สรุป วางแผน มิด. PDF

Document Details

RecommendedHarpsichord

Uploaded by RecommendedHarpsichord

Naresuan University

Tags

project planning project management project proposal proposal writing

Summary

This document provides a comprehensive guide on project planning. It details what a project is and how to analyze problems, define objectives, and write a project proposal. The guide covers different aspects of project planning including outlining steps, setting timelines, defining locations, budgeting, and evaluation.

Full Transcript

ขั้นตอนการเขียนโครงการ # 1. วิเคราะห์ ปัญหาหรือความต้องการ ดํ าเนิ นการโดย การเขียนโครงการ...

ขั้นตอนการเขียนโครงการ # 1. วิเคราะห์ ปัญหาหรือความต้องการ ดํ าเนิ นการโดย การเขียนโครงการ - ศึ กษาสภาพแวดล้อมเพื่อค้นหาปั ญหา ความสํ าคัญของโครงการ - กําหนดแนวทางแก้ไข 2. การเขียนโครงการมีเทคนิ คดั งนี้ - ก่อนลงมือ ต้องตั้งคําถามและตอบคําถาม 5 W 1 H โครงการ คือ What = โครงการอะไร การวางแผนอย่างเป็ นระบบ ประกอบด้ วย กิจกรรมหลายกิจกรรม Why = ทําไมต้องทาโครงการ ที่ ต้องอาศั ยทรัพยากร ในการดํ าเนิ นงาน เพื่อให้ เกิดผลสั มฤทธิ ตาม ์ Who = ใครเป็ นผู้ดําเนิ นงาน วัตถุประสงค์หรือเป้ าหมายตามที่ แผนวางไว้ When = ทําเมื่อใด และนานแค่ไหน Where = ทําที่ ไหน ใช้ ทรัพยากรจากไหน เท่ าใด ความสํ าคัญของโครงการ How = ทําอย่างไร โครงการ (Project) เป็ นสิ่ งที่ เรียบเรียงขึ้นเป็ นขั้นตอน และมีแผนปฎิ บัติเพื่อ ลงมือเขียนโครงการ โดยใช้ ภาษาเขียนที่ กระชั บ สื่ อความหมายได้ ชัดเจน และ บรรลุวัตถุประสงค์ ครบตามส่ วนประกอบที่ ดี ของโครงการ ดั งนั้ น โครงการจึงเป็ นส่ วนประกอบที่ สํ าคัญของแผนการดํ าเนิ นงาน ปรึกษาผู้เชี่ ยวชาญในการเขียนโครงการ หรือประเมินผลโครงการ เพื่อลดปั ญหา หรืออุ ปสรรคระหว่างที่ ทําการเขียนนํ าเสนอ และติดตาม ลักษณะสํ าคัญของโครงการ ประเมินผลโครงการ 1. ประกอบด้ วยกิจกรรมย่อยๆ ที่ สอดคล้องกันภายใต้วัตถุประสงค์เดี ยวกัน 2.มีการกําหนดวัตถุประสงค์ (Objective) ที่ ชั ดเจนวัดได้ และปฏิ บัติได้ โครงการ วิธีการเขียนโครงการ อาจมีมากกว่าหนึ่ งวัตถุประสงค์ แต่ไม่ควรมากเกินความจําเป็ น 1. ชื่ อโครงการ (โครงการอะไร) 3. ต้องมีการกําหนดระยะเวลา ว่าจะเริ่มต้นเมื่อไหร่ และสิ้ นสุ ดเมื่อไหร่ -ต้องมีความชั ดเจน เหมาะสม และเฉพาะเจาะจงว่าจะทําอะไร ให้ เป็ นที่ > ถ้ าหากไม่มีกําหนดระยะเวลาหรือไม่มีการกําหนดขอบเขตของเวลา (Time เข้าใจง่ายสํ าหรับผู ้นําโครงการไปใช้ หรือผู ้ท่ี มีส่วนเกี่ยวข้อง boundary) -ชื่ อโครงการที่ ดี ต้องเขียนให้ รวู้ ้ ่าจะทําอะไร ทํากับใคร ที่ ไหน >ไม่ถือว่าเป็ นโครงการ แต่จะเป็ นลักษณะของงานประจํา หรือ งานปกติ -กําหนดชื่ อเรื่อง ที่ สื่ อถึ งเรื่อง ตามแผนงานนั้ นๆ หรือกลุ่มเป้ าหมาย มีความ 4.มีสถานที่ ตั้ง (Location) จะต้องระบุ ให้ ชั ดเจนว่าดํ าเนิ นการที่ ใด เพื่อสะดวกใน ชั ดเจนในขอบเขตพื้นที่ และปี งบประมาณ ที่ ดํ าเนิ นการสร้างสรรค์ท่ี กระตุ้น การดํ าเนิ นงาน การติดตามและ ประเมินผลโครงการ ให้ เกิดความสนใจในโครงการที่ จัดทํา 5. โครงการจะต้องมีหน่ วยงานหลักหรือบุ คคลที่ รับผิดชอบโครงการนั้ นให้ ชัดเจน 6. การเขียนโครงการจะต้องระบุ งบประมาณให้ ชัดเจน ว่าจะใช้ จ่ายค่าอะไรบ้าง เช่ น ค่าวิทยากร ค่าที่ พัก ค่าอาหาร ฯลฯ > ทั้ งนี้ จะทําให้ ง่ายต่อการดํ าเนิ นการและควบคุม ตรวจสอบการใช้ งบประมาณ ให้ เกิดประโยชน์ โครงการที่ ดี ควรมีลักษณะอย่างไร 1. สามารถแก้ไขปั ญหาตามที่ ผู้รบ ั ผิดชอบโครงการตั้งเป้ าหมายได้ มีประสิ ทธิ ภาพ 2. มีวัตถุประสงค์และเป้ าหมายที่ ชั ดเจน สามารถดํ าเนิ นงานและปฏิ บัติได้ 2. หลักการและเหตุผล (ทําไมจึงต้องจัดทําโครงการ) 3. รายละเอียดของโครงการต้องสอดคล้องและสั มพันธ์ กัน วิธีเขียน ให้ แบ่งเป็ น 3 ย่อหน้ า ตอบ 3 คําถาม > วัตถุประสงค์ ต้องสอดคล้องกับ หลักการและเหตุผล คือ ทําไม ต้องทํา จะทําอย่างไรคร่าวๆ และทําแล้วจะได้ อะไร หรือผลที่ คาด > วิธีการดํ าเนิ นงาน ต้องสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ ว่าจะได้ รบั > ประโยชน์ ที่ คาดว่าจะได้ รบ ั ต้องสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ย่อหน้ าที่ 1 ให้ เขียนถึ งความเป็ นมาหรือความสํ าคัญของเรื่องที่ จะทํา (ที่ มา 4. รายละเอียดเข้าใจได้ ง่าย สะดวกต่อการดํ าเนิ นงาน สาเหตุ หรือปั ญหา) 5.สามารถนํ าไปปฏิ บัติได้ สอดคล้องกับแผนงานหลักขององค์กรและสามารถ วิธีเขียนย่อหน้ าแรกนั้ นแตกต่างกันไปตามประเภทของโครงการ ดั งนี้ ติดตามประเมินผลได้ - โครงการตามนโยบาย ให้ เขียนเกี่ยวกับนโยบายขององค์กรนั กศึ กษา ให้ 6.รายละเอียดของโครงการต้องเข้าใจง่าย มีการใช้ ภาษาทั่ วไป สอดคล้องกับแผน ตลอดจนความต้องการในการพัฒนา เพื่อแสดงข้อมู ลที่ มี 7.มีระยะเวลาในการดํ าเนิ นงาน คือ ต้องระบุ วันเวลาที่ เริ่มต้น และสิ้ นสุ ดโครงการ น้ าหนั ก น่ าเชื่ อถื อ และให้ เห็ นความสํ าคัญของสถานการณ์ ท่ี เกิดขึ้น 8. มีวิธีการประเมินผลที่ ชั ดเจน - โครงการเพื่อพัฒนา เพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการขององค์กร กลุ่ม เป้ าหมายให้ เขียนถึ งปั ญหาโดยโครงการที่ ทําต้องอยู่ในอํานาจหน้ าที่ ของ องค์กร หรือมีกฏหมายรองรับ รู ปแบบ(Form) โครงสร้าง(Structure) คําหลักที่ ควรใช้ ในย่อหน้ าที่ 1 คือ เนื่ องด้ วย / จาก / ตามที่ / ปั จจุบัน 1. ชื่ อโครงการ 2. หลักการและเหตุผล ย่อหน้ าที่ 2 สภาพของปั ญหาในระดั บพื้นที่ และความจําเป็ นเร่งด่ วนใน 3. วัตถุประสงค์ การแก้ไขปั ญหา/ความต้องการ หากไม่ดําเนิ นการจะทําให้ เกิดผลกระทบต่อ 4. ขั้นตอนการดํ าเนิ นงาน /วิธีการดํ าเนิ นการ (PDCA) กลุ่มเป้ าหมายหรือผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ยอย่างไร และมีระดั บความรุ นแรงมาก 5. ระยะเวลาการดํ าเนิ นโครงการ น้ อยเพียงใด 6. สถานที่ ดาเนิ นการ > เสนอไปว่าจะทําอะไร ทําอย่างไร (เสนอแนวความคิดหรือกิจกรรมท่่ี จะทํา 7. งบประมาณ นั่ นเอง) ทําแล้วจะเป็ นอย่างไร แบบไหน 8. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ คําหลักที่ ควรใช้ ในย่อหน้ าที่ 2 คือ ดั งนั้ น /จึง /โดย 9. ตัวชี้ วัด/การประเมินผลโครงการ 10. ประโยชน์ ที่ คาดว่าจะได้ รบ ั ย่อหน้ าที่ 3 บอกประโยชน์ ที่ จะได้ รบ ั จากโครงการ ผลลัพธ์ ของโครงการ ่ โดยย่อ ซึ งควรจะเป็ นประโยชน์ ต่อหน่ วยงานหรือสั งคม คําหลักที่ ใช้ ในย่อหน้ าที่ 3 คือ เพื่อให้ เกิด /เพื่อพัฒนา /เพื่อสร้าง /เพื่อเป็ น ประโยชน์ **อาจจะเขียน 3 หรือ 2 ย่อหน้ าก็ได้ หากเขียน 2 ย่อหน้ า ให้ เขียนย่อหน้ าที่ 2 และ 3 รวมกัน 7. ระยะเวลาดํ าเนิ นการ (ทําเมื่อไหร่) - ระบุ ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเวลาสิ้ นสุ ดโครงการว่าใช้ เวลาทั้ งหมดเท่ าใด โดยระบุ เดื อน ปี โดยไม่ต้องระบุ วันที่ เช่ น..... o เดื อน ตุลาคม 2565 – กันยายน 2566 o เดื อน มกราคม ถึ ง กันยายน 2566 8. สถานที่ ดํ าเนิ นการ (ทําที่ ไหน) - ระบุ สถานที่ ตั้งหรือกิจกรรมนั้ นจะทํา ณ สถานที่ ใด เพื่อสะดวกต่อการจัด เตรียมสถานที่ ให้ พร้อมก่อนที่ จะทํากิจกรรมนั้ นๆ 3. วัตถุประสงค์ (ทําเพื่ออะไร) - ห้ องประชุ ม สํ านั กงานสาธารณสุ ขอําเภอ ดํ าเนิ นสะดวก วัตถุประสงค์เป็ นเครื่องชี้ แนวทางในการดํ าเนิ นงานของโครงการ เป็ นตัวกําหนดส่ วน - อาคารเอนกประสงค์ โรงพยาบาลส่ งเสริมสุ ขภาพตาบล... ประกอบอื่นๆ ของโครงการว่าต้องการให้ เกิดอะไรขึ้นบ้าง วัตถุประสงค์จะต้องชั ดเจน - พื้นที่ หมู่ท่ี 1 - 6 ตําบล... ไม่คลุมเครือ สามารถวัดผลได้ การทําโครงการหนึ่ ง อาจจะมีวัตถุประสงค์หลายข้อ ก็ได้ แต่ไม่ควรมีจานวนมากเกินไป 9. งบประมาณ >>>วัตถุประสงค์ต้องสอดคล้องกับตัวชี้ วัดเสมอ - ระบุ ถึงจํานวนเงิน จํานวนบุ คคล จํานวนวัสดุครุ ภัณฑ์ และปั จจัยอื่นๆ ที่ จําเป็ นต่อการดํ าเนิ นโครงการนั้ นๆ วัตถุประสงค์ท่ี ดี ควรประกอบด้ วยองค์ประกอบ 5 ประการ คือ 1. เป็ นไปได้ (sensible) หมายถึ ง วัตถุประสงค์จะต้องมีความเป็ นไปได้ 2.วัดได้ (measurable) หมายถึ ง วัตถุประสงค์จะต้องสามารถวัดและประเมินผลได้ 3. ระบุ ส่ิ งที่ ต้องการ (attainable) หมายถึ ง วัตถุประสงค์จะต้องระบุ ส่ิ งที่ ต้องการ อย่างชั ดเจน และเฉพาะเจาะจงมากที่ สุ ด 4.เป็ นเหตุเป็ นผล (reasonable) หมายถึ ง วัตถุประสงค์จะต้องมีความเป็ นเหตุเป็ นผล 5. เวลา (time) หมายถึ ง วัตถุประสงค์จะต้องมีขอบเขตของเวลาที่ แน่ นอน *วัตถุประสงค์ของโครงการ ต้องสอดคล้องกับหลักการและเหตุผลของโครงการ 10. ตัวชี้ วัดความสํ าเร็จของโครงการ/การประเมินโครงการ (บรรลุ วัตถุประสงค์หรือไม่) ตัวชี้ วัดความสํ าเร็จ คือ การแสดงให้ เห็ นถึ งระดั บความสํ าเร็จของโครงการ โดยตัวชี้ วัดต้องสอดคล้อง> วัตถุประสงค์ท่ี ตั้งไว้ โดยสามารถแบ่งตัวชี้ วัดเป็ น 2 ประเภท คือ - ตัวชี้ วัดเชิ งปริมาณ หมายถึ ง ความสํ าเร็จตามวัตถุประสงค์ท่ี สามารถวัดได้ ใน เชิ งตัวเลข เช่ น จํานวนผู้ผ่านการอบรม, ร้อยละคะแนนความรู ห ้ ลังการ อบรม, ร้อยละของการคัดกรองสุ ขภาพในกลุ่มเป้ าหมาย เป็ นต้น - ตัวชี้ วัดเชิ งคุณภาพ หมายถึ ง การวัดความสํ าเร็จว่ามีคุณภาพระดั บไหน 5. เป้ าหมาย (ปริมาณที่ จะทําเท่ าไหร่) อย่างไร เช่ น ระดั บความพึงพอใจ ระดั บความสาเร็จของกิจกรรม เป็ นต้น การระบุ เป้ าหมาย ระบุ เป็ นประเภทลักษณะและปริมาณให้ สอดคล้องวัตถุประสงค์ เป้ าหมายจะบอกกิจกรรมที่ ทํา> ว่าทําอะไรบ้าง บอกจํานวนคนที่ เป็ น กลุ่มเป้ าหมาย ข้อมู ลที่ ใช้ ประเมินผล ถ้ ามีหลายกิจกรรม > เป้ าหมายควรเขียนเป็ นข้อๆ ให้ ระบุ ถึงเครื่องมือหรือข้อมู ลอ้างอิงที่ จะใช้ ประเมินผลตามตัวชี้ วัด ในทุกตัวชี้ เป้ าหมายเป็ นส่ วนขยาย>ของวัตถุประสงค์ วัดที่ กําหนดขึ้น เช่ น ถ้ ามีวัตถุประสงค์ 4 ข้อ เป้ าหมายจะต้องมี 4 ข้อ ตัวชี้ วัดด้ านร้อยละความพึงพอใจ+แบบประเมินความพึงพอใจ, ***เป้ าหมายเป็ นการคาดหวังล่วงหน้ าถึ งผลที่ จะได้ รบั ว่าเป็ นปริมาณเท่ าใด ตัวชี้ วัดด้ านการวัดความรู ข ้ องผู ้เข้าร่วมการอบรม+แบบทดสอบความรู ก ้ ่อน โดยต้องวัดได้ อย่างเป็ นตรรกะ และหลังการอบรม เชิ งปริมาณ (ให้ ใครเป็ นผู ้เข้าร่วมโครงการจํานวนกี่คน) ตัวชี้ วัดด้ านร้อยละของผลการดํ าเนิ นงานคัดกรองโรคเรือรั ้ ง+ฐานข้อมู ลใน เชิ งคุณภาพ (ให้ ผู้ท่ี เข้าร่วมโครงการสามารถทําอะไรได้ หรือมีความรู เ้ รื่องใด) ระบบสารสนเทศ ด้ านสุ ขภาพ/แบบรายงานที่ เกี่ยวข้อง เป็ นต้น 11. ประโยชน์ ที่ คาดว่าจะได้ รบ ั (เมื่อเสร็จสิ้ นโครงการแล้วจะได้ อะไร) ่ เป็ นการแสดงถึ งประโยชน์ ที คาดว่าจะได้ รบ ั เมื่อโครงการที่ ทําสิ้ นสุ ดลง ่ ทั้ งโดยทางตรงและทางอ้อม ซึ งต้องเขียนให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และ เป้ าหมาย ของโครงการตามลําดั บความสํ าคัญ 6. ขั้นตอนการดํ าเนิ นงาน/วิธีดําเนิ นการ/วิธีดําเนิ นงาน (ทําอย่างไร) ทั้ งในเชิ งปริมาณและเชิ งคุณภาพ - เป็ นการเขียนถึ งกิจกรรมต่างๆ ที่ ต้องทําให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์โครงการ - วิธีการดํ าเนิ การจึงนํ าวัตถุประสงค์มาจําแนกเป็ นกิจกรรมย่อยหลายกิจกรรม 12.ผู ้รบ ั ผิดชอบโครงการ (ใครทํา) - กิจกรรมต่างๆ ที่ กําหนดขึ้นจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ โครงการทุกโครงการจะต้องมีผู้รบ ั ผิดชอบดํ าเนิ นงานตามโครงการที่ เขียนไว้ - กิจกรรมอะไรบ้าง เพื่อก่อให้ เกิดผลผลิต (output) เมื่อกิจกรรมนั้ นสิ้ นสุ ดลง (ซึ่ งที่ ไม่ว่าตนเองจะเป็ นผู ้เขียนโครงการนั้ น หรือผู้อ่ืนเป็ นผู้เขียน จะต้องระบุ ผู้รบ ั ผ่านมาหลายโครงการไม่ค่อยให้ ความสํ าคัญในส่ วนนี้ )*** ผิดชอบโครงการนั้ นๆ ให้ ชัดเจนว่าเป็ นใคร มีตําแหน่ งใด ในโครงการนั้ น - ผลผลิตที่ ได้ จากกิจกรรมนี้ จะต้องตอบสนองหรือเกิดผลลัพธ์ (outcome) ตาม เพื่อสะดวกต่อการติดตามและประเมินผลโครงการ วัตถุประสงค์ท่ี วางไว้ (เครื่องมือที่ เหมาะสมในการกําหนดวิธีการดํ าเนิ นงาน คือ วงจรคุณภาพ PDCA) >>> การระบุ รายละเอียดในการปฏิ บัติงานแต่ละขั้นตอน เช่ นผู้รบ ั ผิดชอบในแต่ละ ขั้นตอน วัตถุดิบ ซึ่ งต้องมีความสั มพันธ์ กับการใช้ งบประมาณและระยะเวลา (สามารถระบุ เป็ นวัน ช่ วงเวลา หรือสถานที่ ) โดยอาจแยกเป็ นสามขั้นตอน ดั งนี้ - ขั้นวางแผน - ขั้นดํ าเนิ นการ - ขั้นสรุ ปและประเมินผล เคราะะ และสา ท โครงกการรใ ตา รางเห ตุผลส # ญหา * การ ด Logical Framewor แ ไข ญ หาสา ข ญ => เค อง ม 1. แผนท เ อ ล 2. วเค อญ 3. โครงส า างอง า นประชากร > ระ 4. ระบ านเศรษฐ บ ขภาพ ม 5. ประ ศาสต ช าน ขภ 6. ป ทัน าน ขา 7 ประ ช หลักการสํ าคัญของ Log Frame ตล บด. ส คัญของ หา + ท ญ 1. พิจารณาโครงการอย่างเป็ นระบบ (แบบแผนงาน) ประชาคม 2.เน้ นการวิเคราะห์ โครงการแบบ "ค่าใช้ จ่ายเปรียบเที ยบ กับ ญหา ขนา ค. นแร ง ค.ย ยาก าย ค.ตระ ์ ประสิ ทธิ ผล หรือสั มฤทธิ ผล" (Cost - effectiveness) 3. ใช้ หลักตรรกวิทยา (เหตุและผล) ในการอธิ บายความสั มพันธ์ ระหว่าง คน ว ยเยอะ -> ④ โร คเป ็นแ วตาย - -แ ④ าย -> & ช าว านย องค์ประกอบที่ สํ าคัญต่างๆ ของโครงการ (อยาก ทท 4.มีตารางสรุ ปเนื้ อหาสํ าสํ าคัญของโครงการเป็ นกรอบ คน บผลกระท ผล ของ โร า น ชาก ยก ออยา ก หลักการแสดงความสั มพันธ์ ในเชิ งเป็ นเหตุเป็ นผลซึ่ งกันและกัน และประสานกัน / ทั้ งในแนวตั้ง (Vertical Logic) แนวนอน (Horizontal Logic) ของ องค์ประกอบที่ เป็ นโครงสร้างพื้นฐานของโครงการ โดยแสดงราย ละเอียดในรู ปตาราง 4 x 4 matrix ซึ่ งมีตาราง รวมทั้ งสิ้ น 16 ช่ อง เพื่อให้ เคราะะ หาสาเ เห ทราบว่าโครงการนี้ มีวัตถุประสงค์อย่างไร(what) จะดํ าเนิ นการอย่างไร ↳ตรวจสอบ บ ณภา น ค.ตร งตา มเพ validit (how) ปั จจัยสํ าคัญอะไรบ้างที่ มีผลกระทบต่อความสํ าเร็จของโครงการ ตร ง 3 าน OC 7 และยังระบุ ไว้ด้วยว่าจะสามารถวัดผลงานและความสํ าเร็จของโครงการได้ ค. ตรง ของ เค องมือ Reliabi อย่างไร จะได้ ข้อมู ลมาจากแหล่งใดและโดยวิธีการใด ( Try Out 30 คน >0.5) องค์ประกอบของ Log Frame ้ องค์ประกอบพืนฐานของโครงสร้าง Log Frame 2 ประเภท คือ เ น ผ ัว างปลา, แผ น นไ , Webo 1. องค์ประกอบแนวตั้ง 2. องค์ประกอบแนวนอน โครงการ - จกร - องค์ประกอบแนวตั้ง GPOI - จะแสดงการแบ่งระดั บการดํ าเนิ นงานโครงการออกเป็ น 4 ระดั บ คือ - 1) ระดั บนโยบาย (Goal : G) ได้ แก่อุดมการณ์ หรือจุดมุ่งหมายของแผนงาน 2) ระดั บวัตถุประสงค์ ( Purpose : P) ได้ แก่วัตถุประสงค์ของโครงการ 3) ระดั บผลงาน ( Outputs : 0) ได้ แก่ ผลผลิตของโครงการ 4) ระดั บปั จจัย (Inputs : I) ได้ แก่ กิจกรรมต่างๆ ในโครงการที่ จะต้องดํ าเนิ นการ รวมทั้ ง ทรัพยากรที่ ใช้ ในการดํ าเนิ นงาน วิ พู ติข้ ที พี ด้ ด้ ด้ ด้ จั ติ ตั ดิ ปั ล้ บ้ ค้ วิ ผู้ ื่ กิ ำ รุ วิ ช่ ท่ ห์ หิ ก้ รั ป่ ร์ ำ คุ สุ สุ ก้ สุ มื ชุ ำ ง่ ตุ ภู รื่ ก้ นั ง่ ช้ ปั ชุ ม้ วั รื ชุ ำ ค์ มิ ฏิ รื่ วั ปั ภิ สุ ต้ ติ จั ปั ร้ ำ องค์ประกอบแนวนอน ตัวอย่างความเป็ นเหตุผลในลักษณะจาก "ล่าง" ขึ้น "บน" จะแสดงการแบ่งระดั บการดํ าเนิ นงานโครงการออกเป็ น 4 ระดั บ คือ จุดมุ่งหมายแผนงาน พัฒนาคุณภาพบัณฑิ ตสาขาวิชาเกษตรและสิ่ ง - 1) คําสรุ ป (Narrative Summary : NS) แวดล้อมศึ กษา เป็ นคําอธิ บายสั้ นๆ ขององค์ประกอบแนว ตั้งระดั บต่างๆ ในช่ องจุดมุ่งหมาย ก็เพราะต้องการ WH วัตถุประสงค์ผลงาน และปั จจัยหรือ กิจกรรมและทรัพยากร เวลาเขียนลงตาราง วัตถุประสงค์ของโครงการ พัฒนาการเรียนการสอนทําไมต้องมีการ นิ ยมเขียนให้ ส้ั นที่ สุ ด ก็เพราะต้องการ WH 2) ตัวบ่งซี้ (Objectively Verifiable Indicators : OVI) ผลงาน พัฒนาคุณภาพอาจารย์ทําไมต้องมีการ เป็ นดั ชนี พิสูจน์ ความสํ าเร็จ ในการดํ าเนิ นงาน ซึ่ งเป็ นข้อความสั้ นๆ ที่ จะช่ วยให้ ก็เพราะต้องการ WHY ทราบว่าการดํ าเนิ นงานตามโครงการนั้ นประสบความสํ าเร็จดั งข้อกําหนดที่ ระบุ ไว้ ทรัพยากรที่ ต้องใช้ ฝึ กอบรม ศึ กษาดูงาน ศึ กษาต่อ ในคําสรุ ปแล้ว ตัวบ่งชี้ ความสํ าเร็จของคําสรุ ปแต่ละตัวอาจมีได้ หลายอย่างหรือ ทําไมต้องมีการ หลายตัว 3) แหล่งข้อมู ล และ/หรือวิธีพิสูจน์ (Means of Verification : MOV) รายละเอียด ของช่ องนี้ จะเกี่ยวข้องกับวิธีการวัดเป็ นสิ่ งที่ จะบอกว่าตัวบ่งชี้ ความ ความเป็ นเหตุเป็ นผลของตารางโครงการ (2) สํ าเร็จนั้ นได้ มาอย่างไร จากไหน เช่ น จากการสํ ารวจหรือจากแหล่งสถิ ติหรือแหล่ง 2. ความเป็ นเหตุเป็ นผลในเนวนอบ)หมายถึ ง ความสั มพันธ์ ของข้อความใน ข้อมู ลใดบ้าง แต่ละช่ องของตารางจาก "ซ้ าย" ไป "ขวา" จะต้องเป็ นเหตุเป็ นผลกันในลักษณะ 4) เงื่อนไขของความสํ าเร็จ (Important Assumption : IA) หรือบางแห่ ง ที่ "จะต้องทํา อย่างไร (HOW)" > เรียกว่าข้อกําหนดเบื้องต้น (Prerequiste) เป็ นการกล่าวถึ งสิ่ งที่ คาดหมายเพื่อ และในทํานองเดี ยวกันข้อความในแต่ละช่ องของตารางจาก "ขวา" ไป "ช้ าย" สนั บสนุ นว่าความสํ าเร็จที่ ระบุ ไว้ในคําสรู ปนั้ นจะเกิดขึ้นตามต้องการถ้ ามืสภาพ ต้องเป็ นเหตุเป็ นผลในลักษณะว่า "ทําไมต้องทําสิ่ งนี้ สิ่ งนั้ น (WHY) " < แวดล้อมหรือมีลักษณะเป็ นไปตามเงื่อนใจที่ กล่าวไว้ ลักษณะเฉพาะของ Log Frame 1. จุดมุ่งหมายวัตถุประสงค์ของแผนงาน (Program Goal) ต้องระบุ โดยสรุ ป ให้ ชัดเจนว่า ต้องการ "เพิ่ม" หรือ "ลด" หรือ "บรรลุ" อะไร 2.ในโครงการหนึ่ งๆ จะมีวัตถุประสงค์ของโครงการ (Project Purpose) เพียง 1 ตัว ต้องระบุ โดยสุ รุป ให้ ชัดเจนว่าต้องการ "เพิ่ม" หรือ "ลด "หรือ "บรรลุ" อะไร และคําที่ ใช้ จะต้องไม่ซ้ากัมซ้ ากับผลงาน(Outputs) ของโครงการ 3. ผลงานของโครงการ (Project Outputs) ทุกรายการ มีความจําเป็ นต้องบรรลุ เพื่อที่ จะนํ าไปสู่ การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ (Project Purpose) โดย ผลงานจะต้องมีใจความสรุ ปชั ดเจนแสดงถึ งผลของการใช้ ทํากิจกรรมและ ทรัพยากร (Inputs)ลักษณะเฉพาะของ Log Frame 4. กิจกรรมและทรัพยากร (Inputs) ต้องแสดงให้ เห็ นทั้ งกิจกรรมต่างๆ ที่ จะ ปฏิ บัติและปั จจัยต่างๆ (Resources) ที่ ใช้ ในกิจกรรมนั้ นๆ อย่างเพียงพอที่ จะ บรรลุผลงาน (Outputs) ของโครงการ 5. จุดมุ่งหมายของแผนงาน (Program Goal) ของวัตถุประสงค์โครงการ (Project Purpose) ผลงาน ของโครงการ (Project Outputs) และกิจกรรม ความเป็ นเหตุเป็ นผลของตารางโครงการ (1) และทรัพยากร (Inputs) ที่ ใช้ จะต้องมีความสั มพันธ์ กันในแนวดิ่ ง ต้องมีเหตุผล 1. ความเป็ นเหตุเป็ นผลในแนวตั้ง สามารถแบ่งออกได้ เป็ น 2 ลักษณะคือความ ทั้ งจากบนลงล่าง (Top down) และจากล่างขึ้นบน (Bottom up) เป็ นเหตุเป็ นผลจาก "บน" ลง "ล่าง" ↓ HOW 6. เงื่อนไขประกอบงานของโครงการ (Important Assumptions) ที่ ระบุ ไว้ จะ ความเป็ นเหตุเป็ นผลจาก"ล่าง" ขึ้น "บน" 4 Why เป็ นเงื่อนไขที่ มีผลโดยตรงต่อความสํ าเร็จของโครงการในระดั บ ต่างๆ ทั้ ง 1.1 ความเป็ นเหตุเป็ นผลในลักษณะจาก "บน" ลง "ล่าง" จะเป็ นความสั มพันธ์ ระดั บกิจกรรมและทรัพยากร (Inputs) ผลงาน (Outputs) วัตถุประสงค์ ระหว่างจุดมุ่งหมายของแผนงานกับวัตถุประสงค์ของโครงการความสั มพันธ์ (Purpose)และ จุดมุ่งหมาย (Goal) โดยใช้ ข้อความสั้ นๆและวัดได้ ระหว่างวัตถุประสงค์ของโครงการกับผลงาน และความสั มพันธ์ ระหว่างผลงานกับ 7. รายละเอียดตัวชี้ วัดพร้อมเป้ าหมาย (Objectively Verifiable Indicators) ทรัพยากรที่ ต้องใช้ ลักษณะของความสั มพันธ์ ทั้ง 3 ระดั บจะเป็ นในลักษณะว่า ถ้ า ต้องอธิ บายออกมาเป็ นทั้ งตัวอักษรและตัวเลขที่ สามารถวัดขนาด ปริมาณเวลา ต้องการให้ ส่ิ งหนึ่ งสิ่ งใดเกิดขึ้นแล้ว จะต้องทําอย่างไรบ้าง (HOW) คุณภาพและค่าใช้ จ่ายได้ 8. สิ่ งพิสูจน์ ตัวชี้ วัด (Means of Verification) ต้องระบุ ว่าข้อมู ลหรือหลักฐานที่ 1.2 ความเป็ นเหตุเป็ นผลจาก "ล่าง"ขึ้น"บน"จะเป็ นความสั มพันธ์ ของความเป็ นเหตุ ใช้ มาจากไหน ต้องตรวจสอบได้ และมีการนํ ามาใช้ เป็ นมาตรฐานวัดอย่าง เป็ นผลของข้อความในแต่ละช่ องของตาราง ในทิ ศทางที่ ตรงกันข้ามกับความเป็ น แท้ จริง เหตุเป็ นผลจากบนลงล่าง โดยจะเป็ นการตอบคําถามว่า "ทําไม (WHY) จึงต้องทํา ในสิ่ งนั้ น" อา ตัวอย่างความเป็ นเหตุเป็ นผลในลักษณะจาก "บน" ลง "ล่าง" จุดมุ่งหมายแผนงาน พัฒนาคุณภาพบัณฑิ ตสาขาเกษตรและสิ่ งแวดล้อมศึ กษา P ทําอย่างไร? HOW วัตถุประสงค์ของโครงการ พัฒนาการเรียนการสอน ทําอย่างไร? Ho · ผลงาน อาจารย์มีคุณภาพในการจัดการเรียนรู ้ I ทําอย่างไร? Ho ่ ทรัพยากรที ต้องใช้ ฝึกอบรม ศึ กษาดูงาน ศึ กษาต่อ / ✅ ข้อดี ของการจัดทําโครงการด้ วยตารางเหตุผลสั มพันธ์ 1. เป็ นการเขียนโครงการตามหลักตรรกะวิธีซ่ึ งจะทําให้ โครงการ มีความสมเหตุ สมผล น่ าเชื่ อถื อและบรรจุเนื้ อหาสาระอย่างเป็ นหมวดหมู่และมีความชั ดเจนไว้ใน ที่ เดี ยวกัน ช่ วยทําให้ ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจโครงการได้ อย่างรวดเร็ว 2. เป็ นเครื่องมือที่ บังคับให้ ผู้จัดทําแผนโครงการ คิดวางแผนโครงการให้ ละเอียด 3. อํานวยความสะดวกให้ แก่ผู้วิเคราะห์ โครงการหรือผู ้พิจารณาโครงการ เพราะสิ่ ง ที่ ต้องพิจารณาปรากฎยู่ใน Log Frameหมดแล้ว 4. สํ าหรับผู ้บริหารโครงการ Log Frame จะช่ วยให้ ง่ายต่อการทําความเข้าใจสรุ ป โครงการ และใช้ เป็ นแนวทางในการดํ าเนิ นโครงการได้ เป็ นอย่างดี 5. ผู้ประเมินโครงการสามารถพิจารณาการประเมินผลจาก Log Frame ได้ โดยดู จากตัวบ่งชี้ แหล่งข้อมู ลหรือวิธีการพิสูจน์ และเงื่อนไข 6.ในกรณี ท่ี มีปัญหาอุ ปสรรรคทําให้ โครงการไม่บรรลุวัตถุประสงค์ก็อาจจะใช้ Log Frame เป็ นแนวทางที่ จะตัดสิ นใจว่าสมควรจะปรับปรุ งโครงการนั้ น หรือจะจัดทํา การเขียนโครงการ โครงการขึ้นมาใหม่เพื่อเสริมโครงการเดิ มให้ สมบู รณ์ ย่ิงขึ้น ข้อบกพร่องของการจัดทําโครงการด้ วยตารางเหตุผลสั มพันธ์ แบบประเพณี นิยม แบบเหตุผลสั มพันธ์ 1. การจัดทําโครงการแบบ Log Frame จะต้องจัดเตรียมข้อมู ลและรายละเอียด (Conventional Method) (Logical Framework Method) ต่างๆ ให้ ครบถ้ วนชั ดเจน ซึ่ งเป็ นเรื่องยากในการปฏิ บัติ เริ่มคิดจาก เริ่มคิดจาก 2. การเขียนรายละเอียดโครงการลงในแต่ละช่ องของ Log Frameจะต้อง > ทรัพยากร > ต้องการให้ เกิดอะไร ระมัดระวังให้ มีความรัดกมชั ดเจน และสอดดล้องเป็ นเหตุเป็ นผลซึ่ งกันและกัน จึง งบประมาณ & คน จากโครงการ ั ความนิ ยมจากผู ้จัดทําโครงการที่ จะนํ าเอา ใช้ เวลาในการเขียนมาก ทําให้ ไม่ได้ รบ ! ตอบสนองการทํางบประมาณ ! ตอบสนองการทํางบประมาณ Log Frame มาใช้ ในการจัดทําโครงการเท่ าที่ ควร แบบแสดงรายการ แบบมุ่งเน้ นผลงาน 3. การจัดทําโครงการระบบ Log Frame มีประโยชน์ มากในการเขียนโครงการที่ มี วิธีเขียน วิธีเขียน วัตถุประสงค์ประการเดี ยว (Single Objective) ถ้ าจะนํ าวิธีการนี้ มาเขียนโครงการ = พรรณนา = อธิ บายเหตุผลแสดงความ ที่ มีวัตถุประสงค์หลายอย่าง (Multiple Objective) มักจะใช้ เขียนไม่ได้ สั มพันธ์ ระหว่างโครงการกับ ดั งนั้ นผู ้จัดทําโครงการจึงต้องแยกเขียนเป็ นโครงการย่อยๆ หลายโครงการ เพื่อ จุดมุ่งหมายของแผนงาน ทําให้ โครงการที่ เขียนแต่ละโครงการมีวัตถุประสงค์เพียงประการเดี ยว การเขียนโครงการแบบเหตุผลสั มพันธ์ แสดงให้ เห็ นความสั มพันธ์ อย่างเป็ นระบบ วัตถุประสงค์ของโครงการ - จุดมุ่งหมายของแผน วัดอุ ประสงค์ของโครงการ - ผลงานที่ ต้องการ กระบวนการทํางาน - ทรัพยากรของโครงการ ทรัพยากร - ผลผลิตจากโครงการและผลลัพธ์ ่ ความสั มพันธ์ ในเชิ งเหตุและผลที ประสานกันทั้ งในแนวตั้งและแนวนอน จุดเด่ นของโครงการแบบเหตุผลสั มพันธ์ การกําหนดตัวชี้ วัดความสํ าเร็จ เป็ นรู ปธรรม ทุกคนเข้าใจโครงการทั้ งหมดได้ โดยง่าย ผู ้บริหารมั่นใจในการอนุ มัติโครงการ ั มอบโครงการ มีความมั่นใจในการนํ าไปปฏิ บัติ ผู ้รบ เทคนิ คในการจัดทําโครงการโดยใช้ ตารางเหตุผลสั มพันธ์ ์ ประเมินผลสั มฤทธิ ของโครงการได้ ทันที 1)การเขียนโครงการอย่างเป็ นระบบ 2)มองความสั มพันธ์ ของส่ วนต่างๆ ของโครงการและสั มพันธ์ กับแผนงานด้ วย หลักเหตุผล 3) วิเคราะห์ โครงการโดยอาศั ยหลักความสั มพันธ์ ในเชิ งเป็ นเหตุเป็ นผล หรือ หลักตรรกวิทยา 4)แสดงรายละเอียดในรู ปตาราง 4x4 Matrix ข้อดี และข้อจํากัดของโครงการแบบ Log Frame ข้อดี ข้อจํากัด สาระสํ าคัญอยู่ในหน้ าเดี ยวกัน เตรียมข้อมู ลยาก ถ้ ามีหน่ วยงาน มีแนวทางในการจัดกิจกรรม ย่อยมากถึ งกับเป็ นปั ญหา ใช้ เป็ นเครื่องมือในการติดตาม การเขียนสาระสํ าคัญในตาราง และประเมินผลโครงการได้ ต้องสั้ น ต้องอาศั ยผู ้รู้ มีแหล่งข้อมู ลและวิธีตรวจสอบ ถ้ าความสั มพันธ์ น้ั นขาดราย ข้อมู ล ละเอียด ผู ้อ่านโครงการจะไม่เข้าใจ Gantt Chart พัฒนาขึ้นโดย Henry L. Gantt ในปี 1917 เป็ นกราฟแท่ งในแนวนอนซึ่ งแสดงขอบเขดของระยะเวลาของกิจกรรม แต่ละขั้นตอน โดยรายชื่ อกิจกรรมจะถูกแสดงไว้ในแนวตั้งทางด้ านซ้ ายมือ ระยะเวลาการทํางานจะแสดงในแนวนอนของแผนภาพ พ.ค. กพ. 0 -... การประเ นผ ลโครงกา ·ประเ นระห ่างก การด เ นโคร ② ือส น ประเ นผ ลเม ดโ p- value Sig. นิ สิ้ สุ ว่ ำ มิ มิ มิ #6 การกําหนดตัวชี้ วัดงานสาธารณสุ ข ความหมายและความสํ าคัญของตัวชี้ วัด ผลลัพธ์ ความสํ าเร็จ ความหมายของตัวชี้ วัด (Indicator) : ข้อบ่งชี้ ของสภาพการณ์ หรือสิ่ งที่ สะท้ อนให้ เห็ นถึ งสภาพการณ์ : ตัวแปรที่ ช่ วยวัดการเปลี่ยนแปลง (WHO) สถานการณ ์ จ ↳เป ยนแพลงไ - ตัวชี้ วัด Indicator เกณฑ์ ช้ี วัด Target Criterion al Standard for เครื่องชี้ วัด Indicators Health # ดั ชนี ชี้ วัด Index ดั ชนี วัด Indicies HDI = Human Development Index การ ฒนาคน =ต วช ั อา ยเฉ ยแ รก อยู่ในระะบบการ ู รายได้เยอ Life expectancy at birth + Educational attainment + Purchasing Power (Real GDP) =>> ผ ต ณ มวล รวม ของประเมาศ รายไต / ้ คุณลักษณะตัวชี้ วัดที่ ดี 1. Valid (ความตรง): มีความเที่ ยง สามารถวัดในสิ่ งที่ ต้องการวัดได้ 2.Objective (เป็ นรู ปธรรม) : ต้องมีการวัดเป็ นหน่ วยนั บได้ เชิ งปริมาณ 3. Reliable (เชื่ อถื อได้ ): ถ้ าวัดโดยบุ คคลที่ ต่างกันในสภาพการณ์ ท่ี คล้ายคลึงกันต้องได้ ผลเหมือนกัน 4. Sensitive (ความไว) : ตัวชี้ วัดต้องมีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงของ สภาพการณ์ 5. Specific (ความจําเพาะ เจาะจง) : ต้องสะท้ อนให้ เห็ นเฉพาะการเปลี่ยน แปลงในสภาพการณ์ ท่ี เกี่ยวข้องเท่ านั้ น ตัวชี้ วัดของอะไร ? ปั จจัยนํ าเข้า (INPUT) = ทรัพยากรการบริหารจัดการที่ ต้องใช้ ได้ แก่ เงิน 4M1T บุ คลากร หรือกําลังคน และวัสดุอุปกรณ์ เช่ น อุ ปกรณ์ การตรวจรักษา เวชภัณฑ์ และครู ภัณฑ์ อ่ืนๆ กระบวนการ (PROCESS) = กิจกรรมที่ ได้ กระทําตามแผนงาน หรือ โครงการนั้ นๆเช่ น การฝึ กอบรม การตรวจวินิจฉั ย การเยี่ยมบ้านวัดเป็ น ้ จํานวนครังของการทํ ากิจกรรม ผลงาน (OUTPUT) = สิ่ งที่ ได้ หรือผลที่ ได้ ทันที ทันใดเมื่อปฏิ บัติเมื่อ กิจกรรมนั้ นๆ สิ้ นสุ ดลง เช่ น จํานวนผู้เข้าฝึ กอบรมจํานวนสื่ อที่ ผลิต จํานวน เด็ กที่ ได้ รบ ั การฉี ดวัดวัดซี น ผลลัพธ์ (EFFECT) = ผลที่ ได้ ตามมาหลังจากเกิดผลงานแล้วจะ ออกมาใน รู ปของการเปลี่ยนแปลงความรู ท้ ั ศนคติและพฤติกรรมหรือการปฏิ บัติ เช่ น มารดามีความรู เ้ พิ่มขึ้น บุ ตรมาฉี ดวัดซี น เจ้าหน้ าที่ ปฏิ บัติงานได้ ถูกต้อง ประสิ ทธิ ผลของงาน / แผนงาน / โครงการ ผลกระทบ (IMPACT) = ผลที่ คาดว่าจะเกิดในระยะสุ ดท้ ายเป็ นเรื่องของ ภาวะสุ ขภาพเช่ น การตายลดลง การป่ วยลดลง ความพิการลดลง ต้ ี้ ชั หั ปั วั ยุ พั ลี ศึ ลิ ลี่ ภั รุ ฑ์ KISS" ~ การสร้างตัวชี้ วัด เอาไป เป ยบเ ยบ การนั บ (Count) - เป็ นวิธีการวัดที่ ง่ายที่ สุ ด ห ว วยเ ย อัตรา (Rate) - เป็ นการวัดความถี่ ของเหตุการณ์ in standrad, Criteria Keep ปฏ ผ เทศ อัตราส่ วน (Raผัo) - เป็ นส่ วนที่ แยกออกจากกันแล้วมาปรียบเที ยบกัน สั ดส่ วน (Proportion) - เป็ นการวัดความสั มพันธ์ ระหว่างส่ วนหนึ่ งต่อส่ วนทั้ งหมด I t · · · ร้อยละ (Percentage) - เป็ นค่าสั ดส่ วนด้ วย 100 Simple and ม ี ยาม - > กตนเ าใจต แหล่งข้อมู ล 1. ข้อมู ลที่ มีอยู่แล้ว Succinct / straight forward / Short การจดบันทึ กรายงาน รายงานการใช้ วัสดุอุปกรณ์ ทะเบียนผู ้มารับบริการ เวชระเบียน รายงานกิจกรรม บันทึ กที่ เกี่ยวกับประชากรกลุ่มต่างๆ เช่ น กลุ่มหญิงมีครรภ์ กลุ่มเด็ กอายุ 0 - 5 ปี กลุ่มคนชรา กลุ่มวัยแรงงาน เป็ นต้น 2. การปรับใช้ แบบฟอร์มเพื่อการเก็บรวบรวมข้อมู ล 3.สร้างเครื่องมือขึ้นมาใหม่เพื่อเก็บรวบรวมข้อมู ล ใช้ เวลานาน เทคนิ คการเก็บรวบรวมข้อมู ล ทบทวนจากบันทึ กรายงาน (Record review) ไปดูรายงาน จากการสั งเกต (Observation) มีส่วนร่วม,ไม่มีส่วนร่วม จากการสํ ารวจอย่างเร่งด่ วน (Rapid Survey) จากการสั มภาษณ์ ผู้ให้ บริการ (Health Worker Interviews) จากการสนทนากลุ่ม (Focus Group) อาจเพิ่ม in-depth interview สนทนาเชิ งลึก ถามที ละคน ความถี่ ของการเก็บรวบรวมข้อมู ล ่ พิจารณาจากผู้ทีใช้ ข้อมู ลว่าต้องการทราบผลบ่อยครังแค่ ้ พยายามให้ จํานวนครังของการเก็ บข้อมู ลน้ อยที่ สุ ด ้ ไหน & การเก็บข้อมู ลที่ เป็ นไปอย่างต่อเนื่ องต้องเก็บตามจํานวนครังที ้ ่ เกิดเหตุการณ์ ต่างๆ นั้ นอย่างครบถ้ วน การเก็บรวบรวมข้อมู ลที่ เป็ นช่ วงเวลา ต้องระบุ ด้วยว่ากระบวนการเก็บข้อมู ล นั้ น ได้ ดําเนิ นการไปตามที่ คาดหวังหรือไม่ ผลงาน ตัวชี้ วัดทางด้ านบริการที่ เป็ นคําที่ ใช้ โดยทั่ วไป · ผลลัพธ์ ความครอบคลุม (พฤติกรรม) ความรู ้ และทั กษะ (ของประชากร กลุ่มเป้ าหมาย) ความพึงพอใจของผู้รบ ั บ

Use Quizgecko on...
Browser
Browser