2015 International Business Administration Chapter 2 PDF
Document Details
ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร
Tags
Related
- Core Topic 2 - Building a Global Business - The CAGE Framework PDF
- International Business Administration PDF
- International Business Administration 2015 Past Paper PDF
- IBT Modules - University of Eastern Pangasinan - PDF
- Modalidades del Comercio Internacional Sesión 5 PDF
- International Marketing Past Paper PDF
Summary
This document discusses international business administration, focusing on the various environments (political, legal, economic, technological) influencing international business operations. It also identifies key concepts including political systems, economic systems, and intellectual property. The document provides a framework for understanding the factors affecting international business activities.
Full Transcript
33 การบริหารธุรกิจระหว่ างประเทศ รศ. ดร. ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร บทที่ 2 สภาพแวดล้ อมในการบริหารธุรกิจระหว่ างประเทศ เพื่อให้ ผ้ ูเรียน 1เข้ าใจบทบาทของสภาพแวดล้...
33 การบริหารธุรกิจระหว่ างประเทศ รศ. ดร. ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร บทที่ 2 สภาพแวดล้ อมในการบริหารธุรกิจระหว่ างประเทศ เพื่อให้ ผ้ ูเรียน 1เข้ าใจบทบาทของสภาพแวดล้ อมที่มีต่อธุรกิจระหว่ างประเทศ 2วิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมทางการเมือง กฎหมาย และเศรษฐกิจต่ อการ ดาเนินงานของธุรกิจระหว่ างประเทศได้ ดี 33 สภาพแวดล้ อมของกิจการข้ ามชาติ กิจการที่ดาเนินงานในระดับนานาชาติ ต้ องพบ สภาพแวดล้ อมหลากหลาย เช่ น – สภาพแวดล้ อมในประเทศที่เริ่มกิจการ (home country) – สภาพแวดล้ อมในประเทศที่กิจการขยายขอบเขตการ ดาเนินงานไป (host country) – และสภาพแวดล้ อมที่เกี่ยวกับสถานการณ์ ระหว่ างประเทศ (international environment) การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 2 33 สภาพแวดล้ อมในการดาเนินงานระหว่ างประเทศ สภาพแวดล้ อมทางการเมืองและกฎหมาย (Politics & Laws) สภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ (Economics) สภาพแวดล้ อมทางสังคมและวัฒนธรรม (Social & Culture) สภาพแวดล้ อมทางเทคโนโลยี (Technology) การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 3 33 สภาพแวดล้ อมทางการเมือง (Political Environment) ระบบการปกครอง (Political System) – ระบอบประชาธิปไตย (Democracy) – ระบอบเผด็จการ (Totalitarianism) เผด็จการคอมมิวนิสต์ (Communist Totalitarianism) เผด็จการศาสนา (Theocratic Totalitarianism) เผด็จการอันเนื่องจากเผ่ าพันธุ์ (Tribal Totalitarianism) เผด็จการขวาจัด (Right-Wing-Totalitarianism) การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 4 36 ผลทางการเมืองที่มีต่อการดาเนินธุรกิจระหว่ างประเทศ (The Effect of Political Regime on International Business) ความเสี่ยงทางการเมือง (political risk) หมายถึงแนวโน้ มที่ การเมืองจะก่ อให้ เกิดการเปลี่ยน แปลงที่ไม่ คาดหวังและ รุ น แรงต่ อ สถานการณ์ ทั่ ว ไป ส่ ง ผลต่ อ โอกาสและการ ดาเนินงานของธุรกิจ – ความเสี่ยงจากการโอนทรั พยากรต่ างๆ (transfer risk) – ความเสี่ยงจากการดาเนินงาน (operating risk) – ความเสี่ยงในเรื่ องของทุน (ownership risk) การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 5 การพิจารณาความเสี่ยงทางการเมือง 40 (The Consideration of Political Risk) พิจารณาประวัตคิ วามเป็ นมาทางการเมืองของประเทศนัน้ ๆ ศึกษากลุ่มอานาจในสถานการณ์ ปัจจุบัน พิจารณาถึงกลไกในการตัดสินใจในระดับปฏิบัตกิ าร พิจารณาแนวโน้ มในอนาคตของบุคคลหรื อพรรคการเมืองที่จะ เป็ นรัฐบาล พิจารณาผลกระทบต่ อธุรกิจที่จะเข้ าไปลงทุนในอนาคต การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 6 ระบบการเมืองสากล 43 (Global Political System) การเคลื่ อ นเข้ าสู่ ความเป็ นสากลนี ้ คล้ ายรู ป แบบของการที่ ประเทศต่ างๆจะมีความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันทั่วโลกและไร้ รัฐ หรื อพรมแดนระหว่ า งประเทศตามแนวคิดของคาลส์ มาร์ ค ผู้ เสนอแนว ความคิดเกี่ยวกับระบอบสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ แต่ เป็ นไปในทางที่ตรงข้ ามกับแนวความคิดของมาร์ คโดยสิน้ เชิง กล่ าวคื อ เกิ ด จากระบบทุ น นิ ย มและการเมื อ งในระบอบ ประชาธิปไตยอันเป็ นสิ่งที่มาร์ คคัดค้ านและเสนอว่ าควรกาจัดให้ หมดไปจากโลก การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 7 สภาพแวดล้ อมทางกฎหมาย 44 (The Legal Environment) กฎหมายของแต่ ละประเทศมีความแตกต่ างกัน ทัง้ ในแง่ เนื อ้ หา บทกาหนดโทษและผลบังคับใช้ ในทางปฏิบัติ ทาให้ กิจการข้ าม ชาติต้ อ งระวั ง เนื่ อ งจากการด าเนิ น กิ จ กรรมทางการตลาดใน ประเทศต่ างๆ ต้ องเกี่ยวข้ องกับการนาเสนอสินค้ า การโฆษณา และการส่ งเสริ มการจาหน่ าย ซึ่งแต่ ละประเทศมีกฎหมายหรื อ ข้ อบังคับที่แตกต่ างกัน สิ่งเหล่ านีเ้ กี่ยวข้ องกับชีวิตประจาวันของ ประชาชน รั ฐบาลจึงให้ ความสาคัญทัง้ ในแง่ ของการปกป้องสิทธิ ประโยชน์ ของผู้บริ โภค และในแง่ ของวัฒนธรรมประเพณีของชน ในชาตินัน้ ๆ การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 8 44 กฎหมายสาคัญระหว่ างประเทศ (Important International Trade Laws) กฎหมายที่ เกี่ ยวข้ องกั บ ทรั พย์ สิ น ทางปั ญญา (Intellectual Property) – เครื่ องหมายการค้ า (trade mark) เป็ นเครื่ องหมายที่ใช้ แสดงยี่ห้อ หรื อ สัญลักษณ์ ท่ ีทาให้ สินค้ าหรื อบริ การของกิจการใดกิจการหนึ่งมีความ แตกต่ างจากผู้อ่ ืน – ลิขสิทธิ์ (copy right) เกี่ยวข้ องในส่ วนที่เป็ นงานวรรณกรรม ศิลปะ รวมทัง้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต่างๆ – สิทธิบัตร (patent) เกี่ยวข้ องในส่ วนที่เป็ นการประดิษฐ์ คิดค้ นสิ่งใหม่ ๆ ทางเทคโนโลยี การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 9 45 การละเมิด (infringement) ทรัพย์ สินทางปั ญญา มี 3 รูปแบบดังต่ อไปนี ้ การปลอมแปลง (counterfeiting) การปรับเครื่องหมายการค้ า (associative counterfeit) การลักลอบผลิต (piracy) การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 10 46 กฎหมายป้องกันการผูกขาด (Antitrust Law) เป็ นกฎหมายส าหรั บ ระบบเศรษฐกิ จ แบบทุ น นิ ย มที่ เ น้ นการ แข่ งขันเสรี เพราะหากมีการผูกขาด การค้ าเสรี ย่อมเป็ นไปได้ ยาก การผูกขาดมีทงั ้ การผูกขาดโดยเอกชนหรือการผูกขาดโดยรัฐ การ ผูกขาดโดยเอกชนเกิดจากกิจการขนาดใหญ่ มีความได้ เปรี ยบทัง้ ในแง่ เงินทุนและการบริ หารจัดการ สามารถมีส่วนแบ่ งตลาดสูง ถึง ขั น้ ที่ส ามารถก าหนดราคาขายได้ ตามที่ต้อ งการเพราะไม่ มี คู่แข่ ง ส่ วนการผูกขาดโดยรั ฐได้ แก่ การที่รัฐเข้ ามาดาเนิ นธุ รกิจ และใช้ อานาจรัฐปกป้องไม่ ให้ กิจการอื่นแข่ งขัน เช่ นรัฐวิสาหกิจ การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 11 47 การแก้ ข้อพิพาท (Conflict Resolution) การแก้ ปัญหาความขัดแย้ งทางธุรกิจของแต่ ละประเทศมีลักษณะ แตกต่ างกัน บางประเทศการแก้ ปัญหาไม่ นิยมนาเรื่ องสู่ศาล แต่ นิยมเจรจาประนี ประนอมกันมากกว่ า เช่ นประเทศในกลุ่ มทาง เอเชี ย บางประเทศนิ ย มแก้ ปั ญหาในการน าเรื่ องสู่ ศ าล เช่ น ประเทศในกลุ่ ม ทางตะวั น ตก การติดต่ อ ทางธุ ร กิจ ในประเทศ เหล่ านี จ้ ะผูกพันกันด้ วยข้ อสั ญญามากกว่ าความผูกพันส่ วนตัว และการประนีประนอม เมื่อเกิดกรณีพิพาทขึน้ ก็นาเรื่ องฟ้องร้ อง ในศาล ดังนัน้ เวลาทาสัญญาจึงต้ องพิจารณาโดยละเอียด การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 12 การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 13 สภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจ 47 (Economic Environment) สภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิ จทัง้ ในประเทศเจ้ าของทุน (home country) ประเทศที่รับการลงทุน (host country) และเศรษฐกิจโลก (world economy) มีส่วนสนับสนุนหรื อเป็ นอุปสรรคต่ อการดาเนิน ธุรกิจของบริ ษัทข้ ามชาติ และมีผลถึงธุรกิจเกี่ยวเนื่องไม่ ว่าธุรกิจ ที่ เ ป็ นเป็ นแหล่ ง วั ต ถุ ดิ บ (supplier) หรื อ ธุ ร กิ จ ที่ ส นั บ สนุ น การ ดาเนินงาน การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 14 51 ระบบเศรษฐกิจ (Economic system) ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) ระบอบคอมมิวนิสต์ (Communism) ระบบเศรษฐกิจผสม (Mixed Economy) การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 15 53 การปรับองค์ การของรัฐเป็ นเอกชน (Privatization) การบริ ห ารในรู ป แบบของเอกชน (private business) มี ประสิทธิภาพมากกว่ าการบริหารแบบรัฐเป็ นผู้ดาเนินการมาก ปั จจัยบางชนิดไม่ ใช่ หน้ าที่ของรัฐ หน่ วยงานหลายหน่ วยงานเป็ นภาระ เป็ นแรงกดดันจากกลไกทางการค้ าเสรีท่ เี กิดขึน้ ตามกระแสโลก การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 16 57 การแปรรูปรัฐวิสาหกิจหรือ การร่ วมมือระหว่ างภาครัฐและเอกชน เป็ นการกระตุ้นให้ เกิดการค้ าเสรี ท าให้ ธุ ร กิ จ ของรั ฐ ต้ องเรี ย นรู้ ที่ จ ะพั ฒ นาหรื อ หาแหล่ ง เทคโนโลยีเข้ ามาใช้ ก่ อให้ เกิดการพัฒนากิจการของไทย การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 17 58 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ (Economic Integration) integration) โดยเป็ นการตกลงร่ วมกันระหว่ างประเทศต่ างๆซึ่งมัก อยู่ในภูมิภาคเดียวกัน โดยมีวัตถุประสงค์ ท่ ีจะลดอุปสรรคทาง การค้ าทัง้ ในส่ วนที่เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับภาษี (tariffs)และอุปสรรคที่ ไม่ ใช่ ภาษี (non-tariffs) ตลอดจนกฎระเบียบข้ อบังคับต่ างๆที่มีผล ต่ อการค้ าระหว่ างประเทศและขจัดให้ หมดไปในที่สุด เพื่อให้ เกิด เสรี ในการเคลื่อนย้ ายสินค้ าและบริ การตลอดจนปั จจัยทางการ ผลิตระหว่ างประเทศ ซึ่งในที่สุดก่ อให้ เกิดผลดีต่อผลผลิตและ ความเป็ นอยู่ของประชาชนในกลุ่ม การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 18 60 ระดับของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ (Level of Economic Integration) เขตการค้ าเสรี (free trade area) การรวมกลุ่มทางศุลกากร (customs union) ตลาดร่ วม (common market) สมาพันธ์ ทางเศรษฐกิจ (economic union) สมาพันธ์ ทางการเมือง (political union) การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 19 63 เขตความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ (The Economic Cooperation Areas) สหภาพยุโรป (European Union) www.eurunion.org เขตการค้ าเสรีอเมริกาเหนือ (The North American Free Trade Agreement หรือ NAFTA) www.nafta.org กลุ่มแอนเดียน (Adean Group) www.comunidadandina.org กลุ่มเมอร์ คอเซอร์ (Mercosur) www.mercosur.org เขตความร่ วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (Asia Pacific Economic Cooperation) www.apec.org การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 20 72 สภาพแวดล้ อมทางเทคโนโลยี (Technological Environment) หมายถึงปั จจัยทางด้ านวิทยาการใหม่ ๆที่เกิดขึน้ ในโลก ในแขนง ต่ า งๆไม่ ว่ า จะเป็ นวิ ท ยาศาสตร์ วิ ศ วกรรมศาสตร์ การบริ ห าร จัดการ คาว่ า “เทคโนโลยี” ในความหมายของการบริ หารธุ รกิจ ไ ม่ ไ ด้ จ า กั ด อ ยู่ ที่ สิ่ ง ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ห รื อ วิศวกรรมศาสตร์ เท่ านัน้ แต่ ยังรวมถึงเทคโนโลยีทางการบริ หาร จัดการ เช่ น “การบริ หารเชิงกลยุทธ์ ” (strategic management) หรืออื่นๆ การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 21 การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 22 การอภิปรายท้ ายบท 74 จงอภิปรายถึงกรณีท่ ีบริษัทผลิตอาหารของไทย จะไปดาเนินธุรกิจใน ประเทศจีน ผู้บริหารของบริษัทควรมีการพิจารณาสภาพแวดล้ อม ภายในประเทศจีนที่จะมีผลต่ อการดาเนินธุรกิจของตนอย่ างไร ให้ สรุ ป เป็ นข้ อๆพร้ อมทัง้ ยกเหตุผลประกอบ การพิจารณาความเสี่ยงทางการเมืองควรเริ่มต้ นอย่ างไร และมี กระบวนการอย่ างไรเพื่อให้ ได้ ข้อสรุ ปที่ใกล้ เคียงความเป็ นจริง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในที่ต่างๆ มีผลดีต่อเศรษฐกิจของแต่ ละ ประเทศอย่ างไรและมีผลเสียอย่ างไร เขตความร่ วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชียแปซิฟิค (APEC) จะมีผลต่ อ ธุรกิจในประเทศไทยอย่ างไร การแปรรู ปรั ฐวิสาหกิจ (privatization) จะมีบทบาทต่ อการค้ าระหว่ าง ประเทศอย่ างไร มีผลดีและผลเสียอย่ างไรบ้ าง ในกรณีของประเทศไทย ควรมีการแปรรู ปรั ฐวิสาหกิจหรื อไม่ อภิปรายพร้ อมทัง้ ยกเหตุผล ประกอบให้ เหมาะสม การบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ 23 เว็บไซด์ แนะนา CNN & Fortune http://money.cnn.com องค์ การการค้ าโลก http://www.wto.org/ เขตการค้ าเสรี อาเซียน http://www.aseanse.org/ World fact book http://www.cia.gov/cia/publications/factbook/geos/us.html การบริหารธุรกิจระหว่ างประเทศ 24