2015-3-ch-4-internationalbusinessadministration_1.pdf

Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

Full Transcript

3 การบริหารธุรกิจระหว่ างประเทศ รศ. ดร. ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร บทที่ 4 ทฤษฎีการค้ าระหว่ างประเทศ เพื่อให้ ผ้ ูเร...

3 การบริหารธุรกิจระหว่ างประเทศ รศ. ดร. ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร บทที่ 4 ทฤษฎีการค้ าระหว่ างประเทศ เพื่อให้ ผ้ ูเรี ยน อธิบายบทบาทของทฤษฎีต่างๆทางการค้ าระหว่ างประเทศได้ ประยุกต์ ทฤษฎีในการอธิบายสถานการณ์ ทางการค้ าระหว่ างประเทศในแต่ ละสถานการณ์ สามารถพิจารณาแนวโน้ มในอนาคตที่เกี่ยวกับการค้ าระหว่ างประเทศของไทย โดยนาทฤษฎีท่ ีเหมาะสมมาอธิบาย อธิบายชนิดและอุปสรรคทางการค้ าในรูปแบบต่ างๆ วิเคราะห์ แนวโน้ มที่ประเทศต่ างๆจะเผชิญอุปสรรคทางการค้ าและหาแนวทางแก้ ไขอย่ างเหมาะสมแก่ กรณี 93 ทฤษฎีการค้ าระหว่ างประเทศ ลัทธิการค้ านิยม (Merchantilism) ทฤษฎีการได้ เปรียบโดยสมบูรณ์ (Absolute Advantage) ทฤษฎีการได้ เปรียบเปรียบเทียบ (Comparative Advantage) ทฤษฎีของเฮกเชอร์ ออแลง (Heckscher-Ohlin Theory) ทฤษฎีวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (The Product Life-Cycle Theory) ทฤษฎีความได้ เปรียบในการแข่ งขันระหว่ างประเทศ (National Competitive Advantage) การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 2 ลัทธิการค้ านิยม 94 (Merchantilism) 1996) เกิ ด จากแนวคิ ด ที่ ว่ า การเสริ ม สร้ างความเข็ ม แข็ ง ทาง เศรษฐกิจของประเทศใดๆ รั ฐควรส่ งเสริ มพัฒนาการทางธุรกิจ และการค้ าระหว่ างประเทศ และโดยที่เงินและทองเป็ นโลหะที่มี มูลค่ าสาคัญในสมัยนัน้ ดังนัน้ การค้ าระหว่ างประเทศที่ส่งออกได้ มากกว่ านาเข้ าหรื อการเกินดุลการค้ าทาให้ ประเทศได้ เงินและ ทองเป็ นทุ น ส ารองของประเทศ ผู้ มี บ ทบาทส าคั ญ ในทฤษฎี ดังกล่ าวได้ แก่ โธมัส มุน (Thomas Mun) ในปี ค.ศ.1630 การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 3 ทฤษฎีการได้ เปรี ยบโดยสมบูรณ์ 94 (Absolute Advantage) ประเทศที่ไม่ ชานาญในการผลิตสินค้ าชนิดใดๆแต่ ต้องทาการ ผลิตสินค้ าชนิดนัน้ ส่ งผลต่ อต้ นทุนการผลิตที่สูง ควรให้ แต่ ละ ประเทศผลิตสินค้ าที่ตนชานาญและแลกเปลี่ยนกันเพื่อต้ นทุนที่ ต่ากว่ า การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 4 ทฤษฎีความได้ เปรี ยบเปรี ยบเทียบ 96 (Comparative Advantage) ประเทศที่มีความได้ เปรี ยบสินค้ าชนิดใดควรทาการผลิตสินค้ านัน้ และซือ้ สินค้ าที่ตนไม่ มีความชานาญและต้ องใช้ ต้นทุนการผลิตสูงจากประเทศที่มี ความชานาญและสามารถผลิตได้ ในต้ นทุนที่ต่ ากว่ า เมื่อมีการค้ าระหว่ าง ประเทศในลักษณะนี ้ จะก่ อให้ เกิดผลรวมของทัง้ สองประเทศสูงกว่ าที่แต่ ละประเทศจะผลิ ต สิ น ค้ า ทุ ก ชนิ ด แม้ บ างประเทศมี ค วามได้ เ ปรี ย บอี ก ประเทศหนึ่ ง ในการผลิตสินค้ าหลายชนิ ด แต่ ความสามารถในการผลิต สินค้ าชนิดใดสูงสุด ก็ควรใช้ ทรั พยากรผลิตสินค้ าชนิดที่ให้ ผลผลิตสูงกว่ า การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 5 ทฤษฎีเฮกเชอร์ -ออแลง 99 (Heckscher-Ohlin Theory) ทฤษฎี ได้ กล่ าวว่ าในระบบการค้ าระหว่ างประเทศนั น้ แต่ ละประเทศส่ ง สินค้ าที่ต้องใช้ ทรั พยากรในประเทศที่มีอยู่ออกจาหน่ ายสู่ต่างประเทศ และ ต้ อ งสั่ งสิ น ค้ า เข้ า ที่ ไ ม่ ส ามารถท าในประเทศเนื่ อ งจากขาดทรั พ ยากรที่ เกี่ยวข้ องกับกระบวนการผลิต ดังนัน้ การค้ าระหว่ างประเทศจะถูกกาหนด โดยปั จจัยพืน้ ฐานของประเทศ มิใช่ โดยผลผลิตจากแรงงานเพียงประการ เดียว การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 6 ทฤษฎีวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ 101 (The Product Life-Cycle Theory) สหรัฐเป็ นผู้คดิ ค้ นผลิตภัณฑ์ ใหม่ ๆ และผลิตจาหน่ ายในตลาด อเมริกา แต่ เหตุผลทางด้ านต้ นทุนโดยเฉพาะอย่ างยิ่งค่ าแรง ทาให้ ผลิตภัณฑ์ เหล่ านัน้ แม้ จะคิดขึน้ ในสหรัฐ แต่ ก็อาจผลิตจากประเทศ อื่นและส่ งกลับเข้ าไปจาหน่ ายในสหรัฐอเมริกา สินค้ าใหม่ ๆเริ่มในสหรัฐแล้ วกระจายไปตามประเทศที่พฒ ั นาลดหลั่นลงไป การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 7 102 การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 8 ทฤษฎีความได้ เปรียบในการแข่ งขันระหว่ างประเทศ 102 (National Competitive Advantage) ปั จจัยพืน้ ฐานของประเทศ (factor endowments) ความต้ องการสินค้ าชนิดดังกล่ าวของประเทศนัน้ ๆ (demand conditions) อุตสาหกรรมสนับสนุน (related and supporting industries) กลยุทธ์ ทางธุรกิจ โครงสร้ างทางการบริหารและคู่แข่ งขันขององค์ กรธุรกิจ (firm strategy, structure, and rivalry) การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 9 ชนิดของอุปสรรคทางการค้ า 108 (Type of Trade Barrier) อุปสรรคจากภาษีและโควต้ า (Tariff and Quota) – อุปสรรคจากภาษีขาเข้ า (Tariff) – การจากัดปริมาณนาเข้ า (quantity limit) – การกาหนดราคาขายร่ วมในตลาดระหว่ างประเทศ (international price fixing) อุปสรรคจากปั จจัยที่ไม่ ใช่ ภาษี (Nontarrif Barrier) – การควบคุมการทางการเงิน (financial control) – การควบคุมการลงทุนจากต่ างประเทศ (foreign investment control) – ปั จจัยอื่นๆ การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 10 คาถามเพื่อการอภิปรายท้ ายบท ลั ท ธิ ก ารค้ า นิ ย ม (Merchatilism) และกฏแห่ ง การได้ เ ปรี ย บโดยสมบู ร ณ์ (Absolute Advantage) ทฤษฎีใดที่เหมาะกับโลกของความเป็ นจริ งมากกว่ า กัน และแต่ ละทฤษฎีมีข้อดีและข้ อเสียอย่ างไร ด้ วยทฤษฎีความได้ เปรี ยบในการแข่ งขันระหว่ างประเทศ รั ฐบาลไทยควร วางแผนและกาหนดทิศทางการค้ าระหว่ างประเทศโดยประยุ กต์ ท ฤษฎี ดังกล่ าวมาใช้ ได้ อย่ างไร ด้ วยทฤษฏีเฮกเชอร์ -ออแลงและทฤษฎีวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ประเทศ ไทยจะแสวงหาผลประโยชน์ ให้ กับประเทศบนแนวทางดังกล่ าวได้ อย่ างไร อุปสรรคทางการค้ า (Trade Barrier) ระหว่ างประเทศ มีผลดีและผลเสียต่ อ แต่ ละประเทศอย่ างไร การขจัดอุปสรรคทางการค้ าระหว่ างประเทศให้ หมด ไปจะก่ อให้ เกิดผลดีและผลเสียต่ อประเทศต่ างๆอย่ างไร ยกเหตุผลและ ตัวอย่ างประกอบด้ วย การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 11 เว็บไซด์ แนะนา David Ricardo http://en.wikipedia.org/wiki/David_Ricardo Adam Smith http://www.blupete.com/Literature/Biographies/Philosophy/Smith.htm Thomas Mun http://www.northpark.edu/history/Classes/Sources/Mun.PS.html Michael Porter http://www.cbpa.csusb.edu/lhanson/Mgmt_490/porter.doc Geert Hofstede http://www.geert-hofstede.com/ http://www.cyborlink.com/besite/hofstede.htm http://geert-hofstede.international-business-center.com/index.shtml การบริ หารธุรกิจระหว่างประเทศ 12

Use Quizgecko on...
Browser
Browser