กฎหมายอาญา ภาคทั่วไป องค์ประกอบและผล PDF
Document Details
Uploaded by EthicalConnemara3280
เบญจมราชูทิศ
Cookingpond TULAW
Tags
Summary
This document summarizes Thai criminal law, focusing on concepts like criminal acts, responsibilities, and the application of criminal law. It details different elements of criminal acts, like intent versus negligence. The content covers a broad range of criminal offenses, with specific examples and explanations.
Full Transcript
As of 13 Oct 2010 1 สรุปสาระสาคัญและองค์ ประกอบเฉพาะบางมาตรา – กฎห...
As of 13 Oct 2010 1 สรุปสาระสาคัญและองค์ ประกอบเฉพาะบางมาตรา – กฎหมายอาญา: ภาคทั่วไป (อ.ทวีเกียรติ / อ.ปกป้อง) สอบวันอาทิตย์ ท่ ี ๑๗ ต.ค.๕๓ (๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐) หัวเรื่อง มาตรา สาระสาคัญ / องค์ ประกอบ / องค์ ประกอบและผล ผล หมายเหตุ การใช้ กฎหมายอาญา ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ ไม่มี ๒ ว.๑ บุคคลจักต้ องรับโทษในทางอาญาต่อเมื่อได้ กระทาการอันกฎหมายที่ใช้ ในขณะ หลัก Nullum crimen, nulla poena sine lege กฎหมาย กระทานันบั ้ ญญัตเิ ป็ นความผิดและกาหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่ผ้ กู ระทา หรื อ No crime, no punishment without law ความผิดนัน้ ต้ องเป็ นโทษที่บญ ั ญัตไิ ว้ ในกฎหมาย หรื อ Principle of Legality (หลักความชอบด้ วย กม.อาญา) กฎหมายใหม่ยกเลิกความผิด ๒ ว.๒ ถ้ าตามบทบัญญัตข ิ องกฎหมายที่บญ ั ญัตใิ นภายหลัง การกระทาเช่นนันไม่ ้ เป็ น ผู้ที่ได้ กระทาการนันพ้ ้ นจากการเป็ นผู้กระทาความผิด ความผิดต่อไป ถ้ าได้ มีคาพิพากษาถึงที่สด ุ ให้ ลงโทษแล้ ว ให้ ถือว่าผู้นนไม่ ั ้ เคยต้ องคาพิพากษาว่าได้ กระทาความผิดนัน้ ถ้ ารับโทษอยู่ ให้ การลงโทษนันสิ ้ ้นสุดลง กฎหมายเป็ นคุณย้ อนหลังได้ ๓ ถ้ ากฎหมายที่ใช้ ในขณะกระทาความผิดแตกต่างกับกฎหมายที่ใช้ ในภายหลังการ ให้ ใช้ กฎหมายในส่วนที่เป็ นคุณแก่ผ้ ก ู ระทาความผิด ไม่วา่ ในทางใด กระทาความผิด เว้ นแต่คดีถึงที่สดุ แล้ ว (ดูเพิ่มเติ มใน ม.๓ (๑) และ (๒)) ข้อสังเกต กม.อาญาย้อนหลังให้ผลร้ายไม่ได้ ทัง้ ในเรื ่องการย้อนหลังไปกาหนดความผิด และย้อนหลังไปเพิ่มโทษ (เว้นแต่โทษหมิ่นประมาทเพิ่มได้) หลักดินแดน ม. ๔ ม.๕ ม.๖ + หลักการลงโทษผู้กระทาผิดในราชอาณาจักรหรือถือว่ าความผิดกระทาในราชอาณาจักร ม.๑๑ ความนา / หลักการ โดยปกติแล้ ว เมื่อคดีเกิดขึ ้นที่ประเทศใดประเทศนันย่ ้ อมได้ รับความกระทบกระเทือน หลักดินแดนเป็ นหลักที่มีความเด็ดขาดที่สดุ ดังนัน้ ข้ อสังเกต ม.๔ และ ม.๕ ไม่ ว่าผู้กระทาผิดจะเป็ นใครสัญชาติใดเราก็ไม่ สนถ้ าทาผิดในราชอาณาจักรไทย ตาม ม.๔ – ๖ ราชอาณาจักรไทย ประกอบด้ วย เรื อ / อากาศยาน ตปท. บิน ๑) พื ้นดินและพื ้นน ้า เช่น ภูเขา แม่น ้า ลาคลอง หนอง บึง เกาะแก่งต่างๆ ที่ประกอบเป็ นประเทศไทย รวมถึงทะเลภายในด้ วย เหนือดินแดนไทย เข้ า ม.๔ ว.๑ ๒) ทะเลอันเป็ นอ่าวไทย เรื อ / อากาศยานไทย บินเหนือ ๓) ทะเลอันห่างจากฝั่ งที่เป็ นดินแดนของประเทศไทยไม่เกิน ๑๒ ไมล์ทะเล ดินแดน ตปท. เข้ า ม.๔ ว.๒ ๔) อากาศเหนือพื ้นที่ที่กล่าวมาข้ างต้ น การกระทาผิดตาม ม.๔ ว.๒ ** ทังนี ้ ้ หลักดินแดนเป็ นใหญ่สดุ หากจับตัวผู้กระทาผิดตาม กม.อาญาไทย ได้ ในประเทศใด ก็สามารถลงโทษในประเทศนันได้ ้ เลย ต้ องเป็ นการกระทาภายในเรื อ หลักดินแดน ๔ ว.๑ ผู้ใดกระทาผิดในราชอาณาจักร ต้ องรับโทษตาม กม. หรื ออากาศยานไทยเท่านัน้ (สอท.ตปท.ในไทยถือเป็ น ๔ ว.๒ การกระทาผิดในเรื อไทย หรื ออากาศยานไทย ไม่ว่าจะอยู่ ณ ที่ใด ให้ ถือเป็ นการกระทาผิดใน กระทาบนบันได หรื อ ปี กหรื อ ดินแดนไทย / สอท.ไทย ใน ** ข้อสังเกต ม.๔ ว.๒ ไม่ได้เป็ นการกระทาในราชอาณาจักรไทย แต่ถือเสมือนว่าเป็ น ราชอาณาจักรไทย ภายนอกอากาศยานหรื อเรื อ ตปท. ถือเป็ นดินแดน ตปท.) การกระทาในราชอาณาจักร โดยความผิดต้องเกิ ด “ภายในตัวยานพาหนะ” เท่านัน้ ไทย ไม่เข้ า ม.๔ ว.๒ หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น ดังนั้น โปรดใช้ วิจารณญาณและดูประมวลกฎหมายอาญาเป็ นหลัก สรุ ปประมวล กม.อาญาภาคทั่วไป LA210 โดย Cookingpond TULAW 53 As of 13 Oct 2010 2 การกระทาส่วนหนึ่ง / ผลของ ๕ ว.๑ ความผิดใดที่ (เข้าองค์ประกอบอย่างใดอย่างหนึ่งใน ๔ ข้อนี )้ ให้ ถือว่าความผิดนันได้ ้ ม.๕ ว.๑ เป็ นกรณีความผิดที่คาบ การกระทาที่ถือว่ากระทาใน การกระทาแม้ แต่ส่วนหนึ่งส่วนใดได้ กระทาในราชอาณาจักร หรื อ กระทาในราชอาณาจักร เกี่ยวหลายพื ้นที่ และต้ องมีผล ราชอาณาจักร ผลแห่งการกระทาเกิดในราชอาณาจักร โดยผู้กระทาประสงค์ให้ ผลนันเกิ ้ ดใน ของการกระทาเกิดขึน้ แล้ ว โดย ราชอาณาจักร หรื อ ผลหรื อการกระทาส่วนใดส่วนหนึ่ง (ผลของการกระทาอาจเกิ ด โดยลักษณะแห่งการกระทา ผลที่เกิดขึ ้นควรเกิดในราชอาณาจักร หรื อ ได้ เกิดขึ ้นในราชอาณาจักรไทย คนละเวลากับการกระทา) ย่อมจะเล็งเห็นได้ วา่ ผลนันจะเกิ ้ ดในราชอาณาจักร การตระเตรี ยมการ / ๕ ว.๒ ในกรณี การตระเตรี ยมการ หรื อพยายามกระทาการใดซึ่งกฎหมายบัญญัตเิ ป็ น ให้ ถือว่าการตระเตรี ยมการ ม.๕ ว.๒ เป็ นกรณีที่ผลของการ พยายามที่ถือว่ากระทาใน ความผิด แม้ การกระทานันจะได้ ้ กระทานอกราชอาณาจักร หรื อพยายามกระทาความผิด กระทายังไม่เกิดขึ ้น เป็ นเพียงการ ราชอาณาจักร ถ้ าหากการกระทานันจะได้ ้ กระทาตลอดไปจนถึงขันความผิ ้ ดสาเร็จ ผลจะเกิดขึ ้นใน นันได้ ้ กระทาใน ตระเตรียมหรือพยายามกระทา ราชอาณาจักร ราชอาณาจักร ความผิด แต่ถ้าทาไปตลอดผลจะ เกิดในราชอาณาจักรไทย ตัวการ / ผู้ใช้ / ผู้สนับสนุน ๖ ความผิดใดที่ ได้ กระทาในราชอาณาจักร ก็ให้ ถือว่าตัวการ ผู้สนับสนุน ดู ม. ๘๓ ม.๘๔ และ ม.๘๖ กระทานอกราชอาณาจักร หรื อที่ประมวลกฎหมายนี ้ถือว่าได้ กระทาในราชอาณาจักร หรื อผู้ใช้ ให้ กระทาได้ กระทา พร้ อม Chart เรื่ องตัวการ ผู้ใช้ แม้ การกระทาของผู้เป็ นตัวการด้ วยกัน ของผู้สนับสนุน หรื อของผู้ใช้ ให้ กระทา ในราชอาณาจักร ผู้สนับสนุน ประกอบ ความผิดนันจะได้ ้ กระทานอกราชอาณาจักร การตะโกนจากฝั่ งลาวสัง่ ซื ้อยา เสพติดในไทยก็เข้ า ม.นี ้ได้ ข้ อสังเกตเกี่ยวกับการฆ่ า วิธีการฆ่ า องค์ ประกอบการกระทาความผิด (ต้ องดูว่าส่ วนใดเกิดที่ใด พิจารณาประกอบกับหลักดินแดน) ผล โดยการใช้ หลักดินแดน ฆ่ าด้ วยปื น การเล็งปื น กระสุนออกจากปากกระบอก กระสุนโดนเหยื่อ เหยื่อตาย ประกอบการพิจารณา ฆ่ าด้ วยยาพิษ การผสมยาพิษ การยื่นให้ ดื่ม เหยื่อดื่มยาพิษ เหยื่อตาย การตระเตรียมการที่เป็ น การตระเตรี ยมการต่อองค์พระมหากษัตริย์ การตระเตรี ยมการก่อการร้ าย ตาม ม.๑๓๕/๑ โดยหลัก การตระเตรี ยมการไม่เป็ นความผิด ยกเว้ น ความผิดทัง้ ความผิด ๓ ฐาน การตระเตรี ยมการวางเพลิง ตาม ม.๒๑๙ และ ๑๓๕/๒ ๓ ฐานนี ้ แม้ เป็ นเพียงขันตระเตรี ้ ยมการ ก็ถือว่าเป็ นความผิดแล้ ว การลงโทษ / พิจารณาคดี ตามหลักดินแดน ม.๑๑ การคานึงถึงคาพิพากษา ๑๑ ว.๑ ผู้ใดกระทาความผิดในราชอาณาจักร หรื อกระทาความผิดที่ประมวลกฎหมายนี ้ถือ ศาลจะลงโทษน้ อยกว่าที่กฎหมายกาหนดไว้ สาหรับความผิดนัน้ ต่างประเทศกรณีความผิดใน ว่าได้ กระทาในราชอาณาจักร ถ้ าผู้นนได้ ั ้ รับโทษสาหรับการกระทานันตามค้ า เพียงใดก็ได้ หรือ ราชอาณาจักร พิพากษาของศาลในต่างประเทศมาแล้ วทังหมด ้ หรื อบางส่วนแล้ ว จะไม่ลงโทษเลยก็ได้ ทัง้ นี ้ โดยคานึงถึงโทษที่ผ้ นู นั ้ ได้ รับมาแล้ ว หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น ดังนั้น โปรดใช้ วิจารณญาณและดูประมวลกฎหมายอาญาเป็ นหลัก สรุ ปประมวล กม.อาญาภาคทั่วไป LA210 โดย Cookingpond TULAW 53 As of 13 Oct 2010 3 ๑๑ ว.๒ ในกรณีที่ผ้ กู ระทาความผิดในราชอาณาจักร หรื อกระทาความผิดที่ถือว่าได้ กระทาใน ห้ ามมิให้ ลงโทษผู้นนใน ั้ หลัก Non bis in idem กล่าวคือ ราชอาณาจักร ได้ ถกู ฟ้องต่อศาลในต่างประเทศโดยรัฐบาลไทยร้ องขอ ถ้ า ราชอาณาจักรเพราะการ บุคคลจะถูกลงโทษซ ้าสองจากการ (๑) ได้ มีคาพิพากษาของศาลในต่างประเทศอันถึงที่สด ุ ให้ ปล่อยตัวผู้นนั ้ หรื อ กระทานันอี ้ ก กระทาเดียวมิได้ (๒) ศาลในต่างประเทศพิพากษาให้ ลงโทษ และผู้นนได้ ั ้ พ้นโทษแล้ ว หลักบุคคล – ทาผิดนอกราชอาณาจักร รับโทษในราชอาณาจักร ม.๘ + เจ้ าพนักงานไทยทาผิดนอกราชอาณาจักร ม.๙ + หลักป้องกัน/หลักลงโทษสากล ม.๗ ความนา / หลักการ หลักบุคคลจะดูสัญชาติเป็ นหลักเสมอ ไม่ดทู ี่เชื ้อชาติ หากเป็ นลูกครึ่งก็ดูเพียงที่สัญชาติ โดยหลักบุคคลตาม ม.๘ นัน้ ความผิดที่สามารถนามาลงโทษในราชอาญาจักรไทย ได้ จะต้ องเป็ นความผิดที่มีความรุนแรง ตาม ๑๓ อนุมาตรา ภายใต้ ม.๘ การกระทานอกราชอาญา ๘ ผู้ใดกระทาความผิดนอกราชอาณาจักร และ จะต้ องรับโทษภายใน (ดูประมวลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ จักรแต่ได้ รับโทษใน ๘ (ก) (ก) (ผู้กระทาผิดเป็ นคนสัญชาติไทย) -- ผู้กระทาความผิดนันเป็ ้ นคนไทย และ ราชอาณาจักร มาตราต่างๆ ที่เข้ าข่าย ราชอาณาจักร รัฐบาลแห่งประเทศที่ความผิดได้ เกิดขึ ้น หรื อผู้เสียหายได้ ร้องขอให้ ลงโทษ หรื อ ความผิดตาม ม.๘ รวมถึง (ความผิดกระทานอก ๘ (ข) (ข) (ผู้เสียหายเป็ นคนสัญชาติไทย) -- ผู้กระทาความผิดนันเป็ ้ นคนต่างด้ าว และ มาตราที่ยกเว้ น) ประเทศ แต่ ผ้ ูกระทาหรือ รัฐบาลไทยหรื อคนไทย เป็ นผู้เสียหาย และผู้เสียหายได้ ร้องขอให้ ลงโทษ ต้ องดูด้วยว่าเมื่อสามารถนาตัว ผู้เสียหายเป็ นคนไทย) ถ้ าความผิดนันเป็ ้ นความผิดดังระบุไว้ ตอ่ ไปนี ้ ผู้กระทาผิดมาลงโทษในไทยได้ ** ข้อสังเกต โดยทีห่ ลักบุคคล ความผิ ดหลักไม่ได้เกิ ดในไทย ความสงบเรี ยบร้อยของประเทศไทยจึงไม่ได้รบั การ แต่ผ้ กู ระทาผิดได้ รับโทษตาม กระทบกระเทือน ถ้าศาล ตปท.พิพากษาแล้ว ศาลไทยก็จะไม่ลงโทษอี ก ม.๑๐ แล้ วหรื อไม่อย่างไร (๑) ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้ เกิดภยันตรายต่อประชาชน ม. ๒๑๗ / ๒๑๘ / ๒๒๑ – ๒๒๓ (๒) ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร (เอกสารอิเลคทรอนิกส์และหนังสือเดินทาง) (๓) ความผิดเกี่ยวกับเพศ ม.๒๗๖ ม.๒๘๐ และ ม.๒๘๕ ทังนี ้ ้ เฉพาะที่เกี่ยวกับ ม.๒๗๖ (๔) ความผิดต่อชีวต ิ ม. ๒๘๘ – ๒๙๐ (หากเกิ ดในทะเลหลวงศาลไทยจะลงโทษได้ก็ต่อเมือ่ ผูก้ ระทา ความผิ ดเป็ นคนไทย และถ้าผูเ้ สียหายขอให้ลงโทษตาม ม.๘ (ก) (๕) ความผิดต่อร่ างกาย ม. ๒๙๕ – ๒๙๘ (๖) ความผิดฐานทอดทิ ้งเด็ก คนป่ วยเจ็บหรื อคนชรา ม.๓๐๖ – ๓๐๘ (๗) ความผิดต่อเสรี ภาพ ม.๓๐๙ ม.๓๑๐ ม.๓๑๒ – ๓๑๕ และ ม.๓๑๗ – ๓๒๐ (๘) ความผิดฐานลักทรั พย์และวิง่ ราวทรั พย์ ม.๓๓๔ – ๓๓๖ (๙) ความผิดฐานกรรโชก รี ดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ และปล้ นทรัพย์ ม.๓๓๗ – ๓๔๐ (กรณี จาเลย (๑๐) ความผิดฐานฉ้ อโกง ม.๓๔๑ – ๓๔๔ ม.๓๔๖ – ๓๔๗ เป็ นคนไทยกระทาผิดฐานปล้นทรัพย์นอก ปท.ไทย ศาลไทยอาศัย ม.๘ (ก) พิจารณาได้) (๑๑) ความผิดฐานยักยอก ม.๓๕๒ – ๓๕๔ (๑๒) ความผิดฐานรับของโจร ม.๓๕๗ (๑๓) ความผิดฐานทาให้ เสียทรั พย์ ม.๓๕๘ – ๓๖๐ เจ้ าพนักงานรัฐบาลทาผิด ๙ เจ้ าพนักงานของรัฐบาลไทยกระทาความผิดตามที่บญ ั ญัตไิ ว้ ใน ม.๑๔๗ ถึง ม. เจ้ าพนักงานจะต้ องรับโทษ นอกราชอาณาจักร ๑๖๖ และ ม.๒๐๐ ถึง ม.๒๐๕ นอกราชอาณาจักร ในราชอาณาจักร หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น ดังนั้น โปรดใช้ วิจารณญาณและดูประมวลกฎหมายอาญาเป็ นหลัก สรุ ปประมวล กม.อาญาภาคทั่วไป LA210 โดย Cookingpond TULAW 53 As of 13 Oct 2010 4 หลักป้องกัน ม.๗(๑) และ ๗(๒) + หลักลงโทษสากล ม.๗(๑/๑) ๗(๒ทวิ) และ ๗(๓) ความนา / หลักการ ความผิดตามหลักทัง้ ๒ นี ้ ถือว่าเป็ นความผิดที่ต้องรับโทษในราชอาณาจักรไทย แบ่งออกเป็ น ความผิดตามหลักป้องกัน – ความผิดเกิดนอกประเทศแต่ประเทศไทยมีสท ิ ธิป้องกันตนเอง ตาม ม.๗(๑) และ ๗(๒) เนื่องจากเป็ นเรื่ องความมัน่ คงของรัฐและ ความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ ความผิดตามหลักลงโทษสากล – ความผิดซึ่งไม่วา ่ เกิดที่ใดก็สง่ ผลกระทบต่อทุกประเทศ ดังนัน้ ทุกประเทศจึงมีเขตอานาจเหนือคดีนนั ้ (เป็ นการร่วมมือกัน) ได้ แก่ ความผิดตาม ม.๗(๑/๑) ก่อการร้ าย ม.๗(๒ทวิ) ความผิดทางเพศ และ ม.๗(๓) ชิงทรัพย์และปล้ นทรัพย์ที่กระทาในทะเลหลวง ทานอกราชอาณาจักรแต่รับ ๗ ผู้ใดกระทาความผิดดังระบุไว้ ตอ่ ไปนี ้นอกราชอาณาจักร ต้ องรับโทษใน ข้อสังเกต การปล้นทรัพย์ และฆ่าคนในทะเล โทษในราชอาณาจักร (๑) ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่ งราชอาณาจักร ม.๑๐๗ ถึง ม.๑๒๙ ราชอาณาจักร หลวงแม้ความผิดฐานฆ่าผูอ้ ื ่นจะไม่มีผเู้ สียหาย (๑/๑) ความผิดเกี่ยวกับการก่ อการร้ าย ม.๑๓๕/๑ – ๑๓๕/๔ ศาลไทยก็สามารถลงโทษฐานปล้นทรัพย์เป็ นเหตุ (๒) ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง ม.๒๔๐ ถึง ม.๒๔๙ ม.๒๕๔ ให้คนตายได้ (ดู ม.๓๔๐ ในประมวลประกอบ) ม.๒๕๖ ม.๒๕๗ และ ม.๒๖๖ (๓) และ (๔) (อาทิ ธนบัตร เอกสารเดินทาง) (๒ ทวิ) ความผิดเกี่ยวกับเพศ ม.๒๘๒ และ ม.๒๘๓ (๓) ความผิดฐานชิงทรั พย์ ม.๓๓๙ และความผิดฐานปล้ นทรั พย์ ม.๓๔๐ ซึ่ง ได้ กระทาในทะเลหลวง การลงโทษ / พิจารณาคดี ตามหลักบุคคล (การกระทาผิดภายนอกราชอาณาจักร) ม.๑๐ การคานึงถึงคาพิพากษา ๑๐ ว.๑ ผู้ใดกระทาการนอกราชอาณาจักรซึ่งเป็ นความผิดตามมาตราต่างๆ ที่ระบุไว้ ใน ห้ ามมิให้ ลงโทษผู้นนใน ั้ ยกเว้ นการกระทาผิดตาม ต่างประเทศ กรณีกระทาผิด ม. ๗(๒) และ ม.๗(๓) ม.๘ และ ม.๙ ถ้ า ราชอาณาจักรเพราะการ ม.๗(๑) ลงโทษอีกได้ เพราะ ภายนอกประเทศ (๑) ได้ มีคาพิพากษาของศาลในต่างประเทศอันถึงที่สด ุ ให้ ปล่อยตัวผู้นนั ้ หรื อ กระทานันอี ้ ก เป็ นความผิดร้ ายแรงต่อ (๒) ศาลในต่างประเทศพิพากษาให้ ลงโทษ และผู้นนได้ ั ้ พ้นโทษแล้ ว ราชอาณาจักร ๑๐ ว.๒ ถ้ าผู้ต้องคาพิพากษาได้ รับโทษสาหรับการกระทานันตามค ้ าพิพากษาของศาลใน ศาลจะลงโทษน้ อยกว่าที่ ทัง้ นี ้ โดยคานึงถึงโทษที่ผ้ น ู นั ้ หลัก Non bis in idem คือ ต่างประเทศมาแล้ ว กฎหมายกาหนดไว้ สาหรับ ได้ รับมาแล้ ว บุคคลจะถูกลงโทษซ้าสอง แต่ยงั ไม่พ้นโทษ (อาทิ กรณี แหกคุกหลบหนี กลับมาประเทศไทย) ความผิดนันเพี้ ยงใดก็ได้ จากการกระทาเดียวมิได้ หรื อ จะไม่ลงโทษเลยก็ได้ ประเภทโทษอาญา ม.๑๘ ประเภทโทษอาญา ๑๘ โทษสาหรับลงแก่ผ้ ก ู ระทาความผิด ได้ แก่ (๑) ประหาร (๒) จาคุก (๓) กักขัง กม.ใดเป็ น กม. อาญาให้ ดวู ่ามีโทษเหล่านี ้หรื อไม่ ถ้ าไม่มีก็ไม่ใช่ (ดูจากหลักการ ชี วิต จากัด (๔) ปรับ (๕) ริบทรัพย์สนิ กม.อาญา / การที่จะใช้ กม.ส่วนที่เป็ นคุณตาม ม.๓ ก็ต้องเรี ยง เสรี ภาพไปยังทรัพย์สิน) (๒/๓ ประหารชี วิต คื อ จาคุกตลอดชี วิต ๑/๓ ประหารชี วิต คื อ จาคุก ๒๕ ปี ) ลาดับโทษตาม ม.๑๘ (จาคุก ๑ วัน หนักกว่าปรับ ๕ ล้ านบาท) หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น ดังนั้น โปรดใช้ วิจารณญาณและดูประมวลกฎหมายอาญาเป็ นหลัก สรุ ปประมวล กม.อาญาภาคทั่วไป LA210 โดย Cookingpond TULAW 53 As of 13 Oct 2010 5 กฎหมายอาญาภาคโครงสร้ างความรับผิด โครงสร้ างที่ ๑ การกระทาทางอาญา หลักความรับผิดทางอาญา ๕๙ ว.๑ บุคคลที่กระทาความผิดตาม กม. อาญาโดยเจตนา บุคคลนันต้ ้ องรับผิดทาง ความรับผิดทางอาญาเริ่มต้ นที่ (หากมีการกระทาแต่ไม่รู้ เว้ นแต่ จะได้ กระทาโดยประมาท ในกรณี ที่กฎหมายบัญญัตใิ ห้ ต้องรับผิดเมื่อได้ อาญา การกระทา คือ การเคลื่อนไหว สานึกในการกระทาก็ไม่มี กระทาโดยประมาท หรื อ ร่างกายภายใต้ จิตใจบังคับ (Willed ความผิ ด) เว้ นแต่ กรณี ที่ กม.บัญญัตไิ ว้ โดยแจ้ งชัดให้ ต้องรับผิด แม้ จะกระทาโดยไม่มีเจตนา Movement) การกระทาโดยเจตนา ๕๙ ว.๒ กระทาโดยเจตนา ได้ แก่ กระทาโดยรู้สานึกในการที่กระทาและในขณะเดียวกัน เจตนาประสงค์ตอ ่ ผล – ต้ องการ/ประสงค์ให้ ผลนันเกิ้ ดโดยตรง (เจตนาดูทีอ่ าวุธ วิสยั และ (ดู Lecture ผู้กระทาประสงค์ตอ่ ผล หรื อย่อมเล็งเห็นผลของการกระทานัน้ เจตนาเล็งเห็นผล – คาดหมายได้ วา ่ จะเกิด แต่ไม่ใยดีต่อผลที่จะเกิด พฤติการณ์ ) หน้า ๔๓) (การกระทาครัง ้ เดียวอาจมีทงั้ เจตนาประสงค์ต่อผล และเล็งเห็นผล) (การยิงเข้าไปในกลุ่มคนเป็ นเจตนาเล็งเห็นผล คือ ไม่ใยดีต่อผล) การไม่ร้ ูข้อเท็จจริงที่เป็ น ๕๙ ว.๓ ถ้ าผู้กระทามิได้ ร้ ูข้อเท็จจริ งอันเป็ นองค์ประกอบของความผิด (เจตนา) ถือว่าไม่มีเจตนาทาความผิด ต้ องไปดูตอ ่ ด้ วยว่า “ประมาท” หรื อไม่ องค์ประกอบความผิด เมื อ ่ ไม่รู้ อปก. ภายนอกของความผิด กม. ถือว่าการกระทานัน้ ขาดเจตนา กรณี ม.๕๙ ว.๓ ต่างกับ ม.๖๒ ว.๑ คื อ (ขาดเจตนา) แล้ วดู ถ้าเป็ นกรณี ไม่เจตนา และดูจากวิ สย ั และพฤติการณ์ แล้ววิญญูชนมองว่า ม.๕๙ ว.๓ ขาดเจตนา ความผิ ดจึ งยังไม่เกิ ดขึ้น ๕๙ ว.๔ ต่ อ ไม่ประมาท ก็ไม่ตอ้ งรับผิดทางอาญา ม.๖๒ ว.๑ มี เจตนา แต่เข้าใจผิ ดคิ ดว่าตนมี สิทธิ ทาได้ การกระทาโดยประมาท ๕๙ ว.๔ กระทาโดยประมาท ได้ แก่ กระทาความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่ การกระทาโดยประมาทที่ กม.บัญญัตใิ ห้ เป็ นความผิด ได้ แก่ (จะพิจารณาว่ากระทาโดย กระทาโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะ (การกระทา ม.๒๐๕ พนักงานทาให้ ผ้ ถู กู คุมขังหลุดพ้ นจากการคุมขังไปโดยประมาท ประมาทหรื อไม่ ต้องดูจาก Keyword นัน้ ๆ เช่น ขับรถ) เช่นนันจั ้ กต้ องมีตามวิสัย (ลักษณะเป็ นอยู่บคุ คล-- ม.๒๒๕ กระทาให้ เกิดเพลิงไหม้ โดยประมาท Objectivity คือ สมมติวญ ิ ญู ให้วิญญูชน เด็ก/ผูใ้ หญ่/เพศ/การศึกษา/วิชาชี พ) และพฤติการณ์ (เหตุภายนอก ม.๒๓๙ กระทาให้ เกิดภยันตรายต่อประชาชนโดนประมาท ตาม ม.๒๒๖ – ๒๓๗ ชนขึน้ มา ดูว่าปกติ คน ๑๐๐ ดูจาก สภาพแวดล้อม) และผู้กระทาอาจใช้ ความระมัดระวังเช่นว่านันได้ ้ ม.๒๙๑ กระทาให้ ผ้ อ ู ื่นตายโดยประมาท คน ในภาวะ วิ สยั และ ภาวะ แต่หาได้ ใช้ ให้ เพียงพอไม่ ** ข้อสังเกต การกระทาโดยประมาท ม.๓๐๐ กระทาให้ ผ้ อ ู ื่นได้ รับอันตรายสาหัสโดยประมาท พฤติการณ์ เช่นนัน้ จะทา วิสัย เป็ นความผิดที่ต้องการผล (ผลต้องเกิ ด) ดังนัน้ ต้องมีความสัมพันธ์ ม.๓๑๑ กระทาให้ ผ้ อู ื่นถูกหน่วงเหนี่ยว กักขังโดยประมาท อย่างไร) พฤติ ก ารณ์ โดยตรงระหว่างการกระทาและผล (กม.ไทยมีประมาทระดับเดียว) ม.๓๙๐ ทาให้ ผ้ อ ู ื่นได้ รับอันตรายแก่กายหรื อจิตใจโดยประมาท การงดเว้ น ๕๙ ว.๕ การกระทา ให้ หมายความรวมถึงการให้ เกิดผลอันหนึ่งอันใดขึ ้นโดยงดเว้ นการที่ การงดเว้ น หน้ าที่พงึ จักต้ องกระทาเพื่อป้องกันผล มี ๔ อย่าง ได้ แก่ จักต้ องกระทาเพื่อป้องกันผลนันด้ ้ วย ๑) หน้ าที่ตาม กม.บัญญัติ ๒) หน้ าที่ที่เกิดจากการยอมรับโดยเฉพาะเจาะจง ** ข้อสังเกต การงดเว้นมีฐานะเท่ากับการกระทา โดยเป็ นการไม่เคลือ่ นไหวร่างกายโดย ๓) หน้ าที่อนั เกิดจากการกระทาครัง้ ก่อนของตน รู้สานึก แต่การละเว้นไม่ถือว่าเป็ นการกระทา (แต่เป็ นการไม่กระทา) ๔) หน้ าที่อนั เกิดจากความสัมพันธ์พเิ ศษเฉพาะเรื่ อง หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น ดังนั้น โปรดใช้ วิจารณญาณและดูประมวลกฎหมายอาญาเป็ นหลัก สรุ ปประมวล กม.อาญาภาคทั่วไป LA210 โดย Cookingpond TULAW 53 As of 13 Oct 2010 6 การกระทาโดยพลาด / สาคัญผิดในตัวบุคคล / สาคัญผิดว่ ามีอานาจกระทาได้ ม.๖๐ – ม.๖๔ การกระทาโดยพลาด ๖๐ ผู้ใดเจตนาที่จะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง ให้ ถือว่าผู้นนกระทั้ าโดยเจตนาแก่บคุ คลซึ่งได้ รับผลร้ ายจากการ (ถ้าเจตนาต่อคน แต่ผลเกิ ด แต่ผลของการกระทาเกิดแก่อีกบุคคลหนึ่งโดยพลาดไป กระทานัน้ (การกระทาโดยพลาดต้องมีผเู้ สียหายในทีเ่ กิ ดเหตุ ๒ คน กับทรัพย์ ไม่ใช่เรื ่องพลาด / การกระทาโดยพลาด (เจตนาโอน) ต้องเป็ นเจตนาประเภทเดี ยวกัน ได้แก่ กรณี ผเู้ สียหาย ๒ คนอยู่ใกล้กนั เป็ นเจตนาเล็งเห็นผล มิใช่พลาด) ถ้าเจตนาทาร้าย แต่ไปโดน ดู Lecture เจตนาต่อบุคคล พลาด ผลเกิ ดกับ บุคคลอื ่น ** ข้อสังเกต ม.๖๐ V.S. ม.๖๑ – ม.๖๐ ในทีเ่ กิ ดเหตุจะมีผถู้ ูกกระทา อี กคนตาย เจตนาไม่เปลีย่ น หน้า ๕๕ เจตนาต่อทรัพย์ พลาด ผลเกิ ดกับทรัพย์ อื่น ตัง้ แต่ ๒ คนขึ้นไป แต่ ม.๖๐ มีผถู้ ูกกระทาเพียง ๑ คน ไม่ใช่ ม.๒๘๘ เป็ น ม.๒๙๐ เจตนาทาร้ายโอนไปเป็ นเจตนาทาร้ าย (ผลตายก็ ม.๒๙๐ แต่เจตนาทาร้าย) เจตนาทาร้ายทาให้ผอู้ ื ่นตาย) แต่ในกรณี ที่กฎหมายบัญญัตใิ ห้ ลงโทษหนักขึ ้น เพราะฐานะของบุคคลหรื อเพราะ มิให้ นากฎหมายนันมาใช้ ้ บงั คับเพื่อลงโทษผู้กระทาให้ หนักขึ ้น ความสัมพันธ์ระหว่างผู้กระทากับบุคคลที่ได้ รับผลร้ าย (หลักการเดียวกับ ม.๕๙ ว.๓ และ ๖๒ ว.ท้าย ไม่มี ม.๖๐ ส่วนนีก้ ็ได้) สาคัญผิดในตัวบุคคล ๖๑ ผู้ใดเจตนาจะกระทาต่อบุคคลหนึ่ง แต่ได้ กระทาต่ออีกบุคคลหนึ่งโดยสาคัญผิด ผู้นนไม่ ั ้ สามารถยกเอาความ เป็ น กม. ใช้ ปิดปากกรณีการ (เข้าใจผิดว่าเป็ นอี กคนหนึ่ง (การสาคัญผิ ดในตัวบุคคล ซึ่งไม่ว่ากระทาต่อบุคคลใดก็ไม่สามารถอ้างได้ว่าไม่ได้ สาคัญผิดมาเป็ นข้ อแก้ ตวั ว่า กระทาโดยพลาด ตาม ม.๖๐ หรื อ ผิดฝาผิดตัว) เจตนากับบุคคลนัน้ ดังนัน้ กม. ให้ถือว่าเจตนากระทาต่อบุคคลนัน้ ) กระทาโดยไม่เจตนาไม่ได้ โดยจะอ้ างว่าไม่มีเจตนาไม่ได้ สาคัญผิดว่ามีเหตุยกเว้ น ๖๒ ว.๑ ข้ อเท็จจริงใด ถ้ ามีอยู่จริงจะทาให้ การกระทาไม่เป็ นความผิด แม้ ข้อเท็จจริงนัน้ ผู้กระทาย่อมไม่มีความผิด หลัก “ความจริงเป็ นผลร้ าย ความผิด / ยกเว้ นโทษ / ลด (สิทธิ นนั้ ) จะไม่มีอยู่จริง แต่ผ้ กู ระทาสาคัญผิดว่า (สิทธิ นนั้ ) มีอยู่จริง ความเข้ าใจเป็ นผลดี ให้ ถือ โทษ (แบ่งเป็ น (สาคัญผิดว่ าการกระทาไม่ เป็ นความผิด) ที่ความเข้ าใจ” โดยเป็ นการ ๓ กรณี ) ข้ อเท็จจริงใด ถ้ ามีอยู่จริงจะทาให้ ผ้ กู ระทาไม่ต้องรับโทษ แม้ ข้อเท็จจริงนัน้ ผู้กระทาย่อมได้ รับการยกเว้ น สาคัญผิดหรื อเข้ าใจผิดว่า (การใช้ ม.๖๒ ว.๑ บังคับ (สิทธิ นนั้ ) จะไม่มีอยู่จริง แต่ผ้ กู ระทาสาคัญผิดว่า (สิทธิ นนั้ ) มีอยู่จริง โทษ ตนเองมี “สิทธิ” กระทาได้ ต้องผ่าน อปก.ภายใน คือ แล้ วดู (สาคัญผิดว่ ามีเหตุยกเว้ นโทษ) ต้ องไปดูตอ ่ ด้ วยว่า “ประมาท” ม.๕๙ ว.๓ มาก่อนแล้ว) ๕๙ ว.๔ ต่ อ ข้ อเท็จจริงใด ถ้ ามีอยู่จริงจะทาให้ ผ้ กู ระทาได้ รับโทษน้ อยลง แม้ ข้อเท็จจริง ผู้กระทาย่อมได้ รับโทษ หรื อไม่ (สิทธิ นนั้ ) นันจะไม่ ้ มีอยู่จริง แต่ผ้ กู ระทาสาคัญผิดว่า (สิ ทธิ นนั้ ) มีอยู่จริง น้ อยลง (สาคัญผิดว่ ามีเหตุลดโทษ) ไม่ร้ ูข้อเท็จจริง สาคัญผิดใน ๖๒ ว.๒ ถ้ าความไม่ร้ ูข้อเท็จจริงตาม ม.๕๙ ว.๓ หรื อ ความสาคัญผิดว่ามีอยู่จริงตาม ม.๖๒ ผู้กระทารับผิดฐานกระทาโดยประมาท ในกรณีที่ กม.บัญญัตไิ ว้ วา่ ข้ อเท็จจริงโดยประมาท ว.๑ เกิดจากความประมาทของผู้กระทาความผิด (สมมติวิญญูชนขึ้นมา) การกระทานันผู ้ ้ กระทาจะต้ องรับโทษแม้ กระทาโดยประมาท รับโทษหนักขึ ้นต้ องรู้ ๖๒ ว.๓ บุคคลจะต้ องรับโทษหนักขึ ้นโดยอาศัยข้ อเท็จจริงใด บุคคลนันจะต้ ้ องได้ ร้ ูข้อเท็จจริงนัน้ ข้ อเท็จจริงนันด้ ้ วย หลัก “รู้เท่ าใด เจตนาเท่ านั้น” (แต่ตอ้ งไม่เกิ นความเป็ นจริ ง) เป็ นหลักการ (เป็ น ม. ทีใ่ ช้เชื ่อมเหตุฉกรรจ์ ) เดียวกับ ม.๕๙ ว.๓ หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น ดังนั้น โปรดใช้ วิจารณญาณและดูประมวลกฎหมายอาญาเป็ นหลัก สรุ ปประมวล กม.อาญาภาคทั่วไป LA210 โดย Cookingpond TULAW 53 As of 13 Oct 2010 7 ผลธรรมดา (Causation) ๖๓ ถ้ าผลของการกระทาความผิดใดทาให้ ผ้ กู ระทาต้ องรับโทษหนักขึ ้น (ต้องตัง้ ถามว่า ผลนันต้ ้ องเป็ นผลที่ตามธรรมดาย่อมเกิดได้ (วิญญูชนคาดได้ ซึ่งถ้า “ถ้ าไม่ มีการกระทาแบบนี้ ผลจะเกิดขึน้ หรือไม่ ” – หรื อ ถ้าไม่ทา ผลไม่เกิ ด) แม้ไม่ทาผลก็เกิ ดอยู่แล้ว ก็ไม่ได้ถือว่าเป็ นการกระทาของบุคคลนัน้ ) ความไม่ร้ ูกฎหมาย ๖๔ บุคคลจะแก้ ตว ั ว่าไม่ร้ ู กม. เพื่อให้ พ้นจากความรับผิดทางอาญา ไม่สามารถทาได้ อ.มองว่าการอ้างว่าไม่รู้ กม.น่าจะ แต่หากศาลเห็นว่า ตามสภาพและพฤติการณ์ ผู้กระทาความผิดอาจจะไม่ร้ ูวา ่ กม. ศาลจะลงโทษน้ อยกว่าที่ ทาได้ในความผิดลักษณะ Mala บัญญัตวิ า่ การกระทานันเป็ ้ นความผิด (อาทิ กรณี ความผิดลักษณะ กม.เทคนิค กฎหมายกาหนดไว้ สาหรับ Prohibita (กม.ห้ามไว้) เช่น กรณี หรื อ Mala Prohibita เช่น การห้ามมีเพโลมีนไว้ขายตามประกาศ สธ. ซึ่งเดิ มเคย ความผิดนันเพี ้ ยงใดก็ได้ คนเก็บขยะขาย CD ของตนเอง แต่ ขายได้) ศาลอาจอนุญาตให้ แสดงพยานหลักฐานต่อศาล และถ้ าศาลเชื่อว่า ไม่ใช่ความผิดลักษณะ Mala Inse ผู้กระทาไม่ร้ ูวา่ กม. บัญญัตไิ ว้ เช่นนัน้ (ความผิดในตัวเอง) เช่น ฆ่าคน การพยายามกระทาความผิด ม.๘๐ – ม.๘๒ หลัก ทาแล้ วมีโอกาสเสี่ยงจะเกิดผลเป็ น ม.๘๐ ถ้ าไม่ มีโอกาสเกิดได้ เลยเป็ น ม.๘๑ พยายามที่เป็ นไปไม่ได้ โดย ๘๐ ผู้ใดลงมือกระทาความผิดแต่กระทาไปไม่ตลอด หรื อ กระทาไปตลอดแล้ วแต่การ ผู้นนพยายามกระท ั้ า โทษของการพยายาม มี ๔ โทษ บังเอิญ กระทานันไม่้ บรรลุผล ความผิด โทษ ๒/๓ ม.๘๐ องค์ประกอบของการพยายาม รับโทษ ๒ / ๓ ของโทษที่ ไม่เกินกึ่งหนึ่ง ม.๘๑ ** การกระทาไปตลอดแล้ ว ผู้กระทาต้ องมีเจตนา (เจตนาฆ่า / เจตนาทาร้ าย) กฎหมายกาหนดไว้ สาหรับ ไม่ลงโทษเลย ม.๘๑ ว.๒ คือ ได้ ทาทุกอย่ างเท่ าที่ตน ผู้กระทาต้ องมีการลงมือกระทา (เป็ นจุดตัดว่ามี การกระทาหรื อไม่ Last Act คื อ ไม่ ความผิดนัน้ โทษเท่าความผิดสาเร็ จ ม. จะทาได้ แล้ ว เหลือเพียงรอ ต้องทาอะไรอี กแล้ว รอให้ผลเกิ ด / กรณี การฆ่าโดยปื นก็ดูว่ามีการเล็งปื นหรื อไม่) ๑๐๗ และ ม.๑๐๘ ความผิด ให้ ผลเกิดเท่ านั้น ผู้กระทากระทาไปไม่ตลอด หรื อกระทาไปตลอดแล้ วไม่บรรลุผล เกี่ยวกับความมัน่ คง พยายามที่เป็ นไปไม่ได้ อย่าง ๘๑ ว.๑ ผู้ใดกระทาการโดยมุง่ ต่อผลซึ่งกฎหมายบัญญัตเิ ป็ นความผิด แต่การกระทานันไม่ ้ ให้ ถือว่าผู้นนพยายามกระท ั้ าความผิด แน่แท้ สามารถจะบรรลุผลได้ อย่ างแน่ แท้ เพราะเหตุปัจจัยซึ่งใช้ ในการกระทา (ให้ดูทีผ่ ู้ รับโทษไม่เกิน ๑ / ๒ ของโทษที่ กม. กาหนดไว้ สาหรับความผิดนัน้ กระทา-อาวุธทีใ่ ช้) หรื อเหตุแห่งวัตถุที่มงุ่ หมายกระทาต่อ (ให้ดทู ีเ่ ป้ าหมาย/เหยือ่ ) ๘๑ ว.๒ ถ้ าการกระทาที่เป็ นไปไม่ได้ อย่างแน่แท้ เกิดจากความเชื่ออย่างงมงาย ศาลจะไม่ลงโทษก็ได้ (เป็ นเหตุยกเว้นโทษ) ยับยัง้ / กลับใจ ๘๒ ผู้ใดพยายามกระทาความผิด หาก ผู้นนไม่ ั ้ ต้องรับโทษสาหรับ ความผิดบางฐาน กม. ลงโทษ ยับยังเสี ้ ยเองไม่กระทาการให้ ตลอด (ลงมือกระทาแต่ทาไปไม่ตลอด) หรื อ การพยายามกระทาความผิด การพยายามเท่ากับการกระทา (ยกเว้นโทษให้เฉพาะ กลับใจแก้ ไขไม่ให้ การกระทานันบรรลุ ้ ผล (กระทาไปตลอดแต่การกระทาไม่ นัน้ (เป็ นเหตุยกเว้นโทษ แต่ ความผิด เช่น ม.๑๐๘ ๑๐๙ ความผิ ดฐานพยายามเท่านัน้ บรรลุผล) ความผิ ดก็ยงั มีอยู่) (ความผิดต่อพระมหากษัตริย์ แต่ความผิดที ่สาเร็จไปแล้วก็ แต่ถ้าการที่ได้ กระทาไปแล้ วต้ องตามบทกฎหมายที่บญ ั ญัตเิ ป็ นความผิด ผู้นนต้ ั ้ องรับโทษสาหรับ และรัชทายาท) ต้องรับโทษ) ความผิดนันๆ ้ หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น ดังนั้น โปรดใช้ วิจารณญาณและดูประมวลกฎหมายอาญาเป็ นหลัก สรุ ปประมวล กม.อาญาภาคทั่วไป LA210 โดย Cookingpond TULAW 53 As of 13 Oct 2010 8 ม.๘๒ เจตนารมณ์ คือ เพื่อ ๘๒ หลักเกณฑ์การยับยัง้ / กลับใจ (ใช้กบั เฉพาะตัวการและผูล้ งมือ) กม.ยกเว้ นโทษให้ กับ ต้ องมีความผิดฐานพยายาม กระตุ้นให้ ผ้ กู ระทาผิดช่วย (ต่อ) (๑) ผู้กระทาต้ องกระทาการขันลงมื ้ อ (พยายาม) กระทาความผิดแล้ ว ความผิดฐานพยายาม ขึ ้นก่อนจึงจะมียบั ยังหรื ้ อกลับ ระงับเหตุไม่ให้ ความผิด (๒) ความผิดยังไม่สาเร็ จ แต่ความผิดที่ สาเร็ จไปแล้ วก็ ใจได้ และต้ องไม่เป็ นความผิด สาเร็จ และการยับยังหรื ้ อ (๓) ผู้กระทา ต้ องรับผิด ที่สาเร็จแล้ วเท่านัน้ กลับใจแสดงให้ เห็นว่า ยับยังเสี ้ ยเองไม่กระทาให้ ตลอด หรื อ ผู้กระทายังมีความรู้สกึ ส่วนดี กลับใจไม่ให้ การกระทาบรรลุผล (ถ้าผลบรรลุก็ไม่ใช่การกลับใจ) ของจิตใจ (๔) การยับยังหรื้ อกลับใจต้ องเป็ นไปโดยสมัครใจ (ส่วนดี ลึกๆ ของจิ ตใจ) การวินิจฉัยเจตนาฆ่ า V.S. เจตนาฆ่า (ม.๒๘๘) และ เจตนาทาร้ าย (ม.๒๙๕) เป็ นเหมือนเส้ นขนาน ต้ องวินิจฉัยให้ ชดั เจน เพราะ ให้ ดจู ากอาวุธ อวัยวะที่ถกู กระทา บาดแผล และการกระทาซ ้า จะเป็ น เจตนาทาร้ าย เมื่อมีเจตนาฆ่าแล้ วก็จะไม่เป็ นเจตนาทาร้ าย ผลจะต่างกันออกไป (ดู Lecture หน้ า ๔๒ ประกอบ) ตัวบอกว่าเจตนาฆ่า (ม.๒๘๘) หรื อเจตนาทาร้ าย (ม.๒๕) กระสุนด้ าน ปื นกาลังอ่ อน กระสุนด้ าน ม.๒๘๘ + ๘๐ ปื นประดิษฐ์ / ปื นกาลังอ่ อน ม.๒๘๘ + ๘๑ ระเบิดด้ าน ม.๒๘๘ + ๘๐ ระเบิดกาลังอ่ อน ม.๒๘๘ + ๘๑ ระเบิดด้ าน / กาลังอ่ อน เพราะยิงนัดที่ ๑๐๐ กระสุนอาจลัน่ ก็ได้ ยิงยังงัยก็ไม่ตาย แค่เจ็บๆ คันๆ เป็ นแผล เนื่องจากเป็ นอาวุธร้ ายแรง อาจระเบิดได้ ไม่มีทางทาให้ คนตายได้ เจ็บๆ คันๆ (ต้องมีเจตนาฆ่าด้วย) (เป็ นไปไม่ได้ โดยบังเอิญ) (เป็ นไปไม่ได้ อย่างแน่แท้ ) (เป็ นไปไม่ได้ โดยบังเอิญ) (เป็ นไปไม่ได้ อย่างแน่แท้ ) ผู้เกี่ยวข้ องในการกระทาความผิดตัง้ แต่ ๒ คนขึน้ ไป – ตัวการ ผู้ใช้ ผู้ประกาศ ผู้สนับสนุน ม.๘๓ – ม.๘๙ การยับยัง้ /การกลับใจ/การขัดขวาง เป็ นเหตุยกเว้ นโทษเฉพาะความผิดฐานพยายาม Classic Example ก (ผู้ใช้ ) ตัวการ / ผู้ใช้ / ผู้สนับสนุน การยับยัง้ / การกลับใจ ม.๘๒ ใช้ แนวนอน (ใช้ กับ ตัวการและผู้ลงมือ) กรณีการว่าจ้ างฆ่าผู้ลงมือและ ผิด ม.๒๘๙ (๔) ประกอบกับ ม.๘๔ อยู่นอกประเทศไทย แต่ต้องรับผิด (โดยการยับยัง้ เป็ นเหตุลักษณะคดี ส่วนการกลับใจเป็ นเหตุส่วนตัว) เหยื่ออยู่ในประเทศไทย (รับโทษเสมือนตัวการ – ตาม กม. ไทย เพราะความผิดเกิด การขัดขวาง ม.๘๘ ใช้ แนวดิ่ง (ใช้ กับ ผู้ใช้ และผู้สนั บสนุ น) ประหารชีวติ ) ในไทย ม.๖ ** กรณีความผิดหลักเกิดในประเทศไทย ตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน ต้ องมารับโทษในไทยด้ วย จ (ตัวการ) อยู่ใกล้ ๆ ข (ผู้ลงมือ) ค (โดนยิงตาย) *** โทษและความผิดต่างๆ ยับยัง้ / กลับใจ / ขัดขวาง (ความผิดยังอยู่) ได้ รับการยกเว้ น ผิด ม.๒๘๙ (๔) ประกอบกับ ผิด ม.๒๘๙ (๔) โทษ โทษเฉพาะความผิดฐานพยายามเท่านัน้ ส่วนความผิดที่สาเร็จไปแล้ ว ผู้นนก็ ั ้ ต้องรับโทษไป ม.๘๓ (รับโทษเสมือนผู้ลงมือ – ประหารชีวติ ข. ผู้ลงมือ จ. ตัวการ ก. ผู้ใช้ ง. ผู้สนับสนุน ประหารชีวติ ) (เหตุเกิดในไทย) (เหตุเกิดในไทย) ไม่ได้ กระทา ๐ ๐ ๑/๓ ฐานที่ใช้ ๐ ก.สัง่ ฆ่า (ผู้ใช้ ) ความผิดสาเร็จ ๑ ๑ ๑ ๒/๓ แต่หาก ง. ไม่ร้ ูวา่ ข. นาปื นไป ง (ผู้สนับสนุน) ลงมือทาแล้ วไม่สาเร็จ ๒/๓ ๒/๓ ๒/๓ ๒/๓ ของ ๒/๓ ข.ลงมือฆ่า (ผู้ลงมือ) ฆ่าคน ง. จะไม่มีความผิด ผิด ม.๒๘๙ (๔) ประกอบกั บ ม.๘๖ ค. โดนฆ่า (ซวยไป T-T) ยับยัง้ (ลักษณะคดี) ๐ ๐ เพราะให้ ยืมปื นโดนไม่มีเจตนา (รับโทษ ๒ ใน ๓ ของผู้ลงมือ – ง.ให้ ยืมปื น (ผู้สนับสนุน) กลับใจ (ส่วนตัว) ๐ ๐ (ไม่ร้ ูว่าจะเอาไปฆ่าคน) จาคุกตลอดชีวติ ) จ.ดูต้นทางใกล้ ๆ (ตัวการ) ขัดขวาง ๑/๓ ฐานที่ใช้ ๐ หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น ดังนั้น โปรดใช้ วิจารณญาณและดูประมวลกฎหมายอาญาเป็ นหลัก สรุ ปประมวล กม.อาญาภาคทั่วไป LA210 โดย Cookingpond TULAW 53 As of 13 Oct 2010 9 ตัวการ ๘๓ หลักเกณฑ์ ผู้ที่ได้ ร่วมกระทาความผิด ข้ อสังเกต (๑) เป็ นการกระทาผิดโดยเจตนา (ต้องตกลงร่ วมกันมาก่อน) ด้ วยกันนันเป็ ้ นตัวการ ถ้ าตกลงร่ วมกันมาก่อน และดู Keyword “ร่ วมมือ ร่ วมใจ” (๒) โดยบุคคลสองคนขึ ้นไป (การช่วยเหลื อกันต้องเกิ ดก่อนหรื อระหว่างกระทาผิ ด ) ต้ องระวางโทษตามที่ ต้ นทางใกล้ ๆ เป็ นตัวการ (๓) มีการกระทาร่ วมกัน (ร่ วมแรง) กฎหมายกาหนดไว้ สาหรับ ถ้ าตกลงร่ วมกันมาก่อน และดู ความผิดบางฐานต้ องการ แบ่งหน้ าที่กน ั ทา – มีผลู้ งมือเป็ นคนยิง ตัวการช่วยดูตน้ ทางให้ใกล้ๆ ความผิดนัน้ ต้ นทางไกลๆ เป็ นผู้สนับสนุน คุณสมบัตขิ องผู้กระทา เช่น แต่ละคนลงมือกระทาผิดเอง – ช่วยข่มขื น + กระทาชาเรา (มี ๒ เนื อ ้ ความ) ถ้ าไม่ได้ ตกลงร่ วมกันมาเลย ความผิดต่อตาแหน่งหน้ าที่ อยู่ร่วมในที่เกิดเหตุพร้ อมช่วยเหลือ – ขี ม ่ อไซค์รอรับใกล้ๆ / ดูตน้ ทางใกล้ๆ ไม่ใช่ตวั การ ไม่ใช่ผ้ สู นับสนุน ราชการ ผู้ไม่มีคณ ุ สมบัตทิ ี่ อยู่ร่วมในที่เกิดเหตุและก่อให้ ผ้ อ ู ื่นกระทาความผิด – ผูใ้ ช้มาดูใกล้ๆ ให้ชวั ร์ กรณี หน้ าที่แบ่งกันทา ตัวการ กม. กาหนดไม่อาจเป็ น (๔) มีเจตนาร่ วมกันในขณะกระทาความผิด (ร่ วมใจ คื อ รู้ถึงการกระทาของกันและ “ต่างคนต่างถื อเอาการกระทาของ ต้ องอยู่ในที่เกิดเหตุใกล้ ๆ ตัวการได้ กันว่าอี กคนทาอะไรอยู่ โดยมุ่งหมายให้ความผิดสาเร็จดุจตัวเองทาเอง) อี กคนเป็ นการกระทาของตนเอง” มิฉะนันจะเป็ ้ นผู้สนับสนุน ผู้ใช้ ๘๔ ว.๑ ผู้ใดก่อให้ ผ้ อ ู ื่นกระทาความผิดไม่วา่ ด้ วยการใช้ บังคับ ขูเ่ ข็ญ จ้ าง วานหรื อยุยง ผู้นนเป็ ั ้ นผู้ใช้ ให้ กระทา ถ้ าผู้กระทาคิดจะทาความผิด Keyword ก่ อให้ ผ้ ูอ่ ืน ส่งเสริม หรื อด้ วยวิธีอื่นใด ความผิด อยู่แล้ ว โดยผู้ใช้ ไม่ได้ “ก่อ” “ตัดสินใจ” หลักเกณฑ์ ให้ ผ้ นู นกระท ั้ าความผิด ผูใ้ ช้แม้ถอนเจตนาการใช้ แต่ (๑) ต้ องมีการก่อให้ ผ้ อ ู ื่นกระทาความผิด (ใช้ บังคับ ขู่เข็ญ จ้าง วานหรื อยุยง การให้ เงินจ้ างก็เป็ นเพียง ความผิ ดฐานผู้ใช้เกิ ดขึ้นแล้ว ส่งเสริ ม หรื อด้วยวิธีอื่นใด) “การสนับสนุน” ทางการเงิน ต้องรับโทษ ๑/๓ ของทีใ่ ช้ไป (๒) ต้ องมีเจตนาก่อให้ ผ้ อ ู ื่นกระทาความผิด ผู้ใช้ ถ้าเข้ ามาดูต้นทางให้ ใกล้ ๆ ความรับผิดของผู้ใช้ ม.๘๔ ว.๒ (๓) ผลของการกระทา (จะผิ ดฐานผู้ใช้ ผู้ลงมื อต้องกระทาผิ ดโดยเจตนาเท่านัน ้ ) ก็เปลี่ยนเป็ น “ตัวการ” ได้ แต่ ถ้ าความผิดที่ได้ ใช้ กระทาลง (ขัน ้ ลงมือที ่ กม.บัญญัติไว้เป็ นความผิด) ผู้ใช้ รับโทษเสมือนตัวการ ทังนี ้ ้ต้ องพิจารณาว่า “ร่วมมือ ถ้ าความผิดมิได้ กระทาลง (ผูถ ้ ูกใช้ยงั ไม่ได้ทาก็ไม่มีความผิด ไม่ตอ้ งรับโทษ) ผู้ใช้ รับโทษ ๑ / ๓ ร่วมใจ” ด้ วยหรื อไม่กบั ผู้ลงมือ ผู้โฆษณา ๘๕ ว.๑ ผู้ใดโฆษณาหรื อประกาศแก่บค ุ คลทัว่ ไปให้ กระทาความผิด และความผิดนันมี ้ ผู้นนต้ ั ้ องระวางโทษ ๑ / ๒ ม.๘๕ เป็ นเหตุฉกรรจ์ของ ม. กาหนดโทษไม่ต่ากว่าหกเดือน ของโทษที่กาหนดไว้ สาหรับ ๘๔ เพราะเพียงแค่ประกาศก็ หลักเกณฑ์ ความผิดนัน้ รับโทษกึ่งหนึ่ง (๑) เป็ นการก่อให้ ผ้ อ ู ื่นกระทาความผิดตามความหมายของ ม.๘๔ หากโฆษณาให้ กระทาความผิด (๒) โดยการโฆษณาประกาศแก่บค ุ คลทัว่ ไป ที่มีโทษต่ากว่า ๖ เดือน แม้ ไม่ (๓) ความผิดที่ก่อต้ องมีโทษไม่ต่ากว่า ๖ เดือน เข้ า ม.๘๕ ก็อาจเข้ า ม.๘๔ ได้ ความรับผิดของผู้โฆษณา ๘๕ ว.๒ ถ้ าได้ มีการกระทาความผิดเพราะเหตุที่ได้ มีการโฆษณาหรื อประกาศตาม ว.๑ ผู้โฆษณาหรื อประกาศต้ องรับโทษเสมือนเป็ นตัวการ หมายเหตุ เอกสารชุดนี้อาจมีข้อผิดพลาดหรื อข้ อตกหล่ น ดังนั้น โปรดใช้ วิจารณญาณและดูประมวลกฎหมายอาญาเป็ นหลัก สรุ ปประมวล กม.อาญาภาคทั่วไป LA210 โดย Cookingpond TULAW 53 As of 13 Oct 2010 10 ผู้สนับสนุน ๘๖ ผู้ใดกระทาด้ วยประการใดๆ อันเป็ นการช่วยเหลือ หรื อให้ ความสะดวกในการที่ ผู้นนเป็ ั ้ นผู้สนับสนุนการ ผู้ลงมือรับผิดอย่างไร ผู้อื่นกระทาความผิดก่อนหรื อขณะกระทาความผิด กระทาความผิด ผู้สนับสนุนรับผิด ๒ / ๓ แม้ ผ้ ก ู ระทาความผิดจะมิได้ ร้ ูถึงการช่วยเหลือหรื อให้ ความสะดวกนันก็ ้ ตาม รับโทษ ๒ / ๓ ของโทษที่ ความผิดของผู้สนับสนุนต้ องอิง หลักเกณฑ์ กาหนดไว้ สาหรับความผิดที่ กับผู้ลงมือเสมอ ถ้ าผู้ลงมือไม่ (๑) ต้ องมีการกระทาความผิดเกิดขึ ้น (หากไม่มีความผิ ดเกิ ด ผูส ้ นับสนุนก็ไม่มี สนับสนุนนัน้ กระทาผิด ผู้สนับสนุนก็ไม่มี ความผิ ด เนือ่ งจาก “ความผิ ดฐานพยายามสนับสนุน” ไม่มีในโลก) ค?