ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ PDF

Summary

This document is a Thai government regulation for civil servants, effective from January 1, 2547. It outlines various aspects including job classification, employee qualifications, and responsibilities for civil servants. It provides detailed descriptions about regulations within the Thai government sector.

Full Transcript

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยที่เปนการสมควรกําหนดใหมีการปรับปรุงกระบวนการจางงานภาครัฐในสวนของ ลูกจางของสวนราชการใหมีความหลากหลาย เพื่อให...

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยที่เปนการสมควรกําหนดใหมีการปรับปรุงกระบวนการจางงานภาครัฐในสวนของ ลูกจางของสวนราชการใหมีความหลากหลาย เพื่อใหเกิดความเหมาะสมในการใชกําลังคนภาครัฐ และใหการปฏิบัติราชการมีความคลองตัวเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยสอดคลองตามแนว ทางการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม คณะรัฐมนตรีจึงเห็นสมควรใหมีการจางพนักงานราชการ สําหรับการปฏิบัติงานของสวนราชการ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงวางระเบียบไว ดังตอไปนี้ ขอ ๑ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗” ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๗ เปนตนไป ขอ ๓ ในระเบียบนี้ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ “สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่อ อยางอื่นและมีฐานะเปนกรม หรือหนวยงานอื่นใดของรัฐที่มีฐานะเปนสวนราชการตามกฎหมาย วาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดินและกฎหมายวาดวยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม เวนแตราชการสวนทองถิ่น “หัวหนาสวนราชการ” หมายความวา ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง อธิบดีหรือหัวหนา สวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม หรือหัวหนาหนวยงานอื่นของรัฐที่มีฐานะเปน สวนราชการ และผูวาราชการจังหวัด ซึ่งเปนผูวาจางพนักงานราชการ ๒ “พนักงานราชการ” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับการจางตามสัญญาจางโดย ไดรับคาตอบแทนจากงบประมาณของสวนราชการ เพื่อเปนพนักงานของรัฐในการปฏิบัติงาน ใหกับสวนราชการนั้น “สัญญาจาง” หมายความวา สัญญาจางพนักงานราชการตามระเบียบนี้ ขอ ๔ บรรดากฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ ขอบังคับ คําสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรี ที่กําหนดใหขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการมีหนาที่ตองปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหรือเปน ขอหามในเรื่องใด ใหถือวาพนักงานราชการมีหนาที่ตองปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหรือตองหาม เชนเดียวกับขาราชการหรือลูกจางดวย ทั้งนี้ เวนแตเรื่องใดมีกําหนดไวแลวโดยเฉพาะในระเบียบนี้ หรือตามเงื่อนไขของสัญญาจาง หรือเปนกรณีที่สวนราชการประกาศกําหนดใหพนักงานราชการ ประเภทใดหรือตําแหนงในกลุมงานลักษณะใด ไดรับยกเวนไมตองปฏิบัติเชนเดียวกับขาราชการ หรือลูกจางในบางเรื่องเพื่อใหเหมาะสมกับสภาพการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรอาจกําหนดแนวทางการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง เพื่อเปนมาตรฐานทั่วไปใหสวนราชการปฏิบัติก็ได ขอ ๕ ใหเลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือนรักษาการตามระเบียบนี้ หมวด ๑ พนักงานราชการ ขอ ๖ พนักงานราชการมีสองประเภท ดังตอไปนี้ (๑) พนักงานราชการทั่วไป ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะเปนงาน ประจําทั่วไปของสวนราชการในดานงานบริการ งานเทคนิค งานบริหารทั่วไป งานวิชาชีพเฉพาะ หรือ งานเชี่ยวชาญเฉพาะ (๒) พนักงานราชการพิเศษ ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะที่ตอง ใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพิเศษเพื่อปฏิบัติงานในเรื่องที่มีความสําคัญและจําเปนเฉพาะ เรื่องของสวนราชการ หรือมีความจําเปนตองใชบุคคลในลักษณะดังกลาว ๓ ขอ ๗ ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการ ใหกําหนดตําแหนงโดยจําแนก เปนกลุมงานตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน ดังตอไปนี้ (๑) กลุมงานบริการ (๒) กลุมงานเทคนิค (๓) กลุมงานบริหารทั่วไป (๔) กลุมงานวิชาชีพเฉพาะ (๕) กลุมงานเชี่ยวชาญเฉพาะ (๖) กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ ในแตละกลุมงานตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการอาจกําหนดใหมีกลุมงานยอยเพื่อให เหมาะสมกับลักษณะงานของพนักงานราชการได การกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดมีตําแหนงในกลุมงานใด และการกําหนด ลักษณะงานและคุณสมบัตเิ ฉพาะของกลุมงาน ใหเปนไปตามประกาศของคณะกรรมการ สวนราชการซึ่งเปนผูวาจางพนักงานราชการอาจกําหนดชื่อตําแหนงในกลุมงานตาม ความเหมาะสมกับหนาที่การปฏิบัติงานของพนักงานราชการที่จางได ขอ ๘ ผูซึ่งจะไดรับการจางเปนพนักงานราชการ ตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะ ตองหาม ดังตอไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไมต่ํากวาสิบแปดป (๓) ไมเปนบุคคลลมละลาย (๔) ไมเปนผูมีกายทุพพลภาพจนไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ไรความสามารถ หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือเปนโรคตามที่กําหนดไวในกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการ พลเรือน (๕) ไมเปนผูดํารงตําแหนงทางการเมือง กรรมการพรรคการเมือง หรือเจาหนาที่ ในพรรคการเมือง (๖) ไมเปนผูเคยตองรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกเพราะกระทํา ความผิดทางอาญา เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๗) ไมเปนผูเคยถูกลงโทษใหออก ปลดออก หรือไลออกจากราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอื่นของรัฐ (๘) ไมเปนขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการ พนักงานหรือลูกจางของหนวยงาน อื่นของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือพนักงานหรือลูกจางของราชการสวนทองถิ่น ๔ (๙) คุณสมบัติหรือลักษณะตองหามอื่นตามที่สวนราชการกําหนดไวในประกาศ การสรรหาหรือการเลือกสรรบุคคลเพื่อจางเปนพนักงานราชการ ทั้งนี้ ตองเปนไปเพื่อความจําเปน หรือเหมาะสมกับภารกิจของสวนราชการนั้น ความใน (๑) ไมใหใชบังคับกับพนักงานราชการชาวตางประเทศซึ่งสวนราชการจํา เปนตองจางตามขอผูกพันหรือตามความจําเปนของภารกิจของสวนราชการ ในกรณีที่เห็นสมควรคณะกรรมการอาจประกาศกําหนดคุณสมบัติหรือลักษณะ ตองหามเพิ่มขึ้น หรือกําหนดแนวทางปฏิบัติของสวนราชการในการจางพนักงานราชการเพื่อให สอดคลองกับวัตถุประสงคของการกําหนดใหมีพนักงานราชการตามระเบียบนี้ ขอ ๙ ใหสวนราชการจัดทํากรอบอัตรากําลังพนักงานราชการเปนระยะเวลาสี่ป โดยใหสอดคลองกับเปาหมายการปฏิบัติราชการของสวนราชการและแผนงบประมาณเชิงกลยุทธ ทั้งนี้ ตามแนวทางการจัดกรอบอัตรากําลังพนักงานราชการที่คณะกรรมการกําหนด กรอบอัตรากําลังพนักงานราชการของสวนราชการตามวรรคหนึ่ง จะตองเสนอตอ คณะกรรมการเพื่อใหความเห็นชอบ เมื่อคณะกรรมการใหความเห็นชอบแลว ใหสํานักงบประมาณ สนับสนุนงบประมาณเพื่อเปนคาใชจายดานบุคคลตามความจําเปนและสอดคลองกับกรอบอัตรา กําลังพนักงานราชการดังกลาว ทั้งนี้ การเบิกจายงบประมาณใหเปนไปตามประเภทรายจายที่ไดรับ การจัดสรรตามหลักเกณฑและวิธีการที่กระทรวงการคลังกําหนด ในกรณีที่มีเหตุผลความจําเปน สวนราชการอาจขอใหเปลี่ยนกรอบอัตรากําลัง พนักงานราชการได โดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และแจงใหสํานักงบประมาณทราบ ขอ ๑๐ การสรรหาและการเลือกสรรบุคคลเพื่อจางเปนพนักงานราชการใหเปนไป ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด ในกรณีที่สวนราชการใดจะขอยกเวนหรือเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสรรหาหรือการ เลือกสรรตามที่คณะกรรมการกําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหสามารถกระทําไดโดยทําความตกลงกับ คณะกรรมการ ขอ ๑๑ การจางพนักงานราชการใหกระทําเปนสัญญาจางไมเกินคราวละสี่ปหรือ ตามโครงการที่มีกําหนดเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดไว โดยอาจมีการตอสัญญาจางได ทั้งนี้ ตามความ เหมาะสมและความจําเปนของแตละสวนราชการ แบบสัญญาจางใหเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนด ๕ การทําสัญญาตามวรรคหนึ่ง ใหหัวหนาสวนราชการหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายจาก หัวหนาสวนราชการเปนผูลงนามในสัญญาจางกับผูไดรับการสรรหาหรือการเลือกสรรเปนพนักงาน ราชการ ขอ ๑๒ การแตงกายและเครื่องแบบปกติ ใหเปนไปตามที่สวนราชการกําหนด เครื่องแบบพิธีการใหเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนด ขอ ๑๓ วันเวลาการทํางาน หรือวิธีการทํางานในกรณีที่ไมตองอยูปฏิบัติงานประจํา สวนราชการ ใหเปนไปตามที่สวนราชการกําหนด ซึ่งอาจแตกตางกันไดตามหนาที่ของพนักงานราช การในแตละตําแหนง โดยคํานึงถึงผลสําเร็จของงาน หมวด ๒ คาตอบแทนและสิทธิประโยชน ขอ ๑๔ อัตราคาตอบแทนของพนักงานราชการใหเปนไปตามที่คณะกรรมการ ประกาศกําหนด ขอ ๑๕ สวนราชการอาจกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดหรือตําแหนงใน กลุมงานใดไดรับสิทธิประโยชนอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ (๑) สิทธิเกี่ยวกับการลา (๒) สิทธิในการไดรับคาตอบแทนระหวางลา (๓) สิทธิในการไดรับคาตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลางาน (๔) คาใชจายในการเดินทาง (๕) คาเบี้ยประชุม (๖) สิทธิในการขอรับเครื่องราชอิสริยาภรณ (๗) การไดรับรถประจําตําแหนง (๘) สิทธิอื่น ๆ ที่คณะกรรมการประกาศกําหนด หลักเกณฑการไดรับสิทธิตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามที่สวนราชการกําหนด ทั้งนี้ เทาที่ไมขัดหรือแยงกับหลักเกณฑที่กําหนดเกี่ยวกับการไดรับสิทธินั้นตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือมติคณะรัฐมนตรี ในกรณีที่เห็นสมควรคณะกรรมการอาจเสนอตอคณะรัฐมนตรีเพื่อให แกไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือมติคณะรัฐมนตรี เพื่อใหไดรับสิทธิประโยชนตามวรรคหนึ่ง ๖ ในกรณีที่เห็นสมควรคณะกรรมการอาจกําหนดมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการกําหนด สิทธิประโยชนใหแกพนักงานราชการเพื่อใหสวนราชการปฏิบัติก็ได ขอ ๑๖ ใหคณะกรรมการพิจารณาทบทวนอัตราคาตอบแทนและสิทธิประโยชน ของพนักงานราชการตามขอ ๑๔ และขอ ๑๕ เพื่อปรับปรุงใหเหมาะสมเปนธรรมและมีมาตรฐาน โดยคํานึงถึงคาครองชีพที่เปลี่ยนแปลง คาตอบแทนของเอกชน อัตราเงินเดือนของขาราชการ พลเรือน และฐานะการคลังของประเทศ รวมทั้งปจจัยอื่นที่เกี่ยวของ ขอ ๑๗ ใหพนักงานราชการไดรับสิทธิประโยชนและมีหนาที่ตองปฏิบัติตาม กฎหมายวาดวยการประกันสังคม ขอ ๑๘ สวนราชการอาจกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดหรือตําแหนงใน กลุมงานใดไดรับคาตอบแทนการออกจากงานโดยไมมีความผิดไดตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการ กําหนด หมวด ๓ การประเมินผลการปฏิบัติงาน ขอ ๑๙ ในระหวางสัญญาจาง ใหสวนราชการจัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานราชการ ดังตอไปนี้ (๑) การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการทั่วไป ใหกระทําในกรณี ดังตอไปนี้ (ก) การประเมินผลการปฏิบัติงานประจําป (ข) การประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อตอสัญญาจาง (๒) การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการพิเศษ ใหกระทําในกรณี การประเมินผลสําเร็จของงานตามชวงเวลาที่กําหนดไวในสัญญาจาง การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไป ตามหลักเกณฑและวิธีการที่สวนราชการกําหนด ในการนี้คณะกรรมการอาจกําหนดแนวทาง การประเมินผลการปฏิบัติงานดังกลาวเพื่อเปนมาตรฐานทั่วไปใหสวนราชการปฏิบัติก็ได ๗ ขอ ๒๐ พนักงานราชการผูใดไมผานการประเมินผลการปฏิบัติงานตามขอ ๑๙ ใหถือวาสัญญาจางของพนักงานราชการผูนั้นสิ้นสุดลง โดยใหสวนราชการแจงใหพนักงานราชการ ทราบภายในเจ็ดวันนับแตวันที่ทราบผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการผูนั้น ขอ ๒๑ ใหสวนราชการรายงานผลการดําเนินการจางพนักงานราชการ รวมทั้ง ปญหาอุปสรรคหรือขอเสนอแนะตอคณะกรรมการภายในเดือนธันวาคมของทุกป หมวด ๔ วินัยและการรักษาวินัย ขอ ๒๒ พนักงานราชการมีหนาที่ตองปฏิบัติงานตามที่กําหนดในระเบียบนี้ ตามที่ สวนราชการกําหนด และตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในสัญญาจาง และมีหนาที่ตองปฏิบัติตามคําสั่งของ ผูบังคับบัญชาซึ่งสั่งในหนาที่ราชการโดยชอบดวยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ ขอ ๒๓ พนักงานราชการตองรักษาวินัยโดยเครงครัดตามที่กําหนดไวเปนขอหาม และขอปฏิบัติที่สวนราชการกําหนด พนักงานราชการผูใดฝาฝนขอหามหรือไมปฏิบัติตามขอปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง พนักงานราชการผูนั้นเปนผูกระทําผิดวินัยจะตองไดรับโทษทางวินัย ขอ ๒๔ การกระทําความผิดดังตอไปนี้ ถือวาเปนความผิดวินัยอยางรายแรง (๑) กระทําความผิดฐานทุจริตตอหนาที่ราชการ (๒) จงใจไมปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ หรือเงื่อนไขที่ทางราชการ กําหนดใหปฏิบัติจนเปนเหตุใหทางราชการไดรับความเสียหายอยางรายแรง (๓) ปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลอจนเปนเหตุใหทางราชการไดรับความเสียหาย อยางรายแรง (๔) ไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดในสัญญา หรือขัดคําสั่งหรือหลีกเลี่ยงไมปฏิบัติ ตามคําสั่งของผูบังคับบัญชาตามขอ ๒๒ จนเปนเหตุใหทางราชการไดรับความเสียหายอยางรายแรง (๕) ประมาทเลินเลอจนเปนเหตุใหทางราชการไดรับความเสียหายอยางรายแรง (๖) ละทิ้งหรือทอดทิ้งการทํางานเปนเวลาติดตอกันเกินกวาเจ็ดวัน สําหรับตําแหนง ที่สวนราชการกําหนดวันเวลาการมาทํางาน ๘ (๗) ละทิ้งหรือทอดทิ้งการทํางานจนทําใหงานไมแลวเสร็จตามระยะเวลาที่กําหนด จนเปนเหตุใหทางราชการไดรับความเสียหายอยางรายแรง สําหรับตําแหนงที่สวนราชการกําหนด การทํางานตามเปาหมาย (๘) ประพฤติชั่วอยางรายแรง หรือกระทําความผิดอาญาโดยมีคําพิพากษาถึงที่สุด ใหจําคุกหรือหนักกวาโทษจําคุก (๙) การกระทําอื่นใดที่สวนราชการกําหนดวาเปนความผิดวินัยอยางรายแรง ขอ ๒๕ เมื่อมีกรณีที่พนักงานราชการถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยางรายแรง ใหหัวหนาสวนราชการจัดใหมีคณะกรรมการสอบสวนเพื่อดําเนินการสอบสวนโดยเร็ว และตอง ใหโอกาสพนักงานราชการที่ถูกกลาวหาชี้แจงและแสดงพยานหลักฐานเพื่อใหเกิดความเปนธรรม ในกรณีที่ผลการสอบสวนปรากฏวาพนักงานราชการผูนั้นกระทําความผิดวินัยอยางรายแรง ใหหัวหนาสวนราชการมีคําสั่งไลออก แตถาไมมีมูลกระทําความผิดใหสั่งยุติเรื่อง หลักเกณฑและวิธีการการสอบสวนพนักงานราชการ ใหเปนไปตามที่สวนราชการ กําหนด ขอ ๒๖ ในกรณีที่ปรากฏวาพนักงานราชการกระทําความผิดวินัยไมรายแรงตามที่ สวนราชการกําหนด ใหหัวหนาสวนราชการสั่งลงโทษภาคทัณฑ ตัดเงินคาตอบแทน หรือลดขั้นเงิน คาตอบแทน ตามควรแกกรณีใหเหมาะสมกับความผิด ในการพิจารณาการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่ง ใหหัวหนาสวนราชการพิจารณา สอบสวนใหไดความจริงและยุติธรรมตามวิธีการที่เห็นสมควร ขอ ๒๗ ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรอาจกําหนดแนวทางการดําเนินการ ทางวินัยแกพนักงานราชการ เพื่อเปนมาตรฐานทั่วไปใหสวนราชการปฏิบัติก็ได หมวด ๕ การสิ้นสุดสัญญาจาง ขอ ๒๘ สัญญาจางสิ้นสุดลงเมื่อ (๑) ครบกําหนดตามสัญญาจาง (๒) พนักงานราชการขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามระเบียบนี้หรือตามที่ สวนราชการกําหนด ๙ (๓) พนักงานราชการตาย (๔) ไมผานการประเมินผลการปฏิบัติงานตามขอ ๑๙ (๕) พนักงานราชการถูกใหออก เพราะกระทําความผิดวินัยอยางรายแรง (๖) เหตุอื่นตามที่กําหนดไวในระเบียบนี้หรือตามขอกําหนดของสวนราชการ หรือตามสัญญาจาง ขอ ๒๙ ในระหวางสัญญาจาง พนักงานราชการผูใดประสงคจะลาออกจากการ ปฏิบัติงาน ใหยื่นหนังสือขอลาออกตอหัวหนาสวนราชการตามหลักเกณฑที่สวนราชการกําหนด ขอ ๓๐ สวนราชการอาจบอกเลิกสัญญาจางกับพนักงานราชการผูใดกอนครบ กําหนดตามสัญญาจางได โดยไมตองบอกกลาวลวงหนา และไมเปนเหตุที่พนักงานราชการจะ เรียกรองคาตอบแทนการเลิกสัญญาจางได เวนแตสวนราชการจะกําหนดใหในกรณีใดไดรับ คาตอบแทนการออกจากงานโดยไมมีความผิดไว ขอ ๓๑ เพื่อประโยชนแหงทางราชการ สวนราชการอาจสั่งใหพนักงานราชการ ไปปฏิบัติงานนอกเหนือจากเงื่อนไขที่กําหนดไวในสัญญาจางได โดยไมเปนเหตุใหพนักงานราชการ อางขอเลิกสัญญาจางหรือเรียกรองประโยชนตอบแทนใด ๆ ในการนี้สวนราชการอาจกําหนดให คาลวงเวลาหรือคาตอบแทนอื่นจากการสั่งใหไปปฏิบตั ิงานดังกลาวก็ได ขอ ๓๒ ในกรณีที่บุคคลใดพนจากการเปนพนักงานราชการแลว หากในการ ปฏิบัติงานของบุคคลนั้นในระหวางที่เปนพนักงานราชการกอใหเกิดความเสียหายแกสวนราชการ ใหบุคคลดังกลาวตองรับผิดชอบในความเสียหายดังกลาว เวนแตความเสียหายนั้นเกิดจากเหตุสุดวิสัย ในการนี้สวนราชการอาจหักคาตอบแทนหรือเงินอื่นใดที่บุคคลนั้นจะไดรับจากสวนราชการไวเพื่อชําระ คาความเสียหายดังกลาวก็ได ขอ ๓๓ ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรอาจกําหนดแนวทางการดําเนินการ เกี่ยวกับการเลิกสัญญาจางตามหมวดนี้ เพื่อเปนมาตรฐานทั่วไปใหสวนราชการปฏิบัติก็ได ๑๐ หมวด ๖ คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ ขอ ๓๔ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการบริหารพนักงาน ราชการ” เรียกโดยยอวา “คพร.” ประกอบดวยรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรี มอบหมาย เปนประธานกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เปนรองประธาน กรรมการ ผูอํานวยการสํานักงบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เลขาธิการสํานักงานประกันสังคม อัยการสูงสุด อธิบดี กรมบัญชีกลาง ผูแทนกระทรวงกลาโหม ผูแทนกระทรวงการคลัง ผูแทนกระทรวงแรงงาน ผูแทน สํานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น เปนกรรมการ และกรรมการ ผูทรงคุณวุฒิจํานวนสี่คนซึ่งประธานกรรมการแตงตั้งจากผูเชี่ยวชาญในสาขาการบริหารงานบุคคล กฎหมาย เศรษฐศาสตร และแรงงานสัมพันธ สาขาละหนึ่งคน ใหผูแทนสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เปนกรรมการและเลขานุการ และผูแทนสํานักงบประมาณและผูแทนกรมบัญชีกลาง เปนกรรมการและผูชวยเลขานุการ ขอ ๓๕ กรรมการผูทรงคุณวุฒิใหมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสองป กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งอีกได ขอ ๓๖ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระแลว กรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจาก ตําแหนง เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ประธานกรรมการใหออก ในกรณีที่มีการแตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิแทนตําแหนงที่วางหรือแตงตั้งเพิ่มขึ้น ใหผูซึ่งไดรับแตงตั้งมีวาระเทากับวาระการดํารงตําแหนงที่เหลืออยูของกรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งยังอยู ในตําแหนง ขอ ๓๗ ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ดังนี้ (๑) กําหนดแผนงานและแนวทางปฏิบัติ รวมทั้งเสนอแนะสวนราชการในการ ปรับปรุงหรือแกไขระเบียบหรือประกาศเกี่ยวกับการบริหารพนักงานราชการเพื่อใหเปนไปตาม ระเบียบนี้ ๑๑ (๒) กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการสรรหาและการเลือกสรร บุคคลเพื่อจางเปนพนักงานราชการ รวมทั้งแบบสัญญาจาง (๓) กําหนดกลุมงานและลักษณะงานในกลุมงาน และคุณสมบัติเฉพาะของกลุมงาน ของพนักงานราชการ (๔) ใหความเห็นชอบกรอบอัตรากําลังพนักงานราชการที่สวนราชการเสนอ (๕) กําหนดอัตราคาตอบแทนและวางแนวทางการกําหนดสิทธิประโยชนอื่นของ พนักงานราชการ (๖) กําหนดมาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ (๗) ตีความและวินิจฉัยปญหาที่เกิดขึ้นจากการใชบังคับระเบียบนี้ (๘) แตงตั้งคณะอนุกรรมการตามที่เห็นสมควร (๙) อํานาจหนาที่อื่นตามที่กําหนดไวในระเบียบนี้หรือกฎหมายอื่น ขอ ๓๘ ใหสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือนรับผิดชอบในงานธุรการของ คณะกรรมการและปฏิบัติหนาที่ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย ขอ ๓๙ ในกรณีที่เรื่องใดตามระเบียบนี้กําหนดใหสวนราชการกําหนดหลักเกณฑ หรือปฏิบัติในเรื่องใด คณะกรรมการอาจกําหนดใหเรื่องนั้นตองกระทําโดย อ.ก.พ. กรม องคการ บริหารงานบุคคลอื่นของสวนราชการ หรือใหหัวหนาสวนราชการแตงตั้งคณะกรรมการเปน ผูดาํ เนินการก็ได บทเฉพาะกาล ขอ ๔๐ ในระหวางที่ยังไมมีคณะกรรมการตามระเบียบนี้ ใหคณะกรรมการ บริหารงานลูกจางสัญญาจางตามคําสั่งคณะกรรมการกําหนดเปาหมายและนโยบายกําลังคน ภาครัฐ ที่ ๓/๒๕๔๖ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการบริหารงานลูกจางสัญญาจาง ลงวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ปฏิบัติหนาที่เปนคณะกรรมการตามระเบียบนี้ จนกวาคณะกรรมการ ตามระเบียบนี้จะเขารับหนาที่ ขอ ๔๑ ในกรณีที่สวนราชการยังจัดทํากรอบอัตรากําลังพนักงานราชการไมแลวเสร็จ ถามีความจําเปนตองจางพนักงานราชการในกลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ ใหดําเนินการจางไดในกรณี ที่มีงบประมาณและโครงการแลว หรือสําหรับโครงการใหม โดยเสนอคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ การจาง ๑๒ ขอ ๔๒ ในกรณีที่อัตราลูกจางประจําวางลงและคณะกรรมการกําหนดเปาหมายและ นโยบายกําลังคนภาครัฐกําหนดใหจางเปนลูกจางชั่วคราว สวนราชการจะดําเนินการจางเปนพนักงาน ราชการตามระเบียบนี้ไดตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ เปนตนไป หรือตามที่คณะกรรมการ กําหนด ขอ ๔๓ ในกรณีที่อัตราลูกจางประจําวางลงระหวางป ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่งตองยุบเลิกตําแหนงนั้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๖ หากสวนราชการยังมี ความจําเปนและไมใชกรณีการจางเหมาบริการ ใหขออนุมัติคณะกรรมการเพื่อพิจารณากําหนดใหเปน พนักงานราชการ

Use Quizgecko on...
Browser
Browser