สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 PDF

Summary

เอกสารนี้สรุปสาระสำคัญของพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 เนื้อหาครอบคลุมการกำหนดมาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในฝ่ายบริหาร รวมถึงหลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติและความรับผิดชอบต่อหน้าที่.

Full Transcript

จัดทำเพื่อประโยชน์ ในกำรศึกษำ ห้ ำมจำหน่ ำย (หน้ า 1 ) สรุ ปสำระสำคัญของพระรำชบัญญัตมิ ำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562 สรุปโดย พี่แมง ป. F...

จัดทำเพื่อประโยชน์ ในกำรศึกษำ ห้ ำมจำหน่ ำย (หน้ า 1 ) สรุ ปสำระสำคัญของพระรำชบัญญัตมิ ำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562 สรุปโดย พี่แมง ป. Fanpage พี่แมง ป. / Youtube พี่แมง ป. ๑. มำตรฐำนทำงจริยธรรม การก าหนดมาตรฐานทางจริ ยธรรมส าหรั บ เจ้ าหน้ าที่ ข องรั ฐ ในฝ่ ายบริหาร หมายความรวมถึง หน่วยงานราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้ องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หน่วยงานของรัฐที่อยูใ่ นกากับของฝ่ ายบริหาร แต่ไม่รวมถึง หน่วยงานธุรการของรัฐสภา (สานักงานต่างๆ ในรัฐสภา) องค์กรอิสระ (สานักงานต่างๆ ขององค์กรอิสระ เช่น สานักงาน ป.ป.ช.) ศาล (สานักงานศาล) และอัยการ (สานักงานอัยการสูงสุด) มาตรฐานทางจริ ย ธรรม คื อ หลัก เกณฑ์ ก ารประพฤติ ป ฏิ บัติ อ ย่ า งมี คุณธรรมของเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ ซึง่ จะต้ องประกอบด้ วย 1 จัดทำเพื่อประโยชน์ ในกำรศึกษำ ห้ ำมจำหน่ ำย (หน้ า 2 ) (๑) ยึ ด มั่ น ในสถาบั น หลั ก ของประเทศ อั น ได้ แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ ทรงเป็ นประมุข (๒) ซื่อสัตย์สจุ ริต มีจิตสานึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้ าที่ (๓) กล้ าตัดสินใจและกระทาในสิ่งที่ถกู ต้ องชอบธรรม (๔) คิ ด ถึ ง ประโยชน์ ส่ ว นรวมมากกว่ า ประโยชน์ ส่ ว นตั ว และมี จิ ต สาธารณะ (๕) มุง่ ผลสัมฤทธิ์ของงาน (๖) ปฏิบตั ิหน้ าที่อย่างเป็ นธรรมและไม่เลือกปฏิบตั ิ (๗) ดารงตนเป็ นแบบอย่างที่ดีและรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ สูตรช่ วยจำ สถาบัน + ซื่อสัตย์ + ตัดสิน + ส่วนรวม + สัมฤทธิ์ + เป็ นธรรม + ดารงตน มาตรฐานทางจริ ยธรรมนี ้ ให้ ใช้ เป็ นหลัก สาคัญในการจัดทาประมวล จริ ยธรรมของหน่วยงานของรัฐที่จะกาหนดเป็ นหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติตน ของเจ้ าหน้ าที่ ข องรั ฐ เกี่ ย วกั บ สภาพคุ ณ งามความดี ที่ เ จ้ าหน้ าที่ - 2 จัดทำเพื่อประโยชน์ ในกำรศึกษำ ห้ ำมจำหน่ ำย (หน้ า 3 ) ของรัฐต้ องยึดถือสาหรับการปฏิบตั ิงาน การตัดสินความถูกผิด การปฏิบตั ิที่ ควรกระทาหรื อไม่ควรกระทา ตลอดจนการดารงตนในการกระทาความดีและ ละเว้ นความชัว่ ๒. กำรกำหนดผู้รับผิดชอบในกำรจัดทำประมวลจริยธรรม แยกเป็ น ๒ กรณี ดังนี ้ กรณีแรก ข้ าราชการฝ่ ายพลเรื อนที่สงั กัดรส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และ ส่วนท้ องถิ่น ให้ องค์กรกลางบริ หารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐ มีหน้ าที่ จัดทาประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้ าหน้ าที่ของรัฐที่อยู่ในความรับผิดชอบ ตัวอย่ ำงเช่ น ข้ าราชการพลเรื อน = ก.พ. ข้ าราชการครู = ก.ค.ศ. ข้ าราชการท้ องถิ่น = ก.ถ. กรณี ท่ ี สอง ในกรณี ที่ เ ป็ นเจ้ าหน้ าที่ ข องรั ฐ ซึ่ ง ไม่ มี อ งค์ ก รกลาง บริหารงานบุคคลที่รับผิดชอบ ให้ องค์กรต่อไปนี ้เป็ นผู้จดั ทาประมวลจริยธรรม 3 จัดทำเพื่อประโยชน์ ในกำรศึกษำ ห้ ำมจำหน่ ำย (หน้ า 4 ) (๑) คณะรัฐมนตรี สาหรับข้ าราชการการเมือง (๒) สภากลาโหม ส าหรั บ ข้ า ราชการทหารและข้ า ราชการพลเรื อ น กลาโหม (๓) สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สาหรับผู้บริ หารและ พนักงานรัฐวิสาหกิจ (๔) คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริ มองค์การมหาชน สาหรับผู้บริ หาร เจ้ าหน้ าที่ และผู้ปฏิบตั ิงานขององค์การมหาชน สูตรช่ วยจำ ค.ร.ม. = การเมือง สภา ก.ห. = ทหาร ส.ค.ร. = รัฐวิสาหกิจ คกก.องค์การ = องค์การ “จำนะ” ในกรณี ที่มีปัญหาว่าองค์ กรใดเป็ นผู้จัดทาประมวลจริ ยธรรมสาหรั บ เจ้ าหน้ าที่ของรัฐประเภทใด ให้ ก.ม.จ. เป็ นผู้มีอานาจวินิจฉัย ก.ม.จ. = คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม “จำนะ” 4 จัดทำเพื่อประโยชน์ ในกำรศึกษำ ห้ ำมจำหน่ ำย (หน้ า 5 ) ทังนี ้ ้ หน่วยงานของรัฐ (ทังสองกรณี ้ ) อาจจัดทาข้ อกาหนดจริ ยธรรมเพื่อ ใช้ บงั คับกับเจ้ าหน้ าที่ของรัฐในหน่วยงานนันเพิ ้ ่มเติมจากประมวลจริ ยธรรม ให้ เหมาะสมแก่ภารกิจที่มีลกั ษณะเฉพาะของหน่วยงานของรัฐนันด้ ้ วยก็ได้ ๓. รู้จักกับคณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม (ก.ม.จ.) (๑) นายกรัฐมนตรี หรื อรองนายกรัฐมนตรี ซึ่งนายกรัฐมนตรี มอบหมาย เป็ นประธานกรรมการ จานวน ๑ คน (๒) ผู้แทนคณะกรรมการข้ าราชการพลเรื อน (ก.พ.) ที่ได้ รับมอบหมาย เป็ นรองประธานกรรมการ จานวน ๑ คน (๓) กรรมการโดยตาแหน่ง จานวน ๕ คน ได้ แก่ ๑. ผู้แทนที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการข้ าราชการพลเรื อน ในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ) จานวน ๑ คน ๒. คณะกรรมการข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) จานวน ๑ คน ๓. คณะกรรมการข้ าราชการตารวจ (ก.ตร.) จานวน ๑ คน ๔. คณะกรรมการมาตรฐานการบริ หารงานบุคคลส่วนท้ องถิ่ น (ก.ถ.) จานวน ๑ คน ๕. สภากลาโหม (สภา ก.ห.) จานวน ๑ คน (๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ นายกรัฐมนตรี แต่งตังจ ้ านวนไม่เกิน ๕ คน เป็ นกรรมการ 5 จัดทำเพื่อประโยชน์ ในกำรศึกษำ ห้ ำมจำหน่ ำย (หน้ า 6 ) ให้ เลขาธิการ ก.พ. เป็ นกรรมการและเลขานุการ ให้ เลขาธิ ก าร ก.พ. แต่ ง ตั ง้ ข้ าราชการในส านั ก งาน ก.พ. เป็ น ผู้ช่วยเลขานุการได้ ตามความจาเป็ นเพื่อประโยชน์ ในการดาเนินการตาม หน้ าที่และอานาจของ ก.ม.จ. สูตรย่ อ ตำแหน่ ง จำนวน ๑. นายก ๑ ๒. ก.พ. ๑ ๓. ตาแหน่ง มหาลัย + ครู + ตารวจ + ท้ องถิ่น + กลาโหม ๕ ๔. ผู้ทรง ไม่เกิน ๕ เลขาธิ ก.พ. = กรรมการและเลขานุการ แต่งตังผู ้ ้ ช่วยเลขานุ จากข้ าราชการ สานักงาน ก.พ. สานักงาน ก.พ. = หน่วยธุรการของ ก.ม.จ. “จำนะ” 6 จัดทำเพื่อประโยชน์ ในกำรศึกษำ ห้ ำมจำหน่ ำย (หน้ า 7 ) ก.ม.จ. อาจมีมติให้ เชิญผู้แทนที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการที่ทา หน้ าที่บริ หารงานรัฐวิสาหกิจหรื อองค์การมหาชน หรื อหัวหน้ าหน่วยงานของ รัฐที่มีหน้ าที่และอานาจโดยตรงเกี่ยวกับเรื่ องที่จะพิจารณา หรื อผู้ซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ด้านจริ ยธรรมให้ เข้ าร่ วมประชุมเป็ นครั ง้ คราวในฐานะกรรมการด้ วยก็ได้ เชิญ ตัวอย่ ำง ก.ม.จ. ส.ค.ร. = รัฐวิสำหกิจ คกก.องค์ กำร = องค์ กำร มาประชุม ๔. หน้ าที่และอานาจของ ก.ม.จ. ก.) โดยทัว่ ไป ก.ม.จ. มีหน้ าที่และอานาจ ดังต่อไปนี ้ (๑) เสนอแนะและให้ คาปรึ กษาเกี่ยวกับ นโยบายและยุทธศาสตร์ ด้าน มาตรฐานทางจริยธรรมและการส่งเสริมจริยธรรมภาครัฐต่อคณะรัฐมนตรี (๒) ก าหนดแนวทางหรื อ มาตรการในการขั บ เคลื่ อ น การด าเนิ น กระบวนการรักษาจริ ยธรรม รวมทังกลไกและการบั ้ งคับใช้ ประมวลจริ ยธรรม สาหรั บเจ้ าหน้ าที่ของรั ฐเพื่อให้ องค์ กรกลางบริ หารงานบุคคล องค์ กรตาม มาตรา ๖ วรรคสอง หรื อผู้บังคับบัญชานาไปใช้ ในกระบวนการบริ หารงาน บุคคลอย่างเป็ นรูปธรรม 7 จัดทำเพื่อประโยชน์ ในกำรศึกษำ ห้ ำมจำหน่ ำย (หน้ า 8 ) (๓) ก าหนดแนวทางในการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาเพื่ อ เสริ ม สร้ าง ประสิทธิภาพให้ เจ้ าหน้ าที่ของรัฐมีความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทาง จริ ยธรรมและยึดถือแนวทางปฏิบตั ิตามประมวลจริ ยธรรม รวมทังเสนอแนะ ้ มาตรการในการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริ มสร้ างแรงจูงใจในการปฏิบัติ ตามประมวลจริยธรรมแก่หน่วยงานของรัฐต่อคณะรัฐมนตรี (๔) กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินการตามมาตรฐานทาง จริ ยธรรม โดยอย่างน้ อยต้ องให้ หน่วยงานของรัฐจัดให้ มีการประเมินความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริ ยธรรม และให้ มีการประเมินพฤติกรรม ทางจริ ยธรรมสาหรับเจ้ าหน้ าที่ของรัฐในหน่วยงานนัน้ โดยประเมินผลตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ม.จ. กาหนดโดยอาจจัดให้ มีองค์กรภายนอกเข้ า ร่วมการประเมินผลด้ วยก็ได้ (๕) ตรวจสอบรายงานประจ าปี ของหน่ ว ยงานของรั ฐ และรายงาน สรุ ปผลการดาเนินงานดังกล่าวเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อทราบอย่างน้ อย ปี ละหนึง่ ครัง้ (๖) ตีความและวินิจฉัยปั ญหาที่เกิดจากการใช้ บงั คับพระราชบัญญัตินี ้ (๗) ปฏิบัติหน้ าที่ อื่นตามที่บัญญัติไว้ ในพระราชบัญญัตินีห้ รื อตามที่ คณะรัฐมนตรี มอบหมาย 8 จัดทำเพื่อประโยชน์ ในกำรศึกษำ ห้ ำมจำหน่ ำย (หน้ า 9 ) ข.) ก.ม.จ. มีอานาจกาหนดหลักเกณฑ์เป็ นระเบียบ คู่มือ หรื อแนวทาง ปฏิ บั ติ เ พื่ อ ให้ องค์ ก รกลางบริ หารงานบุ ค คล และหน่ ว ยงานของรั ฐ ใช้ เป็ นหลักเกณฑ์สาหรับการจัดทาประมวลจริ ยธรรมและข้ อกาหนดจริ ยธรรม รวมทังการก ้ าหนดกระบวนการรักษาจริยธรรมของเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ ค.) ก.ม.จ. มี ห น้ า ที่ ใ ห้ ค าแนะน าแก่ อ งค์ ก รกลางบริ ห ารงานบุค คล องค์ กรและหน่วยงานของรั ฐในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินีใ้ นกรณี ที่ ปรากฏแก่ ก.ม.จ. ว่า การจัดทาประมวลจริยธรรมขององค์กรกลางบริ หารงาน บุคคลหรื อข้ อกาหนดจริ ยธรรมของหน่วยงานของรัฐแห่งใดไม่สอดคล้ องกับ มาตรฐานทางจริ ยธรรมหรื อมีการปฏิบตั ิที่ไม่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ม.จ. กาหนด ให้ ก.ม.จ. แจ้ งให้ องค์กรกลางบริหารงานบุคคล หน่วยงานของรัฐแห่ง นันด ้ าเนินการแก้ ไขให้ ถูกต้ อง และให้ เป็ นหน้ าที่ขององค์กรกลางบริ หารงาน บุคคลหรื อหน่วยงานของรัฐที่จะต้ องดาเนินการโดยเร็ว (ไม่มีระบุว่ากี ่วนั ) ประโยคช่ วยจำ “เรามีนโยบำย ขับรถส่ ง กับข้ าวและอื่นๆ เป็ นประจำตังแต่ ้ เช้ าถึงตีสาม” (นโยบาย/ขับเคลื่อน/ส่งเสริ ม/กากับ/ประจาปี /ตีความ/อื่นๆ) “แนะนำทาคู่มือ” “จำนะ” 9 จัดทำเพื่อประโยชน์ ในกำรศึกษำ ห้ ำมจำหน่ ำย (หน้ า 10 ) ๕. กำรรักษำจริยธรรมของเจ้ ำหน้ ำที่ของรัฐและนำจริยธรรมไปใช้ ใน กระบวนกำรบริหำรงำนบุคคล เพื่อประโยชน์ในการรักษาจริ ยธรรมของเจ้ าหน้ าที่ของรัฐให้ หน่วยงาน ของรัฐดาเนินการ ดังต่อไปนี ้ “พูดง่ายๆ ว่า หน้าทีข่ องส่วนราชการทีต่ อ้ งทาตาม พ.ร.บ. มีอะไรบ้าง ? ” (๑ ) ก า ห น ด ใ ห้ มี ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร รั ก ษ า จ ริ ย ธ ร ร ม ประจาหน่วยงานของรัฐ ในการนี ้ อาจมอบหมายให้ ส่วนงานที่มีหน้ าที่และ ภารกิจในด้ านจริ ยธรรม ธรรมาภิบาล หรื อที่เกี่ ยวกับการบริ หารงานบุคคล หรื อคณะกรรมการและกลุ่มงานจริ ยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐที่มีอยู่แล้ ว เป็ นผู้รับผิดชอบก็ได้ (๒) ดาเนินกิ จกรรมการส่งเสริ ม สนับสนุน ให้ ความรู้ ฝึ กอบรม และ พัฒนาเจ้ าหน้ าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐ และจัดให้ มีมาตรการและกลไก ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ เสริ ม สร้ างให้ มี ก ารปฏิ บัติ ต ามประมวลจริ ย ธรรม รวมทังก ้ าหนดกลไกในการส่งเสริ มให้ ประชาชนมีส่วนร่ วมในการตรวจสอบ พฤติ ก รรมของเจ้ าหน้ าที่ ข องรั ฐ ตลอดจนสร้ างเครื อ ข่ า ยและประสาน ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชน 10 จัดทำเพื่อประโยชน์ ในกำรศึกษำ ห้ ำมจำหน่ ำย (หน้ า 11 ) (๓) ทุกสิ ้นปี งบประมาณ ให้ จัดทารายงานประจาปี ตามหลักเกณฑ์ ที่ ก.ม.จ. กาหนดเสนอต่อ ก.ม.จ. โดยให้ หน่วยงานของรัฐเสนอรายงานประจาปี ผ่ า นองค์ ก รกลางบริ ห ารงานบุค คล หรื อ องค์ ก รตามมาตรา ๖ วรรคสอง แล้ วแต่กรณี เพื่อประเมินผลในภาพรวมของหน่วยงานของรัฐเสนอต่อ ก.ม.จ. แผนภำพแสดงตัวอย่ ำงในทำงปฎิบตั จิ ริง ผูร้ ับผิดชอบ ๑. แต่ งตัง้ กรม A ๒.ฝึ กอบรม ข้าราชการ/พนักงาน/ลูกจ้าง ๓.ส่ งรำยงำนประจำปี ก.ม.จ. 11 จัดทำเพื่อประโยชน์ ในกำรศึกษำ ห้ ำมจำหน่ ำย (หน้ า 12 ) ให้ อ งค์ ก รกลางบริ ห ารงานบุค คลแต่ ล ะประเภทมี ห น้ า ที่ ก ากับ ดูแ ล การด าเนิ น กระบวนการรั ก ษาจริ ย ธรรมและการประเมิ น ผลการปฏิ บัติ ตามประมวลจริ ยธรรม รวมทังให้ ้ มีหน้ าที่และอานาจจัดหลักสูตรการฝึ กอบรม การเผยแพร่ ความเข้ าใจ ตลอดจนการกาหนดมาตรการจูงใจเพื่อพัฒนาและ ส่งเสริ มให้ เจ้ าหน้ าที่ ของรั ฐในหน่วยงานของรั ฐ มี พฤติกรรมทางจริ ยธรรม เป็ นแบบอย่างที่ดี โดยอาจกาหนดมาตรการเพื่อใช้ ในการบริ หารงานบุคคล ตามกฎหมายว่าด้ วยระเบียบข้ าราชการประเภทนัน้ ๖. กำรก ำหนดระยะเวลำกำรจั ด ท ำประมวลจริ ยธรรมและ กำรรับรองผลใช้ บังคับประมวลจริยธรรมเดิม เมื่อ ก.ม.จ. ได้ ประกาศกาหนดหลักเกณฑ์การจัดทาประมวลจริ ยธรรม ตามแล้ ว ให้ องค์กรกลางบริ หารงานบุคคลจัดทาประมวลจริ ยธรรมให้ แล้ ว เสร็จตามระยะเวลาที่ ก.ม.จ. กาหนด บรรดาประมวลจริยธรรม กฎ ระเบียบ หรื อหลักเกณฑ์เกี่ยวกับจริยธรรม ของเจ้ าหน้ าที่ของรัฐ ที่มีผลใช้ บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่ พระราชบัญญัตินี ใ้ ช้ บังคับให้ คงมีผลใช้ บังคับได้ ต่อไปเท่าที่ไม่ขัด หรื อแย้ งกับพระราชบัญญัตินี ้ จนกว่าจะมีการกาหนดประมวลจริ ยธรรม หรื อหลักเกณฑ์เกี่ยวกับจริ ยธรรม ตามพระราชบัญญัตินี ้ “ขอให้ ทุกท่ ำนมีควำมสุขกับกำรสอบครับ” 12

Use Quizgecko on...
Browser
Browser