ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 PDF
Document Details
Uploaded by NobleOphicleide3308
Asia-Pacific International University
2544
Tags
Related
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2563 PDF
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ PDF
- ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 PDF
- ชุดที่ 6 การบริหารราชการแผ่นดิน หน้า 1-10 PDF
- ข้อกำหนดของสำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ฉบับที่ 14 ว่าด้วยมาตรฐานสนามบิน PDF
- คู่มือการยื่นงบการเงิน and สาเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น PDF
Summary
This document is a Thai regulation related to building control. It details definitions of various terms related to building construction. These definitions likely clarify the meaning of keywords relevant to building codes and regulations in Thailand.
Full Transcript
ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร 1 ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรือง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 โดยทีเป็ นการสมควรแก้ไขปรับปรุงข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานครว่าด้วยการ...
ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร 1 ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรือง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 โดยทีเป็ นการสมควรแก้ไขปรับปรุงข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานครว่าด้วยการควบคุมอาคาร อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 9 และมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิมเติมโดย พระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร (ฉบับที 2) พ.ศ. 2535 อันเป็ นพระราชบัญญัตทิ มีี บทบัญญัตบิ างประการเกียวกับการจํากัดสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล ซึงมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 31 มาตรา 35 มาตรา 48 มาตรา 49 มาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย และมาตรา 97 แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 กรุงเทพมหานครโดยความเห็นชอบของสภากรุงเทพมหานคร จึงตรา ข้อบัญญัตขิ นไว้ ึ ดังต่อไปนี ข้อ 1 ข้อบัญญัตนิ เรี ี ยกว่า “ข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรือง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544” ข้อ 2 ข้อบัญญัตนิ ให้ ี ใช้บงั คับตังแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิก (1) ข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรือง ควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ. 2522 (2) ข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรือง อาคารจอดรถยนต์ พ.ศ. 2521 บรรดาเทศบัญญัติ ข้อบัญญัติ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศหรือคําสังอืนใดในส่วนทีได้บญ ั ญัตไิ ว้แล้วในข้อบัญญัตนิ ี หรือซึงขัดแย้งกับข้อบัญญัตนิ ให้ ี ใช้ขอ้ บัญญัตนิ แทน ี ข้อ 4 ให้ผวู้ ่าราชการกรุงเทพมหานครรักษาการตามข้อบัญญัตินี และมีอํานาจออกข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคําสังเพือปฏิบตั กิ ารให้เป็ นไปตามข้อบัญญัตนิ ี หมวด 1 วิ เคราะห์ศพั ท์ ข้อ 5 ในข้อบัญญัตนิ ี (1) “กรวด” หมายความว่า ก้อนหินทีเกิดตามธรรมชาติขนาดโตเกิน 3 มิลลิเมตร (2) “ก่อสร้าง” หมายความว่า สร้างอาคารขึนใหม่ทงหมด ั ไม่ว่าจะเป็ นการสร้างขึนแทนของเดิมหรือไม่ (3) “การระบายนํ าทิง” หมายความว่า การปล่อยนํ าทิงลงสู่หรือไหลไปสู่แหล่งรองรับนํ าทิงหรือแหล่ง ระบายนํา (4) “เขตทาง” หมายความว่า ความกว้างรวมของทางระหว่างแนวทีดินทังสองด้าน ซึงรวมความกว้างของ ผิวจราจร ทางเท้า ทีว่างสําหรับปลูกต้นไม้ คูนํา และอืนๆ เข้าด้วย (5) “คลังสินค้า” หมายความว่า อาคารหรือส่วนหนึงส่วนใดของอาคารทีใช้เป็ นทีสําหรับเก็บสินค้าหรือ สิงของ เพือประโยชน์ทางการค้าหรืออุตสาหกรรม หรือเพือประโยชน์ในการประกอบกิจการเก็บขนถ่ายสินค้า ทังนี ไม่รวมถึง อาคารเก็บของ (6) “ความกว้างของบันได” หมายความว่า ระยะทีวัดตามความยาวของลูกนอนบันได (7) “ความสูงของอาคาร” หมายความว่า ส่วนสูงของอาคารวัดตามแนวดิงจากระดับถนนขึนไปถึงส่วน ของอาคารทีสูงทีสุด (8) “คอนกรีต” หมายความว่า วัสดุทีประกอบขึนด้วยส่วนผสมของปูนซีเมนต์ มวลผสมละเอียด เช่น ทราย เป็ นต้น มวลผสมหยาบ เช่น หิน หรือกรวด เป็ นต้น และนํ า ทังนี ให้หมายความรวมถึง คอนกรีตกําลังปกติ คอนกรีต กฎหมายอาคาร 2 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร กําลังสูง และคอนกรีตกําลังสูงพิเศษ (9) “คอนกรีตเสริมเหล็ก” หมายความว่า คอนกรีตทีมีเหล็กเสริมฝั งภายในให้ทาํ หน้าทีรับแรงได้มากขึน (10) “คอนกรีตอัดแรง” หมายความว่า คอนกรีตทีมีเหล็กเสริมอัดแรงฝั งภายในทีทําให้เกิดหน่ วยแรงทีมี ปริมาณพอจะลบล้างหน่วยแรงอันเกิดจากนําหนักบรรทุก (11) “โครงสร้างหลัก” หมายความว่า ส่วนประกอบของอาคารทีเป็ นเสา คาน ตง พืน หรือโครงเหล็กทีมี ช่วงพาดตังแต่ 15 เมตร ขึนไป ซึงโดยสภาพถือได้ว่ามีความสําคัญต่อความมันคงของอาคารนัน (12) “จุดสุดเชิงลาด” หมายความว่า จุดเริมต้นหรือจุดสุดท้ายทีมีความเอียงลาดน้อยกว่า 2 ใน 100 (13) “ช่วงบันได” หมายความว่า ระยะตังบันไดซึงมีขนต่ั อเนืองกันโดยตลอด (14) “ชันใต้ดนิ ” หมายความว่า พืนของอาคารชันทีอยู่ตํากว่าระดับดินมากกว่า 1.20 เมตร (15) “เชิงลาดสะพาน” หมายความว่า สะพานหรือทางสาธารณะเปลียนระดับหรือทางเดินรถเฉพาะที เชือมกับสะพานหรือทางเปลียนระดับทีมีส่วนลาดชันตอนหนึงตอนใดตังแต่ 2 ใน 100 ขึนไป (16) “ซ่อมแซม” หมายความว่า ซ่อมหรือเปลียนส่วนต่างๆ ของอาคารให้คงสภาพเดิม (17) “ฐานราก” หมายความว่า ส่วนของอาคารทีใช้ถ่ายนําหนักอาคารลงสู่ดนิ (18) “ดัดแปลง” หมายความว่ า เปลียนแปลงต่อเติม เพิม ลด หรือ ขยาย ซึงลัก ษณะขอบเขต แบบ รูปทรง สัดส่วน นําหนัก เนือทีของโครงสร้างของอาคารหรือส่วนต่างๆ ของอาคาร ซึงได้ก่อสร้างไว้แล้วให้ผดิ ไปจากเดิม และ มิใช่การซ่อมแซมหรือการดัดแปลงทีกําหนดในกฎกระทรวง (19) “ดาดฟ้ า” หมายความว่า พืนทีส่วนบนสุดของอาคารทีไม่มหี ลังคาปกคลุม และบุคคลขึนไปใช้สอย (20) “ดิน” หมายความว่า วัสดุธรรมชาติทประกอบเป็ ี นเปลือกโลก เช่น หิน กรวด ทราย ดินเหนียว เป็ น ต้น (21) “ตลาด” หมายความว่า อาคารหรือส่วนหนึงส่วนใดของอาคารทีใช้เป็ นตลาดตามกฎหมายว่าด้วย การสาธารณสุข (22) “ตึกแถว” หมายความว่า อาคารทีก่อสร้างติดต่อกันเป็ นแถวตังแต่สองคูหาขึนไป มีผนังร่วมแบ่ง อาคารเป็ นคูหา และประกอบด้วยวัสดุทนไฟเป็ นส่วนใหญ่ (23) “ถนนสาธารณะ” หมายความว่า ทางสาธารณะทียวดยานผ่านได้ (24) “ทราย” หมายความว่า ก้อนหินเม็ดเล็กละเอียดทีมีขนาดโตไม่เกิน 3 มิลลิเมตร (25) “ทาง” หมายความว่า ทางตามกฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบกไม่ว่าในระดับพืนดิน ใต้ดนิ หรือ เหนือพืนดิน แต่ไม่รวมถึงทางรถไฟ (26) “ทางเข้าออกของรถ” หมายความว่า ทางทีใช้สําหรับเข้าออกหรือออกหรือเข้าจากทีจอดรถถึงปาก ทางเข้าออกของรถ หรือปากทางออกของรถหรือปากทางเข้าของรถ (27) “ทางนําสาธารณะ” หมายความว่า ทางนําทีประชาชนมีสทิ ธิใช้เป็ นทางคมนาคมได้ (28) “ทางร่วมทางแยก” หมายความว่า บริเวณทีทางทีอยู่ในระดับเดียวกันหรือต่างระดับกันตังแต่สอง สายทีมีเขตทางกว้างตังแต่ 6 เมตรขึนไป และยาวต่อเนืองไม่น้อยกว่า 200 เมตร มาบรรจบหรือตัดกันทีบริเวณระดับเดียวกัน (29) “ทางระบายนํ าสาธารณะ” หมายความว่า ช่องนํ าไหลตามทางสาธารณะและถนนสาธารณะ ซึง กําหนดไว้ให้ระบายออกจากอาคารได้ (30) “ทางส่วนบุคคล” หมายความว่า ทีดินของเอกชนซึงประชาชนใช้เป็ นทางคมนาคมได้ และมีลกั ษณะ อย่างใดอย่างหนึงหรือหลายอย่าง ดังต่อไปนี (1) เป็ นทางคมนาคมทีมีความยาวไม่เกิน 500 เมตร (2) เป็ นทางคมนาคมทีเจ้าของกรรมสิทธิหวงห้ามกรรมสิทธิไว้ไม่ว่าจะโดยการปิ ดป้ ายประกาศ หรือการเรียกหรือรับค่าตอบแทนสําหรับการใช้เป็ นทางคมนาคม หรือการทําสัญญากับผูใ้ ช้ แต่ไม่รวมถึงการทําสัญญายินยอม ให้กรุงเทพมหานครเข้าปรับปรุงใช้สอย กฎหมายอาคาร ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร 3 (31) “ทางสาธารณะ” หมายความว่า ทีดินทีประชาชนมีสทิ ธิใช้เป็ นทางคมนาคมได้ทไม่ ี ใช่ทางส่วนบุคคล (32) “ทีกลับรถ” หมายความว่า พืนทีหรือสิงทีสร้างขึนเพือใช้เป็ นทีกลับรถเพือสะดวกในการจอดหรือเข้า ออกของรถ (33) “ทีจอดรถ” หมายความว่า พืนทีหรือสิงทีสร้างขึนมาเพือใช้เป็ นทีจอดรถสําหรับอาคารบางชนิดหรือ บางประเภท ทังนีให้หมายความรวมถึงพืนทีหรือสิงทีสร้างขึนเพือใช้เป็ นทีจอดรถ เพือให้เช่าจอดหรือเก็บฝากรถ (34) “ทีพักมูลฝอย” หมายความว่า อุปกรณ์หรือสถานทีทีใช้สําหรับเก็บกักมูลฝอยเพือรอการย้ายไปที พักรวมมูลฝอย (35) “ทีพักรวมมูลฝอย” หมายความว่า อุปกรณ์หรือสถานทีทีใช้สาํ หรับเก็บกักมูลฝอยเพือรอการขนย้าย ไปกําจัด (36) “ทีว่าง” หมายความว่า พืนทีอันปราศจากหลังคาหรือสิงก่อสร้างปกคลุม ซึงพืนทีดังกล่าวอาจจะจัด ให้เป็ นบ่อนํา สระว่ายนํา บ่อพักนําเสีย ทีพักรวมมูลฝอยหรือทีจอดรถ ทีอยู่ภายนอกอาคารก็ได้ และให้ความหมายรวมถึงพืนที ของสิงก่อสร้างหรืออาคารทีสูงจากระดับพืนดินไม่เกิน 1.20 เมตร และไม่มหี ลังคาหรือสิงก่อสร้างปกคลุมเหนือระดับนัน (37) “ทีสาธารณะ” หมายความว่า ทีซึงเปิ ดหรือยินยอมให้ประชาชนเข้าไปหรือใช้เป็ นทางสัญจรได้ ทังนี ไม่ว่าจะมีการเรียกเก็บค่าตอบแทนหรือไม่ (38) “แท่นกลับรถ” หมายความว่า อุปกรณ์ หรือเครืองจักรกลทีใช้สําหรับ ติดตังภายในอาคารหรือ ภายนอกอาคารเพือช่วยในการหมุนหรือกลับรถ (39) “นายช่าง” หมายความว่า ข้าราชการกรุงเทพมหานครทีผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครแต่งตังให้เป็ น นายช่าง (40) “นายตรวจ” หมายความว่า ข้าราชการกรุงเทพมหานครทีผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครแต่งตังให้ เป็ นนายตรวจ (41) “นํ าทิง” หมายความว่ า นํ าจากอาคารทีผ่ า นระบบบํ า บัด นํ าเสีย แล้ ว จนมีคุ ณ ภาพตามเกณฑ์ มาตรฐานทีกําหนด หรือมีคุณภาพทีเหมาะสมจะระบายลงแหล่งรองรับนําทิงได้ (42) “นําเสีย” หมายความว่า ของเหลวทีผ่านการใช้แล้วทุกชนิดทังทีมีกากหรือไม่มกี าก (43) “นําหนักบรรทุกคงที” หมายความว่า นําหนักของส่วนต่างๆ ของอาคาร ทังนีให้รวมถึงนําหนักของ วัตถุต่างๆ ทีมิใช่โครงสร้างของอาคารแต่ก่อสร้างหรือติดตังอยู่บนส่วนต่างๆ ของอาคารตลอดไป (44) “แนวถนน” หมายความว่า เขตถนนและทางเดินทีกําหนดไว้ให้เป็ นทางสาธารณะ (45) “บ่อดักไขมัน” หมายความว่า ส่วนทีเปิ ดได้ของทางระบายนําทีกําหนดไว้เพือดักไขมัน (46) “บ้านแถว” หมายความว่า ห้องแถวหรือตึกแถวทีใช้เป็ นทีอยู่อาศัย ซึงมีทว่ี างด้านหน้าและด้านหลัง ระหว่างรัวหรือแนวเขตทีดินกับตัวอาคารแต่ละคูหา (47) “บ้านแฝด” หมายความว่า อาคารทีใช้เป็ นทีอยู่อาศัยก่อสร้างติดต่อกันสองบ้าน มีผนังร่วมแบ่ง อาคารเป็ นบ้าน มีทว่ี างระหว่างรัวหรือแนวเขตทีดินกับอาคารด้านหน้าด้านหลังและด้านข้างของแต่ละบ้าน และมีทางเข้าออก ของแต่ละบ้านแยกจากกันเป็ นสัดส่วน (48) “แบบแปลน” หมายความว่า แบบเพือประโยชน์ในการก่อสร้าง ดัดแปลง รือถอน เคลือนย้าย ใช้ หรือเปลียนการใช้อาคารโดยมีรูปแสดงรายละเอียดส่วนสําคัญขนาดเครืองหมายวัสดุและการใช้สอยต่างๆ ของอาคารอย่าง ชัดเจนพอทีจะใช้ในการดําเนินการได้ (49) “ปั นจัน” หมายความว่า เครืองยกทีประกอบด้วยส่วนต่างๆ เช่น เสา และรอก เป็ นต้น ไม่ว่าจะมี คานยืนหรือไม่ม ี สําหรับยกของหนัก (50) “ปากทางเข้า ออกของรถ” หมายความว่ า ส่ ว นของทางสํ า หรับ รถเข้า ออกทีเชือมกับ เขตทาง สาธารณะ (51) “ปากทางออกของรถ” หมายความว่า ส่วนของทางสําหรับรถออกทีเชือมกับเขตทางสาธารณะ กฎหมายอาคาร 4 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (52) “ปากทางเข้าของรถ” หมายความว่า ส่วนของทางสําหรับรถเข้าทีเชือมกับเขตทางสาธารณะ (53) “แปลน” หมายความว่า แบบแสดงลักษณะส่วนราบของอาคาร (54) “ผนัง” หมายความว่า ส่วนก่อสร้างในด้านตังซึงกันด้านนอกหรือระหว่างหน่ วยของอาคารให้เป็ น หลังหรือหน่วยแยกจากกัน (55) “ผนังกันไฟ” หมายความว่า ผนังทึบทีทําด้วยวัสดุทนไฟทีมีคุณสมบัตใิ นการป้ องกันไฟได้ดไี ม่น้อย กว่าผนังทีก่อด้วยอิฐธรรมดา ฉาบปูน 2 ด้าน หนาไม่น้อยกว่า 18 เซนติเมตร ถ้าเป็ นผนังคอนกรีตเสริมเหล็กต้องหนาไม่น้อย กว่า 12 เซนติเมตร และไม่มชี ่องทีให้ไฟหรือควันผ่านได้ (56) “ผู้ควบคุมงาน” หมายความว่า ผู้ซึงรับผิดชอบในการอํ านวยการหรือ ควบคุม ดูแลการก่ อ สร้า ง ดัดแปลง รือถอน หรือเคลือนย้ายอาคาร (57) “ผูด้ ําเนินการ” หมายความว่า เจ้าของหรือผูค้ รอบครองอาคารซึงกระทําการก่อสร้าง ดัดแปลง รือ ถอน หรือเคลือนย้ายอาคารด้วยตนเอง และหมายความรวมถึงผูซ้ งตกลงรั ึ บกระทําการดังกล่าวไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ ตาม และผูร้ บั จ้างช่วง (58) “ผูอ้ อกแบบ” หมายความว่า ผูร้ บั ผิดชอบในการคํานวณ เขียนแบบ และกําหนดรายการ เพือใช้ใน การก่อสร้าง ดัดแปลง รือถอน หรือเคลือนย้ายอาคาร (59) “แผนผังบริเวณ” หมายความว่า แผนทีแสดงลักษณะทีตัง และขอบเขตทีดินและอาคารทีก่อสร้าง ดัดแปลง รือถอน เคลือนย้าย ใช้หรือเปลียนการใช้ รวมทังแสดงลักษณะและขอบเขตของทีสาธารณะและอาคารในบริเวณทีดิน ทีติดต่อโดยสังเขปด้วย (60) “ฝา” หมายความว่า ส่วนก่อสร้างในด้านตังซึงกันแบ่งพืนทีภายในอาคารให้เป็ นห้องๆ (61) “พืน” หมายความว่า พืนของอาคารทีบุคคลเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ภายในขอบเขตของคานหรือตง ทีรับพืนหรือภายในพืนนัน หรือภายในขอบเขตของผนังอาคารรวมทังเฉลียงหรือระเบียงด้วย (62) “พืนทีอาคาร” หมายความว่า พืนทีของพืนของอาคารทุกชันทีบุคคลเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ภายใน ขอบเขตด้านนอกของคาน หรือภายในพืนนัน หรือภายในขอบเขตด้านนอกของผนังของอาคาร และหมายความรวมถึงเฉลียง หรือระเบียงด้วย (63) “ภัตตาคาร” หมายความว่ า อาคารหรือ ส่ ว นหนึ งส่ ว นใดของอาคารทีใช้เ ป็ น ทีขายอาหารหรือ เครืองดืม โดยมีพนทีื ไว้บริการภายในหรือภายนอกอาคาร (64) “มาตรา” หมายความว่า มาตราตามพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติ แก้ไขเพิมเติม (65) “มูลฝอย” หมายความว่า มูลฝอยตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข (66) “ระบบท่อยืน” หมายความว่า ท่อส่งนําและอุปกรณ์ทใช้ ี สาํ หรับการดับเพลิง (67) “ระบบบําบัดนํ าเสีย” หมายความว่า กระบวนการทําหรือปรับปรุงนํ าเสียให้มคี ุณภาพเป็ นนํ าทิง รวมทังการทําให้นําทิงพ้นไปจากอาคาร (68) “ระบบประปา” หมายความว่า ระบบการจ่ายนําเพือใช้และดืม (69) “รายการคํานวณ” หมายความว่า รายการแสดงวิธกี ารคํานวณกําลังของวัสดุ การรับนําหนัก และ กําลังต้านทานของส่วนต่างๆ ของอาคาร (70) “รายการคํานวณประกอบ” หมายความว่า รายการแสดงวิธกี ารคํานวณทางด้านวิศวกรรมทุกสาขา (71) “รายการประกอบแบบแปลน” หมายความว่า ข้อความชีแจงรายละเอียดเกียวกับคุณภาพ และชนิด ของวัสดุตลอดจนวิธกี ารปฏิบตั ิ หรือวิธีการสําหรับการก่อสร้าง ดัดแปลง รือถอน เคลือนย้าย ใช้หรือเปลียนการใช้อาคาร เพือให้เป็ นไปตามแบบแปลน (72) “รือถอน” หมายความว่า รือส่วนอันเป็ นโครงสร้างของอาคารออกไป เช่น เสา คาน ตง หรือส่วนอืน ของโครงสร้างตามทีกําหนดในกฎกระทรวง กฎหมายอาคาร ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร 5 (73) “รูปด้าน” หมายความว่า แบบแสดงลักษณะส่วนตังภายนอกของอาคาร (74) “รูปตัด” หมายความว่า แบบแสดงลักษณะส่วนตังภายในของอาคาร (75) “แรงกระแทก” หมายความว่า แรงกระทําอันเนืองมาจากวัตถุเคลือนมากระทบ (76) “แรงลม” หมายความว่า แรงลมทีกระทําต่อโครงสร้าง (77) “โรงงาน” หมายความว่า อาคารหรือส่วนหนึงส่วนใดของอาคารทีใช้เป็ นโรงงานตามกฎหมายว่า ด้วยโรงงาน (78) “โรงมหรสพ” หมายความว่า อาคารหรือส่วนใดของอาคารทีใช้เป็ นสถานทีสําหรับฉายภาพยนตร์ แสดงละคร แสดงดนตรี หรือการแสดงรืนเริงอืนใด และมีวตั ถุประสงค์เพือเปิ ดให้สาธารณชนเข้าชมการแสดงนันเป็ นปกติธุระ โดยจะมีค่าตอบแทนหรือไม่กต็ าม (79) “โรงแรม” หมายความว่า อาคารหรือส่วนหนึงส่วนใดของอาคารทีใช้เป็ นโรงแรมตามกฎหมายว่า ด้วยโรงแรม (80) “ลิฟต์” หมายความว่า อุปกรณ์หรือเครืองจักรกลทีใช้สําหรับบรรทุกบุคคลหรือสิงของขึนลงระหว่าง ชันต่างๆ ของอาคาร (81) “ลิฟต์ดบั เพลิง” หมายความว่า ลิฟต์ทพนั ี กงานดับเพลิงสามารถควบคุมการใช้ขณะเกิดเพลิงไหม้ (82) “ลิฟต์ยกรถ” หมายความว่า ลิฟต์ทใช้ ี สาํ หรับยกรถเพือเคลือนย้ายไปสู่ชนต่ ั างๆ ของอาคาร (83) “ลูกตัง” หมายความว่า ระยะตังของขันบันไดแต่ละขัน (84) “ลูกนอน” หมายความว่า ระยะราบของขันบันไดแต่ละขัน (85) “วัสดุถาวร” หมายความว่า วัสดุซงตามปกติ ึ ไม่แปลงสภาพได้งา่ ย โดยนํา ไฟ หรือดินฟ้ าอากาศ (86) “วัสดุทนไฟ” หมายความว่า วัสดุก่อสร้างทีไม่เป็ นเชือเพลิง (87) “สถานบริการ” หมายความว่า อาคารหรือส่วนหนึงส่วนใดของอาคาร ทีใช้เป็ นสถานบริการตาม กฎหมายว่าด้วยสถานบริการ (88) “สถาบัน ทีเชือถือ ได้” หมายความว่ า ส่ ว นราชการ หรือ นิ ติบุ ค คล ทีมีว ัต ถุ ป ระสงค์ ใ นการให้ คําปรึกษาแนะนําด้านวิศวกรรม ซึงมีวศิ วกรประเภทวุฒวิ ศิ วกรตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพวิศวกรรมเป็ นผูใ้ ห้คาํ ปรึกษาแนะนํา และลงลายมือชือรับรองผลการตรวจสอบงานวิศวกรรมควบคุม (89) “ส่วนต่างๆ ของอาคาร” หมายความว่า ส่วนของอาคารทีจะต้องแสดงรายการคํานวณการรับนํ า หนักและกําลังต้านทาน เช่น แผ่นพืน คาน เสา และรากฐาน เป็ นต้น (90) “ส่วนลาด” หมายความว่า ส่วนระยะตังเทียบกับส่วนระยะยาวของฐานตามแนวราบ (91) “สํานักงาน” หมายความว่า อาคารหรือส่วนหนึงส่วนใดของอาคารทีใช้เป็ นทีทําการ (92) “เสาเข็ม” หมายความว่า เสาทีตอกลงดินหรือหล่ออยู่ในดินเพือรับนําหนักบรรทุกของอาคาร ทังนี ให้หมายความรวมถึงกําแพงคอนกรีตซึงมีรปู ร่างต่างๆ ทีหล่ออยู่ในดินเพือใช้รบั นําหนักบรรทุกของอาคารด้วย (93) “หน่วยแรง” หมายความว่า แรงหารด้วยพืนทีหน้าตัดทีรับแรงนัน (94) “หลังคา” หมายความว่า สิงปกคลุมส่วนบนของอาคารสําหรับป้ องกันแดดและฝน และให้หมาย รวมถึงโครงสร้างหรือสิงใดซึงประกอบขึน เพือยึดเหนียวสิงปกคลุมนีให้มนคงแข็ ั งแรง (95) “ห้องแถว” หมายความว่า อาคารทีก่อสร้างต่อเนืองกันเป็ นแถวตังแต่สองคูหาขึนไป มีผนังร่วมแบ่ง อาคารเป็ นคูหา และประกอบด้วยวัสดุไม่ทนไฟเป็ นส่วนใหญ่ (96) “ห้องโถง” หมายความว่า อาคารหรือส่วนของอาคารซึงจัดพืนทีไว้เป็ นสัดส่วนโดยเฉพาะทีสามารถ ใช้เป็ นทีประชุม ชุมนุม จัดงานหรือแสดงกิจกรรมต่างๆ ได้ ทังนีไม่รวมพืนทีทีเป็ นทางเดินร่วมในอาคาร เช่น โถงหน้าลิฟต์ โถง พักคอยบริเวณหน้าโต๊ะลงทะเบียน โถงรับแขก เป็ นต้น (97) “เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ” หมายความว่า เหล็กทีผลิตออกมามีหน้าตัดเป็ นรูปลักษณะต่างๆ ใช้ใน งานโครงสร้าง กฎหมายอาคาร 6 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (98) “เหล็กเสริม” หมายความว่า เหล็กทีใช้ฝังในเนือคอนกรีตเพือเสริมกําลังขึน (99) “แหล่งรองรับนํ าทิง” หมายความว่า ท่อระบายนํ าสาธารณะ คู คลอง แม่นํา ทะเล และแหล่งนํ า สาธารณะ (100) “อาคารเก็บของ” หมายความว่า อาคารหรือส่วนหนึงส่วนใดของอาคารทีใช้เป็ นทีสําหรับเก็บสินค้า หรือสิงของ เพือประโยชน์ของเจ้าของอาคารซึงมีปริมาตรทีใช้เก็บของไม่เกิน 2,000 ลูกบาศก์เมตร ทังนี การวัดความสูงเพือ คํานวณปริมาตร ให้วดั จากพืนชันนันถึงยอดผนังสูงสุด (101) “อาคารขนาดใหญ่” หมายความว่า อาคารทีก่อสร้างขึนเพือใช้พนที ื อาคารหรือส่วนใดของอาคาร เป็ นทีอยู่อาศัยหรือประกอบกิจการประเภทเดียวหรือหลายประเภท โดยมีพนที ื อาคารรวมกันทุกชันในหลังเดียวกันเกิน 2,000 ตารางเมตร หรืออาคารทีมีความสูงตังแต่ 15 เมตรขึนไป และมีพนที ื อาคารรวมกันทุกชันในหลังเดียวกันเกิน 1,000 ตารางเมตร การวัดความสูงของอาคารให้วดั จากระดับพืนดินทีก่อสร้างถึงพืนดาดฟ้ า สําหรับอาคารทรงจัวหรือปั นหยาให้วดั จากระดับ พืนดินทีก่อสร้างถึงยอดผนังของชันสูงสุด (102) “อาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ” หมายความว่า อาคารทีก่อสร้างขึนเพือใช้พนที ื อาคารหรือส่วนใดของ อาคารเป็ นทีอยู่อาศัย หรือประกอบกิจการประเภทเดียวหรือหลายประเภทโดยมีพนที ื อาคารรวมกันทุกชันในหลังเดียวกันตังแต่ 10,000 ตารางเมตรขึนไป (103) “อาคารจอดรถ” หมายความว่า อาคารหรือส่วนของอาคารทีใช้สําหรับจอดรถตังแต่ 10 คันขึนไป หรือมีพนที ื จอดรถ ทางวิง และทีกลับรถในอาคาร ตังแต่ 300 ตารางเมตรขึนไป (104) “อาคารจอดรถซึงติดตังระบบเคลือนย้ายรถด้วยเครืองจักรกล” หมายความว่าสิงก่อสร้างหรือโครง หรือเครืองจักรกลทีสร้างขึน หรือติดตังขึนเพือใช้เป็ นทีจอดรถหรือเก็บรถโดยใช้ระบบเครืองกลในการนํารถไปจอดรถหรือเก็บ ทังนี ให้ร วมถึงแท่ น หรือ พืนหรือ โครงสร้า งทีทํา ขึนเพือใช้เ ป็ น ทีจอดรถคัน เดียวหรือ หลายคัน และไม่ ว่ า แท่น หรือ พืนหรือ โครงสร้างดังกล่าวจะติดตังอยู่กบั ทีหรือสามารถเคลือนย้ายไปอยู่ในตําแหน่ งต่างๆ ได้หรือไม่กต็ าม และให้รวมถึงแท่นกลับรถ ด้วย โดยจะติดตังอยู่ภายในอาคารจอดรถ หรือต่อเชือมกับอาคารจอดรถ หรือตังเป็ นอิสระอยู่นอกอาคารก็ได้ (105) “อาคารชุด” หมายความว่า อาคารชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด (106) “อาคารพาณิชย์” หมายความว่า อาคารทีใช้เพือประโยชน์ในการพาณิชยกรรม หรือบริการธุรกิจ หรืออุตสาหกรรม ทีใช้เครืองจักรทีมีกําลังการผลิตเทียบไม่เกิน 5 แรงม้า (107) “อาคารพิเศษ” หมายความว่า อาคารทีต้องการมาตรฐานความมันคงแข็งแรงและความปลอดภัย เป็ นพิเศษ เช่น อาคารดังต่อไปนี ก. โรงมหรสพ อัฒจันทร์ หอประชุม หอสมุด หอศิลป์ พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ หรือศาสนสถาน ข. อู่เรือ คานเรือ หรือท่าจอดเรือ สําหรับเรือขนาดใหญ่เกิน 100 ตันกรอส ค. อาคารหรือสิงทีสร้างขึนสูงเกิน 15 เมตร หรือสะพานหรืออาคารหรือโครงหลังคาช่วงหนึงเกิน 10 เมตร หรือมีลกั ษณะโครงสร้างทีอาจก่อให้เกิดภยันตรายต่อสาธารณชนได้ ง. อาคารทีเก็บวัสดุไวไฟ วัสดุระเบิด หรือวัสดุกระจายพิษ หรือรังสีตามกฎหมายว่าด้วยการนัน (108) “อาคารสรรพสินค้า” หมายความว่า อาคารหรือส่วนหนึงส่วนใดของอาคารทีมีพนที ื สําหรับแสดง หรือขายสินค้าต่างๆ และมีพนที ื ตังแต่ 300 ตารางเมตรขึนไป โดยมีการแบ่งส่วนของอาคารตามประเภทของสินค้าหรือตาม เจ้าของพืนที ไม่ว่าการแบ่งส่วนนันจะทําในลักษณะของการกันเป็ นห้องหรือไม่ก็ตาม โดยให้หมายความรวมถึงอาคารแสดง สินค้าด้วย (109) “อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารทีใช้เพือประโยชน์ในการชุมนุ มได้โดยทัวไปเพือกิจกรรม ทางราชการ การเมือง การศึกษา การสังคม การศาสนา การนันทนาการ หรือการพาณิชยกรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สนามกีฬากลางแจ้ง สถานกีฬาในร่ม ตลาด ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถาน บริการ ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ท่าจอดเรือ โป๊ ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็ นต้น กฎหมายอาคาร ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร 7 (110) “อาคารสูง” หมายความว่า อาคารทีบุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ทมีี ความสูงตังแต่ 23 เมตร ขึนไป การวัดความสูงของอาคารให้วดั จากระดับพืนดินทีก่อสร้างถึงพืนดาดฟ้ า สําหรับอาคารทรงจัวหรือปั นหยา ให้วดั จาก ระดับพืนดินทีก่อสร้างถึงยอดผนังของชันสูงสุด (111) “อาคารแสดงสินค้า” หมายความว่า อาคารหรือส่วนหนึงส่วนใดของอาคารทีจัดแสดงหรือขายหรือ ส่งเสริมการขายสินค้า และให้หมายรวมถึงอาคารทีสร้างชัวคราวเพือจัดกิจกรรมดังกล่าวด้วย (112) “อาคารอยู่อาศัย” หมายความว่า อาคารซึงโดยปกติบุคคลใช้อยู่อาศัยได้ทงกลางวั ั นและกลางคืน ไม่ ว่าจะเป็ นการอยู่อาศัยอย่างถาวรหรือชัวคราว (113) “อาคารอยู่อาศัยรวม” หมายความว่า อาคารหรือส่วนใดส่วนหนึงของอาคารทีใช้เป็ นทีอยู่อาศัย สําหรับหลายครอบครัว โดยแบ่งออกเป็ นหน่ วยแยกจากกันสําหรับแต่ละครอบครัว มีหอ้ งนํา ห้องส้วม ทางเดิน ทางเข้าออก และทางขึนลงหรือลิฟต์แยกจากกันหรือร่วมกัน ทังนีให้หมายความรวมถึงหอพักด้วย (114) “อิฐธรรมดา” หมายความว่า ดินทีทําขึนเป็ นแท่งทึบและได้เผาให้สุก หมวด 2 หลักเกณฑ์ วิ ธีการและเงือนไขเกียวกับการอนุญาต การดําเนิ นการแจ้ง การออกใบรับรองและใบแทน ข้อ 6 ผูใ้ ดจะก่อสร้าง ดัดแปลง รือถอน เคลือนย้ายอาคาร ใช้หรือเปลียนการใช้อาคาร ดัดแปลงหรือใช้ทจอดรถี ทีกลับรถ และทางเข้าออกของรถเพือการอืนๆ ขอต่ออายุใบอนุ ญาต ขอรับใบแทนใบอนุ ญาต ขอรับใบแทนใบรับรอง หรือการ โอนใบอนุญาต ให้ยนคํื าขอหรือโดยการแจ้งต่อผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร ตามความในหมวดนี ผูย้ นคํ ื าขอหรือผูแ้ จ้ง ต้องเป็ นเจ้าของอาคารหรือเป็ นตัวแทนซึงได้รบั มอบอํานาจ โดยชอบด้วยกฎหมายจากเจ้าของ อาคาร ข้อ 7 เจ้าของอาคารผูใ้ ดประสงค์จะขอรับใบอนุญาต (1) ก่อสร้าง ดัดแปลง หรือรือถอน ให้ยนคํ ื าขออนุ ญาตตามแบบทีกําหนดในกฎกระทรวง พร้อมด้วย เอกสารตามทีระบุไว้ในแบบดังกล่าว (2) เคลือนย้ายอาคาร ให้ยนคํื าขออนุ ญาตตามแบบทีกําหนดในกฎกระทรวง พร้อมด้วยเอกสารตามที ระบุในแบบดังกล่าว ผูข้ อรับใบอนุ ญาตต้องแนบเอกสารเกียวกับแผนผังบริเวณ แบบแปลน รายการประกอบแบบแปลน ตามทีระบุไว้ใน แบบทีกําหนดในกฎกระทรวง จํานวน 5 ชุดพร้อมกับคําขอ สําหรับการขออนุ ญาตก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเคลือนย้ายอาคารที เป็ นอาคารประเภทควบคุมการใช้ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครจะประกาศกําหนดให้ผู้ ขอรับใบอนุญาตต้องแนบเอกสารดังกล่าวมากกว่า 5 ชุดก็ได้แต่ไม่เกิน 7 ชุด การขออนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเคลือนย้าย อาคารสาธารณะ อาคารพิเศษ หรืออาคารทีก่อสร้างด้วยวัตถุถาวร และวัตถุทนไฟเป็ นส่วนใหญ่ ต้องแนบรายการคํานวณและรายการคํานวณประกอบ จํานวน 1 ชุดพร้อมกับคําขอตาม (1) หรือ (2) ด้วย ข้อ 8 เจ้า ของอาคารผู้ใ ดประสงค์จ ะก่ อ สร้า ง ดัด แปลง รือถอน หรือ เคลือนย้า ยอาคาร โดยไม่ ยืนคํา ขอรับ ใบอนุญาต ให้ดาํ เนินการแจ้งต่อผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร ดังต่อไปนี (1) แจ้งให้ผวู้ ่าราชการกรุงเทพมหานครทราบ ตามแบบทีผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครกําหนด พร้อมทัง แจ้งข้อมูลและยืนเอกสารดังต่อไปนีด้วย ก. ชือของผู้รบั ผิดชอบงานออกแบบอาคาร ซึงจะต้องเป็ นผู้ได้รบั ใบอนุ ญาตให้เป็ นผู้ประกอบ วิชาชีพสถาปั ตยกรรมควบคุมประเภทวุฒสิ ถาปนิก ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพสถาปั ตยกรรม ข. ชือของผูร้ บั ผิดชอบงานออกแบบและคํานวณอาคาร ซึงจะต้องเป็ นผู้ได้รบั ใบอนุ ญาตให้เป็ นผู้ ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมประเภทวุฒวิ ศิ วกร ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพวิศวกรรม กฎหมายอาคาร 8 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ค. ชือของผู้ควบคุมงาน ซึงจะต้องเป็ นผู้ได้รบั ใบอนุ ญาตให้เป็ นผู้ประกอบวิชาชีพสถาปั ตยกรรม ควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพสถาปั ตยกรรม และเป็ นผูไ้ ด้รบั ใบอนุ ญาตให้เป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตาม กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพวิศวกรรม ง. สําเนาใบอนุญาตของบุคคลตาม ก. ข. และ ค. จ. หนังสือรับรองบุคคลตาม ก. ข. และ ค. ว่าตนเป็ นผูอ้ อกแบบอาคาร เป็ นผูอ้ อกแบบและคํานวณ อาคาร หรือจะเป็ นผูค้ วบคุมงาน แล้วแต่กรณี ตามแบบทีผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครกําหนด พร้อมทังรับรองว่าการก่อสร้าง ดัดแปลง รือถอน หรือเคลือนย้ายอาคารนันถูกต้องตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร กฎกระทรวง และ ข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานครทีออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ฉ. แผนผังบริเวณ แบบแปลน รายการประกอบแบบแปลน รายการคํานวณและรายการคํานวณ ประกอบของอาคารทีจะก่ อ สร้า ง ดัด แปลง รือถอน หรือ เคลือนย้า ย ซึงมีคํา รับ รองของบุค คลตาม ก. และ ข. ว่ า ตนเป็ น ผูอ้ อกแบบอาคารและเป็ นผูอ้ อกแบบและคํานวณอาคารนัน ช. วันเริมต้นและวันสินสุดการดําเนินการดังกล่าว (2) ถ้าผู้แจ้งได้ดําเนินการตามทีระบุไว้ใน (1) ครบถ้วน พร้อมชําระค่าธรรมเนียมการตรวจแบบแปลน ก่อสร้าง หรือดัดแปลงอาคารแล้ว ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครออกใบรับแจ้งตามแบบทีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร กําหนด เพือเป็ นหลักฐานการแจ้งให้แก่ผู้นันภายในวันทีได้รบั แจ้ง และให้ผู้แจ้งเริมต้นดําเนินการก่อสร้าง ดัดแปลง รือถอน หรือเคลือนย้ายอาคารตามทีได้แจ้งไว้ได้ตงแต่ ั วนั ทีได้รบั ใบแจ้ง ข้อ 9 การขอทําการเจาะกดหรือตอกเสาเข็มเพือทําการทดสอบ ทีจะใช้ในการก่อสร้างอาคาร ให้ดําเนินการได้ เมือได้แจ้งให้ผวู้ ่าราชการกรุงเทพมหานครทราบ โดยมีเอกสารประกอบ ดังนี (1) ผังบริเวณแสดงสถานทีทีจะทดสอบเสาเข็ม จํานวน 2 ชุด (2) ผังแสดงตําแหน่งทีจะทดสอบเสาเข็ม จํานวน 2 ชุด (3) หนังสือรับรองของวิศวกรผูค้ วบคุมงานการทดสอบ ข้อ 10 แผนผังบริเวณ แบบแปลน รายการประกอบแบบแปลน รายการคํานวณและรายการคํานวณประกอบต้อง เป็ นภาษาไทย ยกเว้นเฉพาะตัวเลขและสัญลักษณ์ ต้องเป็ นสิงพิมพ์สําเนาภาพถ่ายหรือเขียนด้วยหมึก หรือวิธกี ารอืนใดตาม ประกาศกรุงเทพมหานครและต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์และเงือนไขดังต่อไปนี (1) มาตราส่วน ขนาด ระยะ นําหนัก และหน่วยคํานวณต่างๆ ให้ใช้มาตราเมตริก (2) แผนผังบริเวณให้ใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1 ต่อ 500 แสดงลักษณะทีตังและขอบเขตของทีดินและ อาคารทีขออนุ ญาตก่อสร้าง ดัดแปลง รือถอน เคลือนย้าย เปลียนการใช้ ดัดแปลงหรือใช้ทจอดรถ ี ทีกลับรถ และทางเข้าออก ของรถเพือการอืน และพืนทีหรือสิงทีสร้างขึนเพือใช้เป็ นทีจอดรถ ทีกลับรถ และทางเข้าออกของรถแทนของเดิม พร้อม รายละเอียดดังนี ก. แสดงขอบนอกของอาคารทีมีอยู่แล้ว (ถ้ามี) ข. ระยะห่างของขอบนอกของอาคารทีขออนุญาตถึงขอบเขตทีดินทุกด้าน ค. ระยะห่างระหว่างอาคารต่างๆ ทีมีอยู่และอาคารทีขออนุญาตในขอบเขตของทีดิน ง. ลักษณะและขอบเขตของทีสาธารณะและอาคารในบริเวณทีดินทีติดต่อโดยสังเขปพร้อมด้วย เครืองหมายทิศ จ. ในกรณีทไม่ี มที างนําสาธารณะสําหรับการขออนุ ญาตก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเคลือนย้ายอาคาร ให้แสดงทางระบายนําออกจากอาคารไปสู่ทางระบายนําสาธารณะ หรือวิธกี ารระบายนําด้วยวิธอี นื พร้อมทังแสดงเครืองหมายชี ทิศทางนําไหลและส่วนลาด ฉ. แสดงระดับของพืนชันล่างของอาคาร และความสัมพันธ์กบั ระดับทางหรือถนนสาธารณะทีใกล้ ทีสุดและระดับพืนดิน กฎหมายอาคาร ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร 9 ช. แผนผังบริเวณสําหรับการเคลือนย้ายอาคาร ให้แสดงแผนผังบริเวณของอาคารทีมีอยู่เดิม และ ให้แสดงแผนผังบริเวณทีจะทําการเคลือนย้ายอาคารไปอยู่ในทีใหม่ให้ชดั เจน แผนผังบริเวณอาคารตามมาตรา 4 เว้นแต่ตกึ บ้าน เรือน โรง ร้าน แพ คลังสินค้า สํานักงานและสิงที สร้างขึนอย่างอืน ซึงบุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ ให้แสดงรายละเอียดตาม ก. ข. ค. ง. จ. ฉ. หรือ ช. เท่าทีจะต้องมีตาม ลักษณะของอาคารนันๆ (3) แบบแปลน ให้ใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1 ต่อ 100 โดยต้องแสดงรูปต่างๆ คือ แปลนพืนชันต่างๆ รูป ด้าน (ไม่น้อยกว่าสองด้าน) รูปตัดทางขวาง รูปตัดทางยาว ผังคานรับพืนชันต่างๆ และผังฐานรากของอาคารทีขออนุ ญ าต ก่อสร้าง ดัดแปลง รือถอน เคลือนย้าย เปลียนการใช้ หรือดัดแปลง หรือใช้ทจอดรถี ทีกลับรถ และทางเข้าออกของรถเพือการ อืน พร้อมด้วยรายละเอียดดังนี ก. แบบแปลนต้องมีรูปรายละเอียดส่วนสําคัญ ขนาด เครืองหมาย วัสดุ และการใช้สอยต่างๆ ของ อาคารอย่างชัดเจนเพียงพอทีจะพิจารณาตามกฎกระทรวง ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร หรือประกาศของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย ซึงออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ข. แบบแปลนสําหรับการก่อสร้างอาคาร ให้แสดงส่วนต่างๆ ของอาคารทีจะก่อสร้างให้ชดั เจน ค. แบบแปลนสําหรับการดัดแปลงอาคาร ให้แสดงส่วนทีมีอยู่เดิมและส่วนทีดัดแปลงให้ชดั เจน ง. แบบแปลนสําหรับการรือถอนอาคาร ให้แสดงขันตอน วิธกี าร ตลอดจนความปลอดภัยในการรือ ถอนอาคาร จ. แบบแปลนสํ า หรับ การเคลือนย้า ยอาคาร ให้แ สดงขันตอน วิธีก าร ความมันคง แข็ง แรง ตลอดจนความปลอดภัยในการเคลือนย้ายอาคาร สําหรับอาคารทีมีรูปตัดทางขวาง หรือรูปตัดทางยาวของอาคารมีความกว้าง ความยาว หรือ ความสูงเกิน 70 เมตร แบบแปลนจะใช้มาตราส่วนเล็กกว่า 1 ต่อ 100 ก็ได้ แต่ตอ้ งไม่เล็กกว่า 1 ต่อ 250 ฉ. แบบแปลนสําหรับการเปลียนการใช้อาคาร ให้แสดงส่วนทีใช้อยู่เดิมและส่วนทีจะเปลียนการใช้ ใหม่ให้ชดั เจน ช. แบบแปลนสําหรับการดัดแปลงหรือใช้ทจอดรถ ี ทีกลับรถ และทางเข้าออกของรถเพือการอืน ให้แสดงส่วนทีมีอยู่เดิมและส่วนทีจะทําการก่อสร้างใหม่แทนของเดิมให้ชดั เจน สําหรับการก่อสร้างสิงทีสร้างขึนเป็ นอาคารเพือ ใช้เป็ นทีจอดรถ ทีกลับรถ และทางเข้าออกของรถแทนของเดิม ต้องแสดงส่วนต่างๆ ของอาคารทีจะก่อสร้างให้ชดั เจน แบบแปลนสําหรับอาคารตามมาตรา 4 เว้นแต่ตกึ บ้าน เรือน โรง ร้าน แพ คลังสินค้า สํานักงาน และสิงทีสร้างขึนอย่างอืนซึงบุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ ให้แสดงรายละเอียดตาม ก. ข. ค. ง. จ. ฉ. และ ช. เท่าทีจะต้อง มีตามลักษณะของอาคารนันๆ (4) รายการประกอบแบบแปลน ให้แสดงรายละเอียดเกียวกับคุณภาพและชนิดของวัสดุ ตลอดจนวิธี ปฏิบตั หิ รือวิธกี ารสําหรับการก่อสร้าง ดัดแปลง รือถอน เคลือนย้าย เปลียนการใช้อาคาร หรือดัดแปลงหรือใช้ทจอดรถ ี ทีกลับ รถ และทางเข้าออกของรถเพือการอืน (5) รายการคํานวณ ให้แสดงวิธกี ารตามหลักวิศวกรรมศาสตร์ โดยคํานวณกําลังของวัสดุการรับนําหนัก และกําลังต้านทานของส่วนต่างๆ ของอาคาร (6) รายการคํานวณประกอบ ให้แสดงวิธกี ารตามหลักวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่างๆ โดยคํานวณเกียวกับ อุปกรณ์และระบบนันๆ ของอาคาร ข้อ 11 ผู้รบั ผิดชอบงานออกแบบหรือผู้รบั ผิดชอบงานออกแบบและคํานวณต้องลงลายมือชือพร้อมกับเขียนชือ ด้วยตัวบรรจงในแผนผังบริเวณ แบบแปลน รายการประกอบแบบแปลน รายการคํานวณและรายการคํานวณประกอบทุกแผ่น และให้ระบุสํานักงานหรือทีอยู่ พร้อมกับคุณวุฒขิ องผูร้ บั ผิดชอบดังกล่าวไว้ในแผนผังบริเวณ แบบแปลน รายการประกอบแบบ แปลน รายการคํานวณและรายการคํานวณประกอบแต่ละชุดด้วย หรืออาจจะใช้สงพิ ิ มพ์ สําเนาภาพถ่ายทีผู้รบั ผิดชอบงาน กฎหมายอาคาร 10 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ออกแบบ หรือผูร้ บั ผิดชอบงานออกแบบและคํานวณทีมีลายมือชือพร้อมกับเขียนชือด้วยตัวบรรจงและระบุรายละเอียดดังกล่าว แทนก็ได้ ในกรณีทีผู้รบั ผิดชอบงานออกแบบ หรือผู้รบั ผิดชอบงานออกแบบและคํานวณ เป็ นผู้ได้รบั ใบอนุ ญาตให้เป็ นผู้ ประกอบวิชาชีพสถาปั ตยกรรมควบคุมหรือวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพสถาปั ตยกรรมหรือกฎหมายว่าด้วย วิชาชีพวิศวกรรม ให้ระบุเลขทะเบียนใบอนุญาตไว้ดว้ ย ข้อ 12 เมือผู้ว่ า ราชการกรุง เทพมหานครได้รบั คําขอตามข้อ 7 ให้ต รวจพิจารณาแผนผัง บริเ วณ แบบแปลน รายการประกอบแบบแปลน รายการคํานวณและรายการคํานวณประกอบ (ถ้ามี) เมือปรากฏว่าถูกต้องตามบทบัญญัติแห่ง กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร กฎกระทรวง และข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ซึงออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการ ควบคุมอาคารแล้ว ให้ผวู้ ่าราชการกรุงเทพมหานครออกใบอนุญาตตามแบบทีกําหนดในกฎกระทรวง ในกรณีทมีี การขออนุ ญาตเคลือนย้ายอาคารไปยังท้องทีซึงอยู่ในเขตอํานาจของเจ้าพนักงานท้องถินอืน เมือผู้ว่า ราชการกรุ ง เทพมหานครได้ต รวจพิจ ารณาตามวรรคหนึ งและเห็น ว่ า ถู ก ต้ อ ง ให้อ อกใบอนุ ญ าตตามแบบทีกํ า หนดใน กฎกระทรวงและส่งใบอนุ ญาตและสําเนาคู่ฉบับเอกสารทีได้ผ่านการตรวจพิจารณาและประทับตราไว้เป็ นจํานวน 4 ชุด พร้อม ด้วยรายการคํานวณและรายการคํานวณประกอบ 1 ชุด (ถ้ามี) ไปยังเจ้าพนักงานท้องถินแห่งท้องทีทีจะเคลือนย้ายอาคารไปตังใหม่ กรณีทผูี ว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครได้รบั เอกสารการอนุญาตเคลือนย้ายอาคารและสําเนาคู่ฉบับ เอกสารทีเกียวข้อง จากเจ้า พนั ก งานท้อ งถิน ให้ผู้ว่ า ราชการกรุ งเทพมหานครตรวจพิจารณาตามวรรคหนึ ง เมือเห็น ว่ า ถู ก ต้อ งแล้ว ให้อ อก ใบอนุญาตตามแบบทีกําหนดในกฎกระทรวง ข้อ 13 เมือผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาตให้ก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเคลือนย้ายอาคาร ทีเป็ นอาคารประเภทควบคุมการใช้ ตาม กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร หรือผูแ้ จ้งตามข้อ 8 ได้ทาํ การก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเคลือนย้ายอาคารดังกล่าวเสร็จแล้ว ให้ เจ้ า ของหรื อ ผู้ ค รอบครองอาคารยืนหนั ง สื อ ขอใบรับ รองถึ ง ผู้ ว่ า ราชการกรุ ง เทพมหานคร ตามแบบทีผู้ ว่ า ราชการ กรุงเทพมหานครกําหนด พร้อมเอกสารตามทีระบุไว้ในแบบดังกล่าว เมือผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครได้รบั หนังสือตามวรรคหนึง และตรวจสอบแล้วเห็นว่าการก่อสร้าง ดัดแปลง หรือ เคลือนย้ายอาคารนัน ถูกต้องตามทีได้รบั อนุ ญาตหรือทีได้แจ้งไว้ ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครออกใบรับรองตามแบบที กําหนดในกฎกระทรวง ข้อ 14 ในกรณีทเจ้ ี าของหรือผู้ครอบครองอาคาร ซึงไม่เป็ นอาคารประเภทควบคุมการใช้ ประสงค์จะใช้อาคาร ดังกล่าวเพือกิจการประเภทควบคุมการใช้ หรือเจ้าของหรือผูค้ รอบครองอาคาร ซึงเป็ นอาคารประเภทควบคุมการใช้ ประสงค์ จะเปลียนการใช้อาคารเป็ นอาคารสําหรับอีกกิจการหนึง ให้เจ้าของอาคารยืนคําขออนุ ญาตเปลียนการใช้อาคารตามแบบที กําหนดในกฎกระทรวงต่อผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร พร้อมด้วยเอกสารตามทีระบุไว้ในแบบดังกล่าวหรือแจ้งเป็ นหนังสือให้ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครทราบ ตามมาตรา 39 ทวิ ตามแบบทีผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครกําหนด พร้อมด้วยเอกสาร ตามทีระบุไว้ในแบบดังกล่าว เมือผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครได้รบั คําขอหรือหนังสือแจ้งตามความในวรรคหนึงและตรวจสอบแล้วเห็นว่าถูกต้อง ให้ออกใบอนุ ญาตตามแบบทีกําหนดในกฎกระทรวง หรือจะออกใบรับแจ้งตามแบบทีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครกําหนด แล้วแต่กรณี ข้อ 15 การขอใบรับรองเพือใช้อาคารประเภทควบคุมการใช้เป็ นส่วนๆ ให้ปฏิบตั ดิ งั ต่อไปนี เจ้าของอาคารทีประสงค์จะขอใช้อาคารเป็ นส่วน ก่อนอาคารนันจะเสร็จสมบูรณ์ จะต้องแจ้งความประสงค์เป็ นหนังสือ ต่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยเสนอแผนการใช้อาคารเป็ นส่วนๆ แนบมาพร้อมกับคําขออนุ ญาตหรือหนังสือแจ้งตาม แบบทีผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครกําหนด โดยจะต้องแสดงรายละเอียดส่วนทีขอใช้ตามแผนทีเสนอให้ปรากฏชัดเจนในแบบ แปลนและรายการประกอบแบบแปลนทียืนขออนุ ญาตซึงถือเป็ นรายละเอียดทีต้องแสดงเพิมเติมนอกเหนือจากรายละเอียดที จําเป็ นต้องแสดงตามวัตถุประสงค์ทยืี นขอตามแบบทีกําหนดในกฎกระทรวงหรือตามแบบทีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร กําหนด แล้วแต่กรณี โดยอาคารแต่ละส่วนทีขอใช้จะต้องมีความสมบูรณ์ถูกต้องในตัวเองเกียวกับระบบต่างๆ ทีจะต้องจัดให้มี กฎหมายอาคาร ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร 11 ตามกฎหมาย เช่น ระบบป้ องกันอัคคีภยั ระบบไฟฟ้ า ระบบประปา ระบบระบายนํา ระบบกําจัดขยะมูลฝอยและสิงปฏิกูล ระบบ สาธารณูปโภค ระบบบําบัดนําเสีย ทีจอดรถ ทีกลับรถและทางเข้าออกของรถ เป็ นต้น นอกจากนันจะต้องแสดงมาตรการเพือ ความปลอดภัยต่อผูใ้ ช้อาคารในแต่ละส่วนทีขอเปิ ดใช้ดว้ ย เมือผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นว่าถูกต้องจะออกใบอนุญาตให้ กระทําการได้ตามขอ ตามแบบทีกําหนดในกฎกระทรวง หรือตามทีได้แจ้งไว้ตามมาตรา 39 ทวิ ตามแบบทีผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานครกําหนด อาคารทีได้รบั อนุ ญาตหรือแจ้งตามมาตรา 39 ทวิ ไปก่อนแล้ว หากเจ้าของอาคารมีความประสงค์จะใช้อาคารเป็ น ส่วนๆ ให้ยนคํ ื าขออนุญาตตามวรรคสอง เมือทําการก่อสร้างอาคารเสร็จในแต่ละส่วน ให้ผู้ได้รบั อนุ ญาตหรือผู้แจ้งยืนคําขอรับใบรับรองต่อผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร ตามแบบทีผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครกําหนด เมือผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครตรวจสอบแล้วเห็นว่าถูกต้องจะออกใบรับรองอาคารในส่วนนัน ตามแบบทีกําหนด ในกฎกระทรวง ข้อ 16 ในกรณีทเจ้ ี าของหรือผูค้ รอบครองอาคารทีต้องมีพนที ื หรือสิงทีสร้างขึนเพือใช้เป็ นทีจอดรถ ทีกลับรถ และ ทางเข้าออกของรถตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ประสงค์จะดัดแปลงหรือใช้ทจอดรถ ี ทีกลับรถ และทางเข้าออกรถ นันเพือการอืนและก่อสร้างพืนทีหรือสิงทีสร้างขึนเพือใช้เป็ นทีจอดรถ ทีกลับรถ และทางเข้าออกของรถแทนของเดิมตาม กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ให้เจ้าของหรือผูค้ รอบครองอาคารยืนคําขออนุ ญาตตามแบบทีกําหนดในกฎกระทรวง ต่อ ผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร พร้อมด้วยเอกสารตามทีระบุไว้ในแบบดังกล่าว ให้นําความในข้อ 7 วรรคสองและวรรคสาม มาใช้บงั คับกับการอนุญาตตามวรรคหนึงในส่วนทีเกียวกับเอกสารทีต้อง แนบพร้อมคําขอเกียวกับแผนผังบริเวณ แบบแปลน รายการประกอบแบบแปลน รายการคํานวณหรือรายการคํานวณประกอบ โดยอนุโลม เมือผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานครได้รบั คําขอตามวรรคหนึงแล้วให้ดําเนินการตามข้อ 12 วรรคหนึง และเมือเห็นว่า ถูกต้อง ให้ผวู้ ่าราชการกรุงเทพมหานครออกใบอนุญาตตามแบบทีกําหนดในกฎกระทรวง ข้อ 17 ให้กําหนดระยะเวลาอายุใบอนุ ญาตก่อสร้าง ดัดแปลงอาคาร หรือใบรับแจ้งตามมาตรา 39 ทวิ ตามขนาด ของพืนทีอาคารส่วนทีจะทําการก่อสร้างหรือดัดแปลง ดังนี (1) อาคารทีมีพนที ื รวมกันน้อยกว่า 10,000 ตารางเมตร กําหนดอายุใบอนุญาตไม่เกิน 1 ปี (2) อาคารทีมีพนที ื รวมกันตังแต่ 10,000 ตารางเมตร ขึนไป แต่ไม่เกิน 50,000 ตารางเมตร กําหนดอายุ ใบอนุญาตไม่เกิน 2 ปี (3) อาคารทีมีพนทีื รวมกันมากกว่า 50,000 ตารางเมตร กําหนดอายุใบอนุญาตไม่เกิน 3 ปี ในกรณีก่อสร้าง ดัดแปลงอาคารไม่เสร็จตามกําหนด อนุญาตให้ต่ออายุได้ตามหลักเกณฑ์ในข้อ 18 ข้อ 18 ผูใ้ ดประสงค์จะขอต่ออายุใบอนุญาตหรือใบรับแจ้งตามมาตรา 39 ทวิ ให้ยนคํ ื าขอต่ออายุตามแบบทีกําหนด ในกฎกระทรวง ก่อนใบอนุญาตหรือใบรับแจ้งสินอายุ โดยหลักเกณฑ์และเงือนไขในการต่ออายุให้เป็ นไปตามทีกรุงเทพมหานคร กําหนด ข้อ 19 ในกรณีทีใบอนุ ญาตหรือใบรับรองสูญหาย ถูกทําลายหรือชํารุดในสาระสําคัญ ให้ผู้ได้รบั ใบอนุ ญาตหรือ ใบรับรองยืนคําขอรับใบแทนใบอนุญาต หรือใบแทนใบรับรองตามแบบทีกําหนดในกฎกระทรวง ต่อผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร พร้อมด้วยเอกสารตามทีระบุไว้ในแบบดังกล่าว ภายใน 15 วัน นับแต่วนั ทีได้ทราบถึงการสูญหาย ถูกทําลายหรือชํารุด เมือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้รบั คําขอตามวรรคหนึง ให้พจิ ารณาคําขอดังกล่าวหากเห็นว่าถูกต้อง ให้ผวู้ ่า ราชการกรุงเทพมหานครออกใบแทนใบอนุญาต หรือใบแทนใบรับรองให้แก่ผยู้ นคํ ื าขอ ใบแทนใบอนุญาตหรือใบรับรองแล้วแต่กรณี ให้ประทับตราสีแดงคําว่า “ใบแทน” กํากับไว้ดว้ ย และให้มวี นั เดือน ปี ทีออกใบแทน พร้อมทังลงลายมือชือผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร กรณีใบรับแจ้งตามมาตรา 39 ทวิ ให้ดาํ เนินการตามหลักเกณฑ์ขา้ งต้น กฎหมายอาคาร 12 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ข้อ 20 ผู้ได้รบั ใบอนุ ญาตทีประสงค์จะโอนใบอนุ ญาตก่อสร้าง ดัดแปลง รือถอน เคลือนย้าย หรือเปลียนการใช้ อาคาร หรือใบรับแจ้งตามมาตรา 39 ทวิ ให้แก่บุคคลอืน ให้ย?