Summary

This document describes a laboratory procedure for a hemagglutination assay (HA), a method used to detect viral concentrations. It explains how the assay works, different scenarios, and the use of specific terms like Agglutination, RBC (red blood cells), and the different virus types that can be studied.

Full Transcript

Hemagglutination Assay (HA) o Purpose: ▪ ตรวจหาความเข้มข้นของไวรัสในตัวอย่าง ซึง่ แสดงค่าเป็ น HA unit ▪ ไวรัสบางชนิดสามารถทาให้เม็ดเลือดแดง (RBC) เกาะกลุ่มกันได้ o How it works:[p4,5] ▪ นาสารละลายไวรัสในความเข้มข้นที่แตกต่...

Hemagglutination Assay (HA) o Purpose: ▪ ตรวจหาความเข้มข้นของไวรัสในตัวอย่าง ซึง่ แสดงค่าเป็ น HA unit ▪ ไวรัสบางชนิดสามารถทาให้เม็ดเลือดแดง (RBC) เกาะกลุ่มกันได้ o How it works:[p4,5] ▪ นาสารละลายไวรัสในความเข้มข้นที่แตกต่างกันมาผสมกับเม็ดเลือดแดง 1% ใน 0.85% NSS (นา้ เกลือ) ▪ เมื่อไม่มีไวรัส: ▪ เม็ดเลือดแดงจะตกไปอยู่ท่กี น้ ของจาน (U- หรือ V-bottomed microtiter plate) ▪ เราจะเรียกว่า Button ▪ เป็ น HA negative ▪ เมื่อมีไวรัส: ▪ เม็ดเลือดแดงจะกระจายและเกิดการตกตะกอนสีชมพูในก้นของหลุม (Diffuse pink precipitate) (การจับตัวกัน) ▪ เกิดจากไวรัสมันไปจับกับ RBC และสานกันเป็ นร่างแห่ไม่ให้ RBC ตกตะกอน ▪ เราจะเรียกว่า lattice ▪ เป็ น HA positive ▪ o Special Terms: ▪ RBC (เม็ดเลือดแดง): Red blood cells ▪ Agglutination (การจับตัวกัน): When cells stick together o RBC ▪ สามารถนาของคนหรือสัตว์ ก็ได้ แต่ตอ้ งเป็ นหมู่เลือด Group o เท่านัน้ [คน] ▪ ทาไมต้องใช้ Group o ? ▪ เนื่องจากไม่มี Antigen A , B ซึง่ จะไปรบกวนการจับของไวรัสกับ RBC o Button o ไวรัสที่สามารถใช้วิธี HA ได้มีดงั นี ้ ▪ Orthomyxoviridae ▪ Influenza A virus ▪ Paramyxoviridae ▪ ไวรัสที่ใช้วิธี HA แล้วตรวจสอบไม่แม่นยา ▪ Flaviviridae ▪ Coronaviridae o Human Influenza (ไข้หวัดใหญ่ในมนุษย์) ▪ หน้าที:่ ▪ ไข้หวัดใหญ่ในมนุษย์ (Human Influenza) เป็ นไวรัสที่ทาให้เกิดโรคหวัดในคน ▪ การจับกับเซลล์: ▪ ไวรัสไข้หวัดใหญ่จะจับกับโมเลกุลพิเศษที่เรียกว่า α2,6-linked sialic acid (กรดไซ อาลิกที่เชื่อมต่อกันด้วย α2,6) ซึง่ อยู่บนพืน้ ผิวของเซลล์ ▪ โมเลกุลเหล่านีพ้ บใน: ▪ Amniotic Cavity (โพรงแอมเนียติก) ของไข่ไก่ ▪ Allantoic Cavity (โพรงอลานโตอิค) ของไข่ไก่ o การเพาะเชือ้ ▪ การเพาะเชือ้ ในไข่ ▪ เราจะฉีดเชือ้ เข้าไปในไข่ไก่ [ไก่ฟักเป็ นตัว] ▪ โดยต้องฉีดเข้าไป Allantoic cavity ▪ ทาไมไข่ไก่ถึงเพาะเชือ้ ได้ ▪ ไวรัสจะจับกับโมเลกุลพิเศษที่เรียกว่า α2,3-linked sialic acid (กรดไซ อาลิกที่เชื่อมต่อกันด้วย α2,3) ซึง่ อยู่บนพืน้ ผิวของเซลล์ ▪ โมเลกุลเหล่านีพ้ บใน Allantoic Cavity (โพรงอลานโตอิค) ของไข่ไก่ ▪ เราจะบ่มเชือ้ ไว้ในไข่ 2 วัน ▪ หลังจากเพาะเลีย้ งไวรัสในไข่ท่มี ตี วั อ่อนเป็ นเวลา 48 ชั่วโมงที่อณ ุ หภูมิ 37°C ▪ เก็บสารละลายจากโพรงอลานโตอิค (Allantoic Fluid) ออกมา 10 มิลลิลิตรต่อไข่ ▪ การทดลองนีจ้ ะต้องเจือจางสารละลาย allantoic ใน 10% (v/v) formaldehyde ▪ เนื่องจาก ห้องทดลองไม่เหมาะสมต่อเชือ้ o การทดลองนีใ้ ช้ ▪ Influenza A virus HK 68 [ปี ] ▪ Subtype H3N2 o การทดลอง ▪ เจือจางไวรัสแบบ 2 เท่า (2-fold dilution) โดยเริ่มจากเติม NSS ปริมาณ 50 µL ลงในหลุม A1- A12 ▪ ใช้ autopipette ดูดไวรัสทดสอบปริมาณ 50 µL ใส่ลงในหลุม A1 ▪ ผสมให้เข้ากันโดยดูดส่วนผสมขึน้ ลง 7-15 ครัง้ (ระวังไม่ให้มีฟองอากาศ) ▪ ใช้ Tip เดิม ดูดส่วนผสม 50 µL จากหลุม A1 ใส่ลงในหลุม A2 ▪ ผสมในหลุม A2 ให้เข้ากันดี โดยดูดส่วนผสมขึน้ ลง 7-15 ครัง้ ▪ ดูดส่วนผสม 50 µL จากหลุม A2 ไปใส่ลงในหลุม A3 ▪ ทาขัน้ ตอนนีซ้ า้ จากหลุม A3, A4, A5 จนถึงหลุม A11 ▪ หลังจากผสมในหลุม A11 เสร็จแล้ว ดูดส่วนผสม 50 µL ทิง้ ไป (ทิง้ ใน Beaker ที่มีนา้ ยาฆ่าเชือ้ ) ▪ ปล่อยหลุม A12 ว่างไว้ เป็ นหลุม negative control ที่ไม่มีเชือ้ ไวรัส ▪ เขย่าหลอดที่มี 1% human red blood cell เบา ๆ เพื่อกระจายตัวเม็ดเลือดแดง ▪ ใช้ Autopipette P200 ดูดเม็ดเลือดแดง 50 µL ใส่ลงในหลุม A1-A12 (เปลี่ยน Tip ทุกครัง้ ) ▪ เคาะ microwell plate เบา ๆ เพื่อผสมส่วนผสมในทุกหลุม ▪ ตัง้ microwell plate ทิง้ ไว้ท่อี ณ ุ หภูมิหอ้ งนาน 1 ชั่วโมงขึน้ ไป ▪ ตรวจดูการเกาะกลุ่มของเม็ดเลือดแดงที่กน้ หลุม o Serial Dilution ▪ หรือการเจือจางต่อเนื่อง เป็ นเทคนิคที่ใช้ในการลดความเข้มข้นของสารละลายอย่างต่อเนื่องโดย การนาสารละลายจากหลอดหนึง่ ไปเจือจางในหลอดถัดไปเป็ นลาดับ ซึ่งมีขนั้ ตอนและหลักการ ดังนี:้ ▪ เริ่มต้นด้วยสารละลายต้นแบบ (Stock Solution): ▪ นาสารละลายต้นแบบที่มีความเข้มข้นที่ทราบมาทาการเจือจางโดยใส่ใน หลอดทดลองแรก โดยมักจะเจือจางด้วยสารละลายเจือจาง (เช่น นา้ เกลือ หรือสารละลายบัฟเฟอร์) เพื่อทาให้ความเข้มข้นของสารลดลง ▪ การถ่ายสารละลาย (Aliquot): ▪ นาปริมาณที่กาหนดจากหลอดแรก เช่น 1 มิลลิลิตร (mL) หรือ 50 ไมโครลิตร (µL) ไปใส่ในหลอดถัดไปที่มีสารละลายเจือจาง เช่น สารละลายเกลือ หรือ สารละลายบัฟเฟอร์ท่มี ีปริมาตรเท่ากัน (เช่น 1 มิลลิลิตร) ▪ การผสมสาร: ▪ ทาการผสมสารละลายในแต่ละหลอดให้เข้ากันอย่างดี เพื่อให้เกิดการกระจาย ตัวอย่างสม่าเสมอในหลอดที่มกี ารเจือจางใหม่ ▪ การทาซา้ (Serial Step): ▪ นาสารละลายจากหลอดถัดมาไปเจือจางในหลอดถัดไปในอัตราส่วนเดียวกัน เช่น ดูด 1 มิลลิลิตรจากหลอดที่ 1 ไปเจือจางในหลอดที่ 2 จากนัน้ ดูด 1 มิลลิลิตรจากหลอดที่ 2 ไปเจือจางในหลอดที่ 3 ทาเช่นนีไ้ ปเรื่อย ๆ ▪ การคานวณการเจือจาง: ▪ แต่ละหลอดจะมีการเจือจางในอัตราส่วนคงที่ เช่น 1:2, 1:10 หรือ 1:100 ขึน้ อยู่กบั วัตถุประสงค์ ตัวอย่างเช่น: ▪ ถ้าเป็ นการเจือจาง 2 เท่า (2-fold dilution) แต่ละหลอดจะมีความ เข้มข้นครึง่ หนึ่งของหลอดก่อนหน้า เช่น 1:2→1:4 ↔ 1:8 ↔ 1:16 เป็ นต้น ▪ ตัวอย่างการใช้งาน: o สรุ ปผลการทดสอบ HA (Hemagglutination Assay): ▪ ▪ 1 HA Unit คือการเจือจางที่ต่าที่สด ุ ซึ่งยังสามารถสังเกตเห็นการเกาะกลุ่มของเม็ดเลือดแดง (agglutination) ได้ ▪ ในภาพ การเจือจางที่ 1:8 คือจุดที่ยงั มีการเกาะกลุ่มของเม็ดเลือดแดงเป็ นอันสุดท้าย ดังนัน้ หน่วย HA เท่ากับ 1:8 ▪ Titer คือค่าผกผัน (reciprocal) ของ 1 HA Unit ดังนัน ้ ค่า Titer ในภาพนีจ้ ะเท่ากับ 8

Use Quizgecko on...
Browser
Browser