🎧 New: AI-Generated Podcasts Turn your study notes into engaging audio conversations. Learn more

ชาววังสวนสุนันทา บทที่1.pdf

Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

Full Transcript

บทที่ 1 ประวัตศิ าสตร์ สวนสุนันทา ยุวดี คฤหบดี...

บทที่ 1 ประวัตศิ าสตร์ สวนสุนันทา ยุวดี คฤหบดี ชุตมิ า มณีวฒ ั นา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทาเดิมเป็ นเขตพระราชฐานอยู่ภายในอาณาเขตของพระราชวังสวนดุสิต ซึง่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 5) ทรงพระกรุณา โปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ างขึ ้นเป็ นอุทยานเพื่อพักผ่อนพระอิริยาบถ พระองค์มี พระราชประสงค์ให้ อทุ ยานแห่ง นี ้เป็ นสวนป่ าและพระราชทานชื่อว่า “สุนนั ทาอุทยาน” ที่มาของชื่ออุทยาน สันนิษฐานว่าน่าจะมาจาก สวนนันทวนุทยาน หรื อสวนนันทวัน มีความหมายว่า สวนที่รื่นรมย์ ตังอยู ้ ่บนสวรรค์ชนดาวดึ ั้ งส์ ซึ่ งเป็ นที่ ประทับของพระอินทร์ แต่อีกข้ อสันนิษฐานหนึ่ง เพื่อเป็ นที่ระลึกถึงสมเด็จพระนางเจ้ าสุนนั ทากุมารี รัตน์ พระบรมราชเทวี พระปิ ยมเหสี ซึง่ เป็ นที่รักยิ่งของพระองค์ 1.1 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั โปรดให้ สร้ างอุทยานสวนสุนันทา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั เมื่อขึ ้นครองราชโปรด เกล้ า ฯ ให้ ยุบ เลิ ก ต าแหน่ง กรมพระราชวัง บวรสถานมงคลเจ้ า นายผู้ห ญิ ง ที่ วัง หน้ า หลายพระองค์ ก็ได้ เสด็จมาประทับที่พระราชฐานชันใน ้ จึงทาให้ มีเจ้ านายฝ่ ายในเพิ่มจานวนมากขึ ้น พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ได้ เสด็จประพาสยุโรปเมื่อปี พ.ศ.2440 พระองค์เสด็จพระราชดาเนินกลับมา จึงมีพระราชประสงค์ให้ สร้ างสถานที่ประทับแห่งใหม่ เพราะแพทย์ประจาพระองค์ได้ กราบบังคมทูลว่า ในพระบรมมหาราชวัง ซึง่ เป็ นพระราชนิเวศน์ที่ประทับมาแต่เดิมไม่ถกู สุขลักษณะทาให้ พระบาทสมเด็จ พระเจ้ าอยู่หัว ตลอดทัง้ พระบรมวงศานุวงศ์ทรงพระประชวรอย่างเนื อง ๆ จึง ควรเสด็จ ประพาสไป ประทับในที่โล่งแจ้ งบ้ าง ปลายปี พ.ศ.2440 พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ าเจ้ าอยู่ หั ว ได้ เสด็ จ พระราชด าเนิ น ทอดพระเนตรพื ้นที่สวนและทุ่งนาบริ เวณทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือของพระบรมมหาราชวังแล้ วทรงพอ พระราชหฤทัย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ กรมพระคลังข้ างที่จดั ซื ้อที่นา ที่สวนจากราษฎรทางตอน เหนือของพระนครระหว่างคลองผดุงกรุงเกษมจนถึงคลองสามเสนด้ วยเงินพระคลังข้ างที่อนั เป็ นพระราช ทรัพย์ส่วนพระองค์ พระราชทานชื่อตาบลแห่งนี ้ว่า “สวนดุสิต” (ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 15 ร.ศ. 117 พ.ศ. 2411) และโปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ างพลับพลาขึ ้นเป็ นที่เสด็จประทับแรมชัว่ คราวและให้ เรี ยกที่ประทับ แห่งนี ้ว่า “วังสวนดุสิต” (มติชน online 6 มกราคม 2562) เมื่อมีการขยายพระนครไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ พระองค์โปรดเกล้ าฯ ให้ ตดั ถนนสามเสน ถนนราชดาเนิ นใน ถนนราชดาเนินนอกและโปรดให้ รือ้ พระที่นงั่ มันธาตุรัตนโรจน์ที่เกาะสีชัง จังหวัด ชลบุรี ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั (รัชกาลที่ 4)ได้ สร้ างไว้ ชลอมาสร้ างที่พระราชวังสวน ดุสิต และพระราชทานนามว่า “พระที่นงั่ วิมานเมฆ” โดยโปรดเกล้ าฯ ให้ สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์ เธอ เจ้ าฟ้ากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์ทรงกากับการออกแบบและทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ มีการเฉลิม พระที่นงั่ วิมานเมฆ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2445 พร้ อมกันนี ้ พระองค์ยงั โปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ างเรื อน ไทยหมู่หนึ่งพระราชทานนามว่า “เรื อนต้ น” เพื่อใช้ เป็ นที่เสด็จออกให้ ประชาชนที่พระองค์ทรงรู้ จัก เมื่อครัง้ เสด็จประพาสต้ นมาเฝ้า เมื่ อ มี ก ารสร้ างที่ ป ระทับ ถาวรขึ น้ และเสด็จ มาประทับ บ่อ ยครั ง้ จึง มี พ ระราชด าริ ที่ จ ะสร้ าง พระที่ นั่ง ต่า ง ๆ ขึน้ เพื่ อใช้ ประกอบพระราชพิ ธี ไ ด้ เ ช่น เดี ย วกับ พระบรมมหาราชวัง จึง โปรดเกล้ า ฯ ให้ ประกาศเปลี่ยนนามวังสวนดุสิตเป็ น “พระราชวังสวนดุสิต” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์พระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ได้ เสด็จไปประทับอยู่ ณ พระราชวังสวนดุสิตแล้ ว ทรงมีพระราชดาริ จะสร้ างสถานที่รื่นรมย์ มีลกั ษณะเป็ นสวนป่ ากลาย ๆ คล้ าย พระราชวัง เบิ น สตอฟของประเทศเดนมาร์ ก เพื่ อ ทรงใช้ เ ป็ นที่ ส าราญพระราชหฤทัย และเปลี่ ย น พระราชอิริยาบถสวนป่ านี ้จะสร้ างขึ ้นทางตะวันตกของ พระราชวัง สวนดุสิ ต ทดแทนการเสด็ จ ประพาสหัว เมื อ งและจะได้ ใ ช้ เ ป็ นที่ ป ระทับ ส าหรั บ พระมเหสี พระราชธิดา และบาทบริ จาริ กา เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตแล้ ว ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ าฯ ให้ เริ่มการสร้ างสวนที่เป็ นส่วนหนึง่ ของพระราชวังสวนดุสิตและพระราชทานนามว่า “สวนสุนนั ทา” ในระยะแรกที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัวแปรพระราชฐานมาประทับ พระที่นั่ง อัมพรสถานก็ทรงพระเกษมสาราญ ต่อเมื่อปี พุทธศักราช 2450 ได้ เสด็จประพาสยุโรปครัง้ ที่ 2 และได้ ไป ประพาสสวนป่ าของประมุขประเทศต่าง ๆ เช่น ที่ตาบลรงบุล เยประเทศฝรั่ง เศสหรื อที่วิลลา โนเบล เมืองซานเรโมประเทศอิตาลีและที่วงั เบิร์นสตอฟของพระเจ้ ากรุงเดนมาร์ ก จึงทรงเห็นว่าพระที่นงั่ อัมพร สถานยังมีสิ่งที่ขาดและที่สาคัญคือไม่มิดชิดเป็ นการส่วนพระองค์แนวพระราชดาริ ประการหนึ่งที่ ทรง พระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ างสวนสุนนั ทาก็คือทรงหาที่เงียบสงบซึ่งหาจากพระที่นงั่ อัมพรสถานมิได้ สวนแห่ง ใหม่ที่ ท้ า ยวัง รั ช กาลที่ 5 ทรงตัง้ พระราชหฤทัยให้ ส ร้ างก็ คื อ “อุท ยานสวนสุนัน ทา” ในเวลาต่อมาจึงมีพระราชหัตถเลขาพระราชทานพระราชประสงค์ในการสร้ างอุทยานสวนสุ นนั ทามายัง พระยาสุขมุ นัยวินิต (ปั น้ สุขมุ ) ดังนี ้ 1. ให้ ขยายเขตไปถึงแนวคลองริมถนนสามเสน ขยายคลองให้ กว้ างขึ ้น และทาหน้ าที่เป็ นคูของวัง 2. ฝั่ งคลองด้ านทิศตะวันตก (ด้ านถนนสามเสน) จะต้ องมีถนนริ มคลองกว้ าง 4 ศอก สาหรับเดิน รักษาวัง 2 | GEN0101 ชาววังสวนสุนนั ทา

Use Quizgecko on...
Browser
Browser