโทหลั่งชุ่มพระพักตร์ และพระวรกายหยาดตกต้องผืนปฐพีประดุจน้าทิพย์ มนต์ชโลมแผ่นดินแล้งร้าง ให้กลับคืนความอุดมสมบูรณ์นับแต่เสด็จเถลิงถวัลยราชตราบจนสิ้นรัช สมัยของพระองค์นานกว่า ๗๐ ปี แม้ ใ นยามประเทศประสบภาวะเศรษฐกิ จ ตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็ น ต้ น มา ก็ได้พระราชทานแนวทางดารงชีพแบบ “เศรษฐกิจพอเพียง” และ “ทฤษฎีใหม่” ให้ราษฎรได้ พึ่งตนเอง ใช้ผืนแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุดประกอบอาชีพอยู่กินตามอัตภาพซึ่งราษฎรได้ ยึดถือปฏิบัติเป็นผลดีอยู่ในปัจจุบัน รูปที่ ๑.๖ พระราชกรณียกิจในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่มา: https://www.weddinglist.co.th ๑-๙ ๑.๒ พระอัจฉริยภาพของในหลวง รัชกาลที่ ๙ พระอัจฉริยภาพ - พระอัจฉริยภาพด้านดนตรี พระองค์ได้รับยกย่องเป็นอัครศิลปินของชาติอย่างสูงส่ง ด้วยทรงพระราชนิพนธ์เพลงอันไพเราะนับแต่ ทรงพระเยาว์รวม ๔๗ เพลง ซึ่งนักดนตรีทั้งไทย และต่างประเทศนาไปบรรเลงอย่างแพร่หลายเป็นที่ประจักษ์ในพระอัจฉริยภาพจนสถาบันดนตรี ในออสเตรเลียได้ทูลเกล้าฯ ถวายสมาชิกภาพกิตติมศักดิ์แด่พระองค์ - พระอัจฉริยภาพด้านการกีฬา ทรงเป็นนักกีฬาชนะเลิศรางวัลเหรียญทองในการ แข่งขันกีฬาซีเกมส์ - พระอัจฉริยภาพด้านจิตรกรรมและวรรณกรรม ทรงสร้างสรรค์งานจิตรกรรมและ วรรณกรรมอันทรงคุณค่าไว้เป็นทรัพย์สินทางปัญญาของชาติ เช่น ทรงพระราชนิพนธ์แปลเรื่องติ โต นายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ และพระราชนิพ นธ์เรื่องชาดกพระมหาชนก พระราชทานคติ ธรรมในการดารงชีวิตให้ไปสู่ความสาเร็จ พระอัจฉริยภาพด้านต่างๆอีกมากมาย ที่นาไปสู่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จานวน ๔,๗๔๑ โครงการ เพื่อบาบัดทุกข์บารุงสุขให้กับพสก นิกรของพระองค์ รูปที่ ๑.๗ พระอัจฉริยภาพ ด้านต่างๆ ของในหลวงรัชกาลที่ ๙ ได้แก่ ด้านจิตรกรรม ด้าน ประติมาก?

Use Quizgecko on...
Browser
Browser