ศาสนาฯ ม.2 หน่วยที่ 1 PDF

Document Details

SumptuousNashville

Uploaded by SumptuousNashville

Tags

พระพุทธศาสนา ประวัติศาสตร์ ศาสนา ศึกษา

Summary

เอกสารประกอบการเรียนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม, ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2, หน่วยการเรียนรู้ เรื่องการเผยแผ่พระพุทธศาสนา สู่ประเทศเพื่อนบ้าน. เอกสารอธิบายประวัติและความเป็นมาของพระพุทธศาสนาในประเทศเพื่อนบ้าน.

Full Transcript

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศเพื่อนบ้าน และการนั บถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้าน สังคมศึกษา ศ...

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศเพื่อนบ้าน และการนั บถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้าน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๑ ประเทศเมียนมา ๑) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศเมียนมา พระพุทธศาสนาที่เผยแผ่เข้าสู่ ประเทศเมียนมาในระยะแรกเป็นแบบเถรวาท โดยเข้า มาทางเมือ งสะเทิ ม หรือ เมือ งสุ ธ รรมวดี ซึ่ง เป็น เมือ งหลวงของมอญมาก่ อ น หลั งจากนั้ นค่ อย ๆ แผ่ ข ยาย ขึ้ นไปทา งตอนกลา งและตอนเหนื อของประเทศ ใน พ.ศ. ๑๕๘๗ พระเจ้า อนุ รุ ทธมหาราช (อโนรธามัง ช่ อ ) ทรงรวบรวมดิ น แดนพม่ า ให้เป็นปึกแผ่นได้สาเร็จ และสถาปนาเมืองพุกามเป็นราชธานี ในช่วงนี้ พระพุทธศาสนา นิ ก า ย ม ห า ย า น ไ ด้ แ ผ่ ข ย า ย จ า ก แ ค ว้ น เบ ง ก อ ล ข อ ง อิ น เ ดี ย เ ข้ า สู่ เ มื อ ง พุ ก า ม แต่พระเจ้าอนุรุทธมหาราชไม่ทรงศรัทธานิ กายมหายาน กลับทรงเลื่อมใสนิ กายเถรวาท สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๑ ประเทศเมียนมา ๑) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศเมียนมา ค รั้ น เ มื่ อ พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง ท ร า บ ว่ า พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า นิ ก า ย เ ถ ร ว า ท มี ค ว า ม เจริญรุ ่งเรืองมากในอาณาจักรของมอญจึงทรงส่งพระราชสาส์นไปถึงพระเจ้ามนู หะ ผู้ ค รองเมื อ งสุ ธ รรมวดี เพื่ อ ทู ล ขอพระไตรปิ ฎ กจ านวนหนึ่ งขึ้ นไปยั ง เมื อ งพุ ก าม แต่พระเจ้ามนู หะไม่ยินยอมจึงเป็นชนวนทาให้เกิดการสู้ รบกันขึ้น ปรากฏว่าพม่าเป็น ฝ่ายชนะ จึงสั่งให้ทาลายเมืองสุ ธรรมวดีและได้นาพระภิกษุ และพระไตรปิฎกขึ้นไปยัง เมืองพุ ก าม ส่ ง ผลให้ พระพุ ทธศาสนานิ ก ายเถรวาทได้ แ ผ่ ข ยายไปทั่ วอาณาจัก รพม่า ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๑ ประเทศเมียนมา ๒) การนั บถือพระพุทธศาสนาในประเทศเมียนมา หลังจากพม่าเป็นอิสระจากการครอบครอง ของประเทศอั ง กฤษ รั ฐ บาลได้ พ ยายามฟื้ นฟู พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ใ ห้ เ จ ริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง ม า จ น ถึ ง ปั จ จุ บั น โดยมี ก ารสั ง คายนาพระไตรปิ ฎ กขึ้ น เ มื่ อ พ. ศ. ๒ ๔ ๙ ๗ มี ก า ร นิ ม น ต์ พ ร ะ เ ถ ร ะ ผู้ เ ชี่ ย วชาญพระไตรปิ ฎ กจากประเทศไทย ศรี ลั ง กา ลาว และกั ม พู ช าให้ เ ดิ น ทางมาร่ ว มงาน พระมหาเจดีย์ชเวดากอง ในประเทศเมียนมา และได้จัดพิมพ์พระไตรปิฎก พร้อมคัมภีร์อรรถ สัญลักษณ์ ทางพระพุทธศาสนา กถาและปกรณ์ พเิ ศษเป็นจานวนมาก ที่สาคัญของประเทศ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๒ ประเทศลาว ๑) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศลาว พระพุ ท ธศาสนาเผยแผ่ เ ข้ า สู่ ป ระเทศลาวในรั ช สมั ย ของพระเจ้ า ฟ้ า งุ้ ม แห่ ง อาณาจั ก รล้ า นช้ า ง เนื่ อ งจากมเหสี ข องพระองค์ คื อ พระนางแก้ ว กั ล ยาซึ่งเป็น พ ร ะ ธิ ด า ข อ ง พ ร ะ เ จ้ า ศ รี จุ ล ร า ช แห่ ง เ มื อ ง อิ น ท ปั ต ย์ ใ น อ า ณ า จั ก ร กั ม พู ช า ทรงเคารพนั บถือพระพุทธศาสนานิ กายเถรวาทมาก่อน เมื่อพระนางเสด็จมาประทับ ที่อาณาจักรล้ านช้าง ทรงรู ้สึก ไม่ส บายพระทัย จากการพบเห็นชาวเมืองเคารพผีสาง เท ว ด า จึ ง ก ร า บ ทู ล ใ ห้ พ ร ะ เ จ้ า ฟ้ า งุ้ ม แ ต่ ง ค ณ ะ ร า ช ทู ต ไ ป ทู ล ข อ พ ร ะ ส ง ฆ์ จากพระเจ้ า ศรี จุ ล ราชเพื่ อ มาช่ ว ยเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนา นั บ ตั้ ง แต่ นั้ น เป็ น ต้ น มา พระพุทธศาสนานิ กายเถรวาทก็เจริญรุ ่งเรืองในประเทศลาว และได้กลายเป็นศาสนา ประจาชาติไปในที่สุด สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๒ ประเทศลาว ๒) การนั บถือพระพุทธศาสนาในประเทศลาว พระพุ ทธศาสนาในประเทศลาวเป็ น นิ ก ายเถรวาท แต่ ห ลั ง จากที่ ถู ก ครอบง า ด้ ว ยการปกครองระบอบคอมมิ ว นิ ส ต์ พระพุ ท ธศาสนาในประเทศลาวก็ เ สื่ อ มลง เมื่ อ สถานการณ์ ท างการเมื อ งคลี่ ค ลาย ประเทศลาวได้ มี ค วามพยายามที่ จ ะฟื้ นฟู พระพุ ท ธศาสนาขึ้ น มาอี ก โดยการส่ ง พระสงฆ์ ล าว และคฤหั ส ถ์ ม าประเทศไทยเพื่ อ ศึกษาแนวทางฟื้ นฟูพระพุทธศาสนาจากสมเด็จพระสังฆราชและพระเถระชั้นผู้ใหญ่ ของประเทศไทย สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๓ ประเทศกัมพูชา ๑) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศกัมพูชา พระพุทธศาสนาเผยแผ่เข้าสู่ ประเทศกัมพูชาราวพุทธศตวรรษที่ ๘ ซึ่งเป็น ช่ ว งที่ อ าณาจั ก รฟู นั นเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งอยู่ ท างทิ ศ ใต้ ข องดิ น แดนที่ เป็ น ประเทศ กัมพูชา ในปัจจุบันอาณาจักรฟูนันเป็นอาณาจักรใหญ่ซ่ ึงมีสัมพันธไมตรีอันดีกับ ประเทศจี น และอิ น เดี ย จึ ง ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลพระพุ ท ธศาสนานิ ก ายมหายานจาก ประเทศทั้ ง สอง แต่ พ ระพุ ท ธศาสนาก็ ต้ อ งเสื่ อมลงเมื่ อ อาณาจั ก รกั ม พู ช า ย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่กรุ งพนมเปญ และต้องทาสงครามกับประเทศเพื่อนบ้าน ตลอดเวลา รวมถึงปัญหาการต่อสู้แย่งชิงราชสมบัติภายในราชวงศ์กัมพูชาด้วย สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๓ ประเทศกัมพูชา ๒) การนั บถือพระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา ด้วยเหตุที่สภาพทางการเมืองของกัมพูชาขาดความมั่นคง โดยเฉพาะการ สู้ ร บท าสงครามกลางเมื อ งระหว่ า งชาวเขมรด้ ว ยกั น ท าให้ พ ระพุ ท ธศาสนา ไม่ เ จริ ญ ถึ ง ขั้ น สู ง สุ ด ภายหลั ง สงครามกลางเมื อ งเริ่ ม สงบลงใน พ.ศ. ๒๕๔๓ รั ฐ บ า ล เ ข ม ร ร ว ม ทั้ ง พุ ท ธ ศ า ส นิ ก ช น ช า ว เ ข ม ร มี ค ว า ม พ ย า ย า ม ที่ จ ะ ฟื้ น ฟู พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ป ร ะ เท ศ กั ม พู ช า ขึ้ น ม า ใ ห ม่ พ ร้ อ ม ๆ กั บ ก า ร บู ร ณ ะ ฟื้ นฟูประเทศ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๔ ประเทศเวียดนาม ๑) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศเวียดนาม ี วามสัมพันธ์กับประเทศจีนมาแต่สมัยโบราณ ประเทศเวียดนามเป็นประเทศที่มค โดยจี น เข้ า มายึ ด เวี ย ดนามเป็ น เมื อ งขึ้ นและปกครองเวี ย ดนามอยู่ ห ลายร้ อ ยปี จนเวียดนามเกือบกลายเป็นรัฐหนึ่ งของจีน ดังนั้ น เมื่อจีนนั บถือศาสนาใดศาสนานั้ น ก็จะเผยแผ่เข้ามาในเวียดนามด้วยเริม ่ แรกอิทธิพลของลัทธิเต๋าและลัทธิขงจื๊อได้เผยแผ่ เข้ามาสู่ประเทศเวียดนาม จนถึง พ.ศ. ๗๓๒ คณะธรรมทูตจากจีนหลายคณะจึงได้เข้า มาเผยแผ่พระพุทธศาสนานิ กายมหายานในเวียดนาม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๔ ประเทศเวียดนาม ๑) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศเวียดนาม พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น ส มั ย เริ ่ ม แร ก ยั ง ไ ม่ เ ป็ น ที ่ น ิ ย ม นั บ ถื อ กั น ม า ก นั ก จนกระทั่ ง พ.ศ. ๑๕๑๒ เมื่ อ ราชวงศ์ ดิ น ห์ ไ ด้ ข้ ึ นมามี อ านาจปกครองเวี ย ดนาม พระพุ ท ธศาสนานิ ก ายมหายานจึ ง ได้ รั บ การฟื้ นฟู แ ละนั บ ถื อ กั น อย่ า ง แพร่ ห ลาย มากขึ้น สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๔ ประเทศเวียดนาม ๒) การนั บถือพระพุทธศาสนาในประเทศเวียดนาม ตั้ ง แต่ พ.ศ. ๒๔๓๐ เป็ น ต้ น มา เมื่ อ สงครามในคาบสมุ ท รอิ น โดจี น สงบลง แ ล ะ ม ี ส ั น ต ิ ภ า พ ม า ก ขึ ้ น ช า ว พ ุ ท ธ บ า ง ก ลุ ่ ม จ ึ ง ม ี ค ว า ม พ ย า ย า ม ฟื้ น ฟู พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ใ น เว ี ย ด น า ม ขึ ้ น ม า ใ ห ม ่ แ ต่ ไ ม ่ ป ร ะ ส บ ผ ล ส า เร ็ จ ม า ก นั ก ทั ้ ง นี ้ เ พ ร า ะ มี พ ร ะ ส ง ฆ์ นิ ก า ย ม ห า ย า น เห ลื อ เพี ย ง ไ ม่ กี ่ รู ป แ ล ะ ช า ว เวี ย ด น า ม รุ ่ น ใหม่ ส่ ว นใหญ่ ก็ นิ ย มเข้ า รี ต เพื่ อ นั บ ถื อ ศาสนาคริ ส ต์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๕ ประเทศมาเลเซีย ๑) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศมาเลเซีย ดินแดนประเทศมาเลเซียแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน ส่วนหนึ่ งอยู่บนแหลมมลายูและ อีก ส่ ว นหนึ่ งอยู่ บ นเกาะบอร์เนี ย ว นั ก ประวัติศ าสตร์สั น นิ ษฐานว่า พระพุ ท ธศาสนา เผยแผ่ เ ข้ า สู่ ป ระเทศมาเลเซี ย เมื่ อ ประมาณพุ ท ธศตวรรษที่ ๓ โดยระยะแรกเป็ น แบบเถรวาท แต่มีผู้นับถือไม่มากนั ก จนกระทั่งพุทธศตวรรษที่ ๑๒ เมื่อแหลมมลายู ิ ัย ตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรศรีวช สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๕ ประเทศมาเลเซีย ๑) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศมาเลเซีย พระพุ ทธศาสนานิ กายมหายานจึง ได้เผยแผ่เข้ามาสู่ บริเวณนี้ แต่ก็ ต้องได้ รับ ผลกระทบอย่ า งหนั ก ในรั ช สมั ย ของพระเจ้ า ปรเมศวรแห่ ง อาณาจั ก รมะละกา เมื่ อ พระ อง ค์ เปลี่ ยน ไปนั บถื อศ าส นา อิ ส ลาม แ ม้ ป ระ ชา ชน ส่ วน ให ญ่ ยั งค งนั บถื อ พระพุทธศาสนานิ กายมหายานอยู่เช่นเดิม จนถึงสมัยของสุ ลต่านมัลโมชาห์ พระองค์ ทรงเลื่อมใสในศาสนาอิสลามมากจนศาสนาอิสลามได้กลายเป็นศาสนาประจาชาติของ ประเทศมาเลเซียไป ในที่สุด สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๕ ประเทศมาเลเซีย ๒) การนั บถือพระพุทธศาสนาในประเทศมาเลเซีย ประชาชนส่ วนใหญ่ในประเทศมาเลเซีย นั บถือศาสนาอิส ลามแต่ มีป ระชาชน จานวนหนึ่ งซึ่งเป็นชาวจีนนั บถือพระพุทธศาสนาทั้งนิ กายมหายานและนิ กายเถรวาท ปัจจุบัน มีองค์กรทางพระพุทธศาสนามากมาย เช่น สมาคมผู้ส อนพระพุทธศาสนา ที่วัดพระพุทธศาสนาในกัวลาลัมเปอร์ ยุวพุทธิกสมาคมแห่งมาเลเซีย สมาคมชาวพุทธ แห่ ง มาเลเซี ย ศู นย์ ส มาธิ วิ ปั ส สนาแห่ งชาวพุ ทธมาเลเซี ย และพุ ทธสมาคมใน มหาวิทยาลัยต่าง ๆ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๖ ประเทศสิงคโปร์ ๑) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์เป็นเกาะเล็ก ๆ อยู่ทางทิศใต้ของประเทศมาเลเซีย ซึ่งในอดีตเคยอยู่ รวมกั น เป็ น สมาพั น ธรั ฐ มลายู เ ช่ น เดี ย วกั บ ประเทศมาเลเซี ย มาก่ อ น แต่ ไ ด้ แ ยกตั ว ออ ก ม า เป็ น อิ ส ร ะ เ มื่ อ พ. ศ. ๒ ๕ ๐ ๘ ดั ง นั้ น ก า ร เ ผ ย แ ผ่ พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า เ ข้ า สู่ ประเทศสิ ง คโปร์จึง มีลั ก ษณะเดี ย วกั บประเทศมาเลเซี ย โดยพลเมืองส่ วนใหญ่ ข อง สิงคโปร์เป็นชาวจีน นิ กายที่ได้รบ ั การนั บถือมาก คือ นิ กายมหายาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๖ ประเทศสิงคโปร์ ๒) การนั บถือพระพุทธศาสนาในประเทศสิงคโปร์ ชาวพุทธในสิงคโปร์อาศัยวัดเป็นที่สวดมนต์ ทาสมาธิวิปัสสนา สนทนาธรรม ตลอดจนจัดกิจกรรมสังคมสงเคราะห์ การปฏิบต ั ิตนของชาวพุทธในสิงคโปร์ส่วนใหญ่ สะท้ อ นออกมาในรู ปของการสั ง คมสงเคราะห์ การช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล เพื่ อ นมนุ ษ ย์ ไม่เฉพาะในหมู่ชาวพุทธเท่านั้ นหากแต่เผื่อแผ่ไปยังศาสนิ กชนที่นับถือศาสนาอื่นด้วย ทั้งนี้ แสดงให้เห็นว่าชาวสิงคโปร์ไม่ได้นับถือพระพุทธศาสนาตามธรรมเนี ยมประเพณี เท่านั้ น แต่ยังได้นาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาปฏิบต ั ิในชีวต ิ ประจาวันด้วย สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๗ ประเทศอินโดนี เซีย ๑) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศอินโดนี เซีย พระพุ ท ธศาสนาเผยแผ่ เ ข้ า สู่ ป ระเทศอิ น โดนี เซี ย ในช่ ว งพุ ท ธศตวรรษที่ ๓ คราวที่ พ ระเจ้ า อโศกมหาราชทรงส่ ง พระโสณะและพระอุ ต ตระเดิ น ทางมาเผยแผ่ พระพุ ท ธศาสนาในแถบนี้ เรื่ อ งราวของประเทศอิ น โดนี เซี ย ปรากฏหลั ก ฐาน อย่ า งชั ด เจนขึ้ น ในช่ ว งพุ ท ธศตวรรษที่ ๑๒ เพราะได้ เ กิ ด อาณาจั ก รที่ ยิ่ ง ใหญ่ ข้ ึ น อาณาจั ก รหนึ่ งชื่ อ ว่ า “อาณาจั ก รศรี วิ ชั ย ” ซึ่ งมี อิ ท ธิ พ ลครอบคลุ ม ตั้ ง แต่ ภ าคใต้ ของประเทศไทย ประเทศมาเลเซีย และประเทศอินโดนี เซียทั้งหมด อาณาจักรศรีวิชัย นั บถือพระพุทธศาสนานิ กายมหายาน อินโดนี เซียจึงรับอิทธิพลของพระพุทธศาสนา มาด้วย สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๗ ประเทศอินโดนี เซีย ๑) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศอินโดนี เซีย แต่ พ ระพุ ท ธศาสนาในอิ น โดนี เซี ย ถึ ง จุ ด เสื่ อ มในสมั ย พุ ท ธศตวรรษที่ ๑๙ เมื่ อ อาณาจั ก รมั ช ปาหิ ต ขึ้ น มามี อ านาจแทนและมี ก ษั ตริย์ พ ระนามว่ า ระเด่ น ปาทา ทรงมี ศ รั ท ธาในศาสนาอิ ส ลามมากทรงประกาศห้ า มการเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนา ใ น อ า ณ า จั ก ร นี้ แ ล ะ ท ร ง ย ก ย่ อ ง ใ ห้ ศ า ส น า อิ ส ล า ม เป็ น ศ า ส น า ป ร ะ จ า ช า ติ นั บตั้ง แต่ นั้น มาศาสนาอิสลามจึง กลายเป็นศาสนาที่ช าวอิน โดนี เซีย ส่วนใหญ่นับถื อ ส่ ว นชาวอิ น โดนี เซี ย ที่ ยั ง มี ค วามศรั ท ธาเลื่ อ มใสในพระพุ ท ธศาสนานิ ก ายมหายาน ก็ยังคงมีอยู่ประปรายในเกาะชวา สุมาตรา และบาหลี สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑.๗ ประเทศอินโดนี เซีย ๒) การนั บถือพระพุทธศาสนาในประเทศอินโดนี เซีย พระพุทธศาสนานิ กายมหายานเจริญรุ ่งเรืองในประเทศอินโดนี เซียมาตั้งแต่ พุ ท ธศตวรรษที่ ๑๒-๑๓ หลั ก ฐานที่ แ สดงให้ เห็ น ว่า พระพุ ท ธศาสนานิ ก ายมหายาน เคยเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งในประเทศอิ น โดนี เซี ย คื อ ศาสนสถานหลายแห่ ง ในประเทศ อินโดนี เซีย เช่น มหาสถูปบุโรพุทโธ ถูกค้นพบที่เกาะชวาปัจจุบน ั นี้ มช ี าวบ้านประมาณ ร้อ ยละ ๑ ที่ ยั ง นั บถื อ พระพุ ท ธศาสนา เช่ น ชาวอิ น โดนี เซี ย ส่ ว นใหญ่ บนเกาะบาหลี นั บถือพระพุทธศาสนานิ กายมหายานควบคู่ไปกับศาสนาพราหมณ์ -ฮิ นดูและชาวจีน จานวนหนึ่ งบนเกาะชวาที่ประกาศตนเป็นพุทธศาสนิ กชน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ มหาสถูปบุโรพุทโธ ในประเทศอินโดนี เซีย สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒. ความสาคัญของพระพุทธศาสนาที่ชว ่ ยเสริมสร้าง ความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า เป็ น ศ า ส น า ที่ มุ่ ง เน้ น ใ ห้ ม นุ ษ ย์ อ ยู่ ร่ ว ม กั น อ ย่ า ง สั น ติ สุ ข ดังจะเห็นได้จากหลักธรรมคาสอนต่าง ๆ เช่น สาราณี ยธรรม ๖ และสังคหวัตถุ ๔ ซึ่งเป็น หลักธรรมที่สามารถนามาเป็นแนวทางในการปฏิบต ั ิตนเพือ ่ มกันอย่างสันติ ่ การอยู่รว หลั ก ธรรมของพระพุ ท ธศาสนาที่ ช่ ว ยเสริ ม สร้ า งความเข้ า ใจอั น ดี กั บ ประเทศ- เพือ ่ นบ้าน ได้แก่ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒.๑ สาราณี ยธรรม ๖ สาราณี ยธรรม ๖ คือ ความปรารถนาดีต่อกัน เอื้อเฟื้ อเกื้อกูลกันสามารถประยุกต์ ให้เป็นแนวทางสร้างสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ ได้ดังนี้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒.๑ สาราณี ยธรรม ๖ ๑. เมตตากายกรรม คื อ ก า ร แ ส ด ง อ อ ก ซึ่ ง ค ว า ม เป็ น มิ ต ร ท า ง ก า ย ต่ อ ป ร ะ เท ศ เพื่ อ น บ้ า น เ ช่ น ก า ร ส่ ง สิ่ ง ข อ ง ไ ป ช่ ว ย เห ลื อ แ ก่ ป ร ะ เท ศ ที่ ป ร ะ ส บ ภั ย พิ บั ติ ห รื อ บ ริ จ า ค เ งิ น ตามกาลังความสามารถ ๒. เมตตาวจีกรรม คื อ มี ก ารกระท าทางวาจาที่ แ สดงออกถึ ง ความปรารถนาดี ต่ อ มิ ต รประเทศ เช่น ไม่กล่าวติเตียน ให้ร้ายต่อมิตรประเทศ ถ้ามีปัญหาข้อพิพาทเกิดขึ้น ก็ควรหาทางยุติ ด้วยการเจรจาทางการทูต สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒.๑ สาราณี ยธรรม ๖ ๓. เมตตามโนกรรม คื อ การ มี จิ ต ใจป รา ร ถน า ดี กั บมิ ต ร ปร ะ เทศ โดย ปร า ศจา ก อกุ ศ ล จิ ต คื อ ไม่หวาดระแวงต่อกัน ๔. สาธารณโภคี คือ แบ่งปันผลประโยชน์ ที่เกิดขึ้น หรือได้มาโดยชอบธรรมแก่ มิตรประเทศ เช่น ประเทศที่ มี ท รัพ ยากรมากควรแบ่ ง ปั น ทรัพ ยากรแก่ ป ระเทศที่ ข าดแคลน ประเทศที่ มี แห ล่ ง ก า เนิ ด ข อ ง ต้ น น้ า ที่ ไ ห ล ผ่ า น ป ร ะ เท ศ อื่ น ด้ ว ย ค ว ร ดู แ ล รั ก ษ า แห ล่ ง ต้ น น้ า และแบ่งปันน้ าให้แก่ประเทศอื่น ๆ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒.๑ สาราณี ยธรรม ๖ ๕. สีลสามัญญตา คือ มีหลักความประพฤติ (ศีล) เสมอกับมิตรประเทศ ดาเนิ นนโยบายต่างประเทศ ให้ ส อดคล้องกั บ มติ สากล หรือสอดคล้ องกั บหลั ก การของสหประชาชาติ เช่น การแก้ ไข ปัญหาระหว่างประเทศด้วยวิธีทางการทูต ช่วยผดุงสันติภาพของโลก เคารพอธิปไตยของ ประเทศอื่น ๆ ๖. ทิฏฐิสามัญญตา คื อ มีค วามเห็ น ชอบร่วมกั น การอยู่ ร่วมกั น กั บ ประเทศอื่น ๆ นั้ น เราต้ องยอมรับ กฎเกณฑ์ หรือกติกาที่นานาชาติ กาหนดไว้ รับฟังความคิดเห็นที่แตกต่าง และเคารพผล การลงมติของเสียงส่วนใหญ่ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒.๒ สังคหวัตถุ ๔ หลักธรรมอันเป็นเครื่องยึดเหนี่ ยวน้าใจของผู้อื่น เป็นการผูกไมตรี เอื้อเฟื้ อเกื้อกูล กัน รวมทั้งเป็นการสร้างความรัก ความเป็นมิตรต่อประเทศเพื่อนบ้าน หลักสังคหวัตถุ ๔ ได้แก่ ๑) ทาน แปลว่า การให้ หมายถึง การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เช่น มิตรประเทศประสบ ภั ย พิ บั ติ ต่ า ง ๆ ประเทศอื่ น ๆ ก็ ค วรจั ด ส่ งอาหารเวชภั ณ ฑ์ เครื่ อ งอุ ป โภคบริ โ ภคไป ช่วยเหลือตามกาลังความสามารถ ๒) ปิ ย วาจา แปลว่ า มี ว าจาอั น เป็ น ที่ รั ก ได้ แ ก่ การเจรจาด้ ว ยถ้ อ ยค าไพเราะ อ่ อ นหวานนอบน้ อ ม สุ ภ าพ เหมาะสมกั บ กาลเทศะ เป็ น ประโยชน์ ไ ม่ เพ้ อ เจ้ อ เหลวไหล ไม่หยาบคาย สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒.๒ สังคหวัตถุ ๔ ๓) อัตถจริ ยา แปลว่า การประพฤติ ตนให้เป็นประโยชน์ แก่ผู้อื่น หมายถึง การไม่ สร้ า งความเดื อ ดร้ อ นให้ แ ก่ ป ระเทศต่ า ง ๆ และหากมิ ต รประเทศได้ รั บ ความทุ ก ข์ หรื อ ประสบภัยก็ควรให้ความช่วยเหลือไม่นิ่งดูดาย ๔) สมานั ตตตา แปลว่ า การวางตั ว ให้ เหมาะสมกั บ ภาวะของตน หมายถึ ง ให้ความนั บถือประเทศต่าง ๆ ว่ามีฐานะศักดิ์ศรีเท่าเทียมกับประเทศของเรา ไม่ดูถูกดูหมิ่น ว่าประเทศนั้ นเล็กกว่าหรือด้อยความเจริญกว่า สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒.๒ สังคหวัตถุ ๔ ่ วชาญจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก นั กดาน้ าในถ้าและผู้เชีย วางแผนช่วยเหลือ ๑๓ เยาวชนที่ติดอยู่ในถ้าหลวง จังหวัดเชียงราย สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒.๒ สังคหวัตถุ ๔ จากหลั ก ธรรมดั ง กล่ า วจึ ง เห็ น ได้ ว่ า พระพุ ท ธศาสนามี ส่ วนส าคั ญ อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยเสริม สร้า งความเข้ า ใจอั น ดี ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น ระหว่า งประเทศ และหากทุก ประเทศได้ น า ห ลั ก ธ ร ร ม เห ล่ า นี้ ไ ป ใ ช้ ก็ จ ะ ทา ใ ห้ โ ล ก เ กิ ด ค ว า ม ส ง บ สุ ข สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๓. ความส าคั ญ ของพระพุ ท ธศาสนาต่ อ สั งคมไทย ในฐานะที่ เป็ น รากฐานของวั ฒ นธรรม เอกลั ก ษณ์ และมรดกของชาติ วั ฒ นธรรมไทย คื อ ระเบี ย บแบบแผนอั น ดี ง ามที่ ช นชาวไทยประพฤติ ป ฏิ บั ติ สื บ ต่ อ กั น มาจนกลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ งของการด าเนิ น ชี วิ ต ของคนไทย เช่ น วั ฒ นธรรม การแต่ ง กาย วั ฒ นธรรมในการบ าเพ็ ญ กุ ศ ลซึ่ งส่ วนใหญ่ เป็ น วั ฒ นธรรมที่ สื บทอด มาจากบรรพบุรุษ วัฒนธรรมที่มท ี ี่มาจากพระพุทธศาสนานั้ น ได้แก่ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๓.๑ ภาษา วั ฒ นธรรมทางด้ า นภาษาที่ มี บ่ อ เกิ ด มาจากพระพุ ท ธศาสนาเกิ ด ขึ้ นตั้ ง แต่ ช่ ว งที่ มีก ารเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนาเข้ า สู่ ป ระเทศไทย ทั้ ง พระพุ ท ธศาสนาฝ่ า ยเถรวาท หรือหี นยาน ที่ได้ น าภาษาบาลี เข้ามาและพระพุ ทธศาสนาฝ่ายอาจริยวาทหรือมหายาน ที่นาภาษาสันสกฤตเข้ามา พร้อมกับคัมภีร์ บทสวดและคาสอนต่าง ๆ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๓.๒ ศิลปะ อิ ท ธิ พ ล ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ที่ มี ต่ อ ศิ ล ปะ เช่ น จิ ต รกรรม การเขี ย น ภาพลวดลายไทย ประติมากรรม การปั้น ก า ร แ ก ะ ส ลั ก ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ศิ ล ป ะ เ ห ล่ า นี้ เ กิ ด จ า ก ค ว า ม เ ชื่ อ ทางพระพุทธศาสนาที่ เรียกว่า พุทธศิลป์ เช่ น การเขี ย นภาพจิต รกรรมฝาผนั ง ใน โ บ ส ถ์ วิ ห า ร ก า ร ห ล่ อ พ ร ะ พุ ท ธ รู ป พระปรางค์วัดอรุ ณราชวรารามราชวรมหาวิหาร ลักษณะรู ปทรงเจดีย์ต่าง ๆ เป็นสถาปัตยกรรมไทยที่มีความสวยงาม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๓.๓ ประเพณี ั ิสืบต่อกันมาเป็นเวลานานจนเป็นเอกลักษณ์ ของชาติ ประเพณี คือ แบบแผนที่ปฏิบต ป ร ะ เพ ณี ที่ ส า คั ญ ๆ ข อ ง ไ ท ย ส่ ว น ใ ห ญ่ สื บ เนื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า เ ช่ น ป ร ะ เพ ณี ใ น วั น ส า คั ญ ท า ง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ไ ด้ แ ก่ วั น ม า ฆ บู ช า วั น วิ ส า ข บู ช า แ ล ะ วั น อ า ส า ฬ ห บู ช า ห รื อ ป ร ะ เพ ณี อื่ น ๆ เ ช่ น ก า ร บ ว ช ก า ร ท า บุ ญ ใ น ง า น ม ง ค ล เช่น งานแต่งงาน งานขึ้นบ้านใหม่ และงานอวมงคล เช่น งานฌาปนกิจ (การเผาศพ) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๓.๔ จิตใจ พระพุ ท ธศาสนามี อิ ท ธิ พ ลในการหล่ อ หลอมและขั ด เกลา บุ ค ลิ ก ลั ก ษณะ หรืออุปนิ สัยของคนไทยให้มล ี ักษณะเฉพาะ ดังนี้ ๑) ค วา ม โอ บอ้ อ มอ ารี ค น ไทยมั ก มี นิ สั ย เอื้ อเฟื้ อเผื่ อแ ผ่ เม ตตากรุ ณ า ช่ ว ยเหลื อผู้ ได้ รั บ คว าม เดื อด ร้ อ น ไม่ นิ่ ง ดู ด าย รู ้ จั ก ให้ อภั ยแ ก่ ผู้ อื่ น ซึ่ งบุ คลิ ก ห รื อ ลั ก ษ ณ ะ นิ สั ย เห ล่ า นี้ ล้ ว น ไ ด้ รั บ ก า ร ป ลู ก ฝั ง ม า จ า ก ห ลั ก ธ ร ร ม ค า ส อ น ทางพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น เช่น หลักพรหมวิหาร ๔ (เมตตา กรุ ณา มุทิตา อุเบกขา) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๓.๔ จิตใจ ๒) ความเคารพอ่ อ นน้ อม เป็ น นิ สั ยของคนไทยที่ ไ ด้ รั บ การอบรมมาจาก ครอบครั ว เช่ น บุ ต รเคารพอ่ อ นน้ อ มต่ อ บิ ด ามารดา ศิ ษ ย์ เ คารพอ่ อ นน้ อ มต่ อ ครู อ า จ า ร ย์ ผู้ น้ อ ย เ ค า ร พ อ่ อ น น้ อ ม ต่ อ ผู้ ใ ห ญ่ ต า ม ห ลั ก ค า ส อ น เรื่ อ ง ทิ ศ ๖ ใ น พระพุทธศาสนา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๓.๔ จิตใจ ๓) ความอดทน เป็นนิ สัยที่ช่วยให้มีความมั่นคงและเจริญรุ ่งเรือง ไม่ว่าจะเป็น การอดทนต่ อ ความยากล าบากทางการศึ กษา หรื อ อดทนต่ อ ความยากล าบาก ใน ก า ร ท า ง า น ช า ติ ไ ท ย ด า ร ง อ ยู่ จ น ถึ ง ทุ ก วั น นี้ เพ ร า ะ อ า ศั ย ค ว า ม อ ด ท นข อ ง บ ร ร พ บุ รุ ษ ไ ท ย ดั ง นั้ น พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า จึ ง ส อ น ใ ห้ เร า อ ด ท น จ น เป็ น นิ สั ย ตามหลักคาสอนในฆราวาสธรรม ๔ (ธรรมสาหรับการครองเรือน) ว่าด้วยเรื่อง ขันติ หรือความอดทน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๓.๔ จิตใจ ๔) รั ก ความเป็นอิ สระ พระพุ ทธศาสนาเป็น ศาสนาที่ ส่ ง เสริม สิ ทธิม นุ ษยชน โดยสอนให้ เ ลิ ก ระบบทาส ไม่ น ามนุ ษย์ ม าเป็ น สิ นค้ า ส าหรั บ ซื้ อ ขาย ดั ง ปรากฏ เป็นข้อห้ามมิให้ภิกษุ มีทาสไว้รับใช้ ทั้งนี้ ก็เพื่อต้องการให้มนุ ษย์มีอิสระ และยังถือว่า การค้าทาสหรือค้ามนุษย์เป็นมิจฉาวณิ ชชา คือ เป็นการค้าที่ผิดศีลธรรม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๔. ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับการพัฒนา ชุมชนและการจัดระเบียบสังคม สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๔.๑ การพัฒนาชุมชน การพั ฒ นาชุ ม ชน หมายถึ ง การปรับ ปรุ งและเปลี่ ย นแปลงชุ ม ชนให้ มี ค วาม เจริญ ก้ า วหน้ า เป็ น ชุ ม ชนที่ ดี มี ค วามเป็ น ระเบี ย บเรีย บร้อ ย มี ค วามสงบสุ ข ร่ม เย็ น พระพุ ท ธศาสนาเข้ า มามี บ ทบาททางสั งคมในแง่ ข องการเป็ น ที่ พ่ ึ ง ทางใจแก่ ค น ในชุมชน และการนาหลักธรรมคาสอนมาใช้เพือ ่ การพัฒนาชุมชน ดังต่อไปนี้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑) นาถกรณธรรม ๑๐ คุณธรรมที่ทาให้ตนเป็นที่พ่ ึงแห่งตน เพราะเมื่อคนในชุ มชนสามารถพึ่งตนเองได้ ชุมชนก็จะเกิดความเข้มแข็งขึ้น ได้แก่ (๑) ศี ล เป็ น ผู้ มี ค วามประพฤติ ดี ง ามโดยสุ จ ริ ต รั ก ษาระเบี ย บวิ นั ย และประกอบอาชี พ สุจริต (๒) พาหุสัจจะ เมือ ่ ได้ศึกษาในเรือ ้ ักศึกษาและฟังให้มาก ทาให้เกิดการค้นคว้าที่ ่ งที่สนใจ รู จ เข้าใจลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น (๓) กัลยาณมิตตตา รู ้จักเลือกคบคนที่ดีเป็นมิตร หาผู้ที่ปรึกษาหรือผู้ แนะนาสั่ ง สอนที่ ดี ทา ใ ห้ รู ้ จั ก รั บ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น สิ่ ง ที่ ดี แ ล ะ ไ ด้ รั บ ส่ิ ง แว ด ล้ อ ม ท า ง สั ง ค ม ที่ ดี (๔) โสวจัสสตา เป็นผู้วา ่ นอนสอนง่าย รู จ ้ ักรับฟังเหตุผลและหาข้อเท็จจริง เพือ ่ ปรับปรุ แก้ไข ตนเองให้ดียิ่งขึ้น สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑) นาถกรณธรรม ๑๐ (๕) กิ ง กรณี เยสุ ทั ก ขตา รู ้ จั ก ขวนขวายกิ จ ธุ ร ะของส่ วนรวม รู ้ จั ก พิ จ ารณาไตร่ ต รอง สามารถจัดการกิจธุระให้สาเร็จเรียบร้อย (๖) ธั ม มกามตา เป็ น ผู้ รั ก ธรรม ใฝ่ ค วามรู ้ ความจริ ง รู ้ จั ก พู ด และรั บ ฟั ง ท าให้ ผู้ อื่ น อยากเข้ามาปรึกษาและร่วมสนทนาด้วย (๗) วิริย ารัมภะ มีค วามขยัน หมั่น เพีย ร ละเว้น ความชั่ว ประกอบคุณงามความดี ไม่ย่อท้ อ ต่ออุปสรรค และไม่ละเลยในการปฏิบต ั ิหน้ าที่ของตนเอง (๘) สันตุฏฐี มีความพอใจในสิ่งที่ตนเองมี และสิ่งที่หามาได้ด้วยความเพียร (๙) สติ มีสติที่กาหนดจดจาไม่ประมาท มีความรอบคอบ รู จ ้ ก ั ยับยั้งชั่งใจ (๑๐) ปัญญา มีปัญญาหยั่งรู เ้ หตุผล รู ด ้ ั่ว มีวจ ้ ีและรู ช ิ ารณญาณ ไม่ใช้อารมณ์ อยู่เหนื อเหตุผล สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒) อปริหานิ ยธรรม ๗ ั ิที่นาความสุขความเจริญมาสู่ชุมชน ด้วยหลักของการมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ข้อปฏิบต ความสามัคคี การยอมรับนั บถือ และการให้ความคุ้มครอง ๗ ประการ ดังนี้ (๑) หมัน ่ ประชุมเนื องนิ ตย์ (๒) เข้าประชุม เลิกประชุม และช่วยกันทากิจที่ควรทาอย่างพร้อมเพรียงกัน ั ญัติสิ่งที่ขัดต่อหลักการ แต่ปฏิบต (๓) ไม่บญ ั ิตามหลักการที่ได้บญ ั ญัติไว้แล้ว (๔) เคารพนั บถือและรับฟังความคิดเห็นของผู้ใหญ่ (๕) ไม่ข่มเหงรังแก หรือล่วงเกินผู้หญิง (๖) เคารพปูชนี ยสถานและปูชนี ยวัตถุ (๗) ให้ความอารักขาคุ้มครองและป้องกันพระสงฆ์ผู้ทรงศีล ให้ อ ยู่ ในถิ่ น นั้ น อย่ า งเป็ น สุ ข สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ พุทธศาสนิ กชนร่วมกันปฏิบัติธรรมที่วัด สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๔.๒ การจัดระเบียบสังคม ในทางพระพุทธศาสนา สังคมจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยดีงาม และสามารถ อยู่ร่วมกั น ได้ อย่างสั น ติ สุ ข คนในสั ง คมจาเป็น ต้ องประพฤติ ตามหลั ก เบญจศีล (ศีล ๕) เบญจธรรม (ธรรม ๕) ดังนี้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ เบญจศีล ๑. งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ คู่กับเบญจธรรม คือ มีความเมตตากรุ ณา ๒. งดเว้นจากการลักขโมย คู่กับเบญจธรรม คือ ประกอบอาชีพสุจริต ๓. งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม คู่กับเบญจธรรม คือ มีความสารวมในกาม ๔. งดเว้นจากการพูดเท็จ คู่กับเบญจธรรม คือ มีสัจจะ ๕. งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย คู่กับเบญจธรรม คือ มีสติสัมปชัญญะ ่ คนในสังคมสามารถปฏิบต เมือ ั ิตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาดังกล่าวแล้ว สมาชิกในสังคมก็จะอยู่รว ่ มกันอย่างมีความสุข สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๕. สรุ ปและวิเคราะห์พุทธประวัติ ป ร ะ วั ติ ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ตั้ ง แ ต่ ป ร ะ สู ติ ต รั ส รู ้ เ ผ ย แ ผ่ พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ตลอดจนเสด็ จดั บ ขัน ธปรินิ พ พาน ล้ ว นมีค วามส าคั ญแก่ ก ารศึ ก ษา และสามารถน ามา วิเคราะห์ ข้ อคิ ดที่ ได้เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนิ น ชีวิต พุ ทธประวัติที่น ามาวิเคราะห์ มีดังนี้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๕.๑ การผจญมาร ก่ อ นที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า จะตรั ส รู ้ นั้ น พระองค์ ไ ด้ ป ระทั บ บนบั ล ลั ง ก์ ห ญ้ า คาที่ โสตถิ ย ะ พราหมณ์ น ามาถวายบริ เวณใต้ ต้ น พระศรี ม หาโพธิ์ พร้ อ มกั บ ทรงตั้ ง ปณิ ธ านแน่ ว แน่ ว่ า “แม้ เ ลื อ ดและเนื้ อ ในสรี ร ะนี้ จ ะเหื อ ดแห้ ง ไป เหลื อ อยู่ แ ต่ ห นั ง เอ็ น กระดู ก ก็ ต ามที เ ถิ ด ตราบใดที่ ยั ง ไม่ บ รรลุ พ ระอนุ ตรสั มมาสั มโพธิ ญาณ เราจะไม่ ย อมลุ ก จากบั ล ลั ง ก์ นี้ เป็ น อั น ขาด” เมื่ อ พญาวสวั ต ตี ม ารทราบพระปณิ ธ านอั น แน่ ว แน่ นั้ น ก็ ร ะดมพลเสนามาร ทั้ ง หลายมาขั ด ขวางการบ าเพ็ ญ เพี ย รของพระองค์ เช่ น บั น ดาลให้ เ กิ ด พายุ พั ด รุ นแรง แต่ ว่ า พระองค์ ไ ด้ ทรงระลึ ก ถึ ง ความดี ที่ ท รงบ าเพ็ ญ มา คื อ พระบารมี ๑๐ ประการ จึงทรงมีพระทัยมั่นคงไม่หวาดกลัวต่ออานาจมาร พญามารจึงกล่าวอ้างว่า บัลลังก์ที่ประทับ นั้ น เป็ น ข อ ง ต น เพ ร า ะ ต น ไ ด้ บ า เพ็ ญ บ า ร มี ต่ า ง ๆ ม า ม า ก ม า ย แ ล ะ อ้ า ง เ ส น า ม า ร ทั้งหลายเป็นพยาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๕.๑ การผจญมาร หลังจากนั้ นให้พระสิทธัตถะหาพยานมายืนยัน บ้า ง พระองค์ จึ ง ทรงเหยี ย ดนิ้ ว ชี้ ล งที่ แ ผ่ น ดิ น เพราะในการให้ ทานทุก ครั้ง พระองค์ ทรงหลั่ ง ทั ก ษิ โณทก (น้ า ที่ ห ลั่ ง ในเวลาท าทาน) ลงบน แผ่ น ดิ น ฉะนั้ น แม่ พ ระธรณี จึ ง เป็ น พยานใน การทรงบริจาคทาน แม่พระธรณี จง ึ บีบมวยผม ซึ่ ง ชุ่ ม ด้ ว ยน้ า หลั่ ง ออกมามากมายกลายเป็ น ทะเลท่ ว มพญามารและเสนามารทั้ ง หลายจน แม่พระธรณี บีบมวยผม แตกพ่ายไป สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๕.๒ การตรัสรู ้ หลังจากพญามารพ่ายแพ้ไปแล้ว พระสิทธัตถะก็ทรงบาเพ็ญเพียรต่อไปจนบรรลุ ญาณทั้ง ๓ ตามลาดับ ดังนี้ ปฐมยาม ทรงบรรลุ ปุพเพนิ วาสานุ สติญาณ คือ ความหยั่งรู ้ ในชาติภพก่อน ๆ คือ ทรงระลึ ก ชาติ ไ ด้ มั ช ฌิ ม ยาม ทรงบรรลุ จุ ตู ป ปาตญาณ คื อ ทรงรู ้ก ารจุ ติ แ ละการเกิ ด ของสรรพสั ต ว์ ทั้ ง หลายคื อ มี ต าทิ พ ย์ หู ทิ พ ย์ ปั จ ฉิ มยาม ทรงบรรลุ อาสวั ก ขยญาณ ้ ริยสัจ ๔ (ความจริงอันประเสริฐ) ๔ ประการ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิ โรธ มรรค คือ ตรัสรู อ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๕.๓ การสั่งสอน พระสิ ท ธั ต ถะ ตรัส รู ้เป็ น พระพุ ท ธเจ้า เมื่ อ ย่ า รุ ่ง ของคื น วัน เพ็ ญ เดื อ น ๖ ก่ อ น พุ ท ธศั ก ราช ๔๕ ปี ขณะที่ พ ระองค์ มี พ ระชนมายุ ๓๕ พรรษา หลั ง จากตรั ส รู ้ แ ล้ ว พระพุ ท ธเจ้ า ทรงพั ก ผ่ อ นเป็ น เวลา ๗ สั ป ดาห์ แ ล้ ว เสด็ จ ออกเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนา ทรงนึ กถึงพระอาจารย์ทั้งสอง คืออาฬารดาบส และอุททกดาบส แต่ท่านทั้งสองได้สิ้นชีพ แล้วจึงเสด็จไปโปรดปัญจวัคคีย์ ณ อิสิปตนมฤคทายวัน พระธรรมเทศนาที่พระองค์ทรง แสดงครัง ้ แรกเรียกว่า ปฐมเทศนา พระธรรมที่ทรงแสดงเรียกว่า ธัมมจักกัปปวัตตนสู ตร หลั ง จากฟั ง พระธรรมเทศนา โกณฑั ญ ญะ ได้ ด วงตาเห็ น ธรรมจึ ง ทู ล ขอบวช นั บ เป็ น พระสงฆ์องค์แรกในพระพุทธศาสนา ต่อจากนั้ นทรงแสดงธรรมเทศนาโปรดอีก ๔ ท่าน จนเกิดความเข้าใจธรรมและทูลขอบวช และสาเร็จเป็นพระอรหันต์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๖. หลักธรรมและการปฏิบัติตนในวันสาคัญ ทางพระพุทธศาสนา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๖.๑ วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา วัน ที่ เ กิ ด เหตุก ารณ์ ส าคั ญ เกี่ ย วกั บ พระรัต นตรัย การก าหนดให้ มีวัน ส าคั ญ ทาง พระพุทธศาสนาก็เพือ ่ ให้พุทธศาสนิกชนประกอบศาสนกิจ เป็นการบูชาคุณพระรัตนตรัย และตั้งใจประพฤติปฏิบต ั ิตนตามหลักธรรมที่เกิดขึ้นในวันสาคัญนั้ น ๆ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา มีดังนี้ ๑) วันมาฆบูชา วันมาฆบูชา หรือวันเพ็ญเดือน ๓ เรียกอีกอย่างหนึ่ งว่า “วันจาตุรงคสันนิ บาต” เป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงหลักธรรม โอวา ทปา ติ โม กข์ แ ก่ พ ระ ภิ ก ษุ ที่ ได้ รั บ ก า รบวช แบบเอหิ ภิ ก ขุ อุ ป สั มป ทา ซึ่ ง เป็ น พระอรหันต์รวมทั้งสิ้น ๑,๒๕๐ องค์ ที่มาประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมาย ณ พระวิหาร เวฬุ วัน หลักธรรมโอวาทปาติโมกข์ เป็นคาสอนที่เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ซึ่งกล่าว รวมไว้ ๓ ประการ คือละเว้นความชั่ว ทาแต่ความดี ทาจิตใจให้ผ่องใส สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒) วันวิสาขบูชา วั น วิ ส าขบู ช า หรื อ วั น เพ็ ญ เดื อ น ๖ เป็ น วั น ที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า ประสู ติ ตรั ส รู ้ และ ปรินิพพาน หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่ องกับเหตุการณ์ ในวันดังกล่าว มีดังนี้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๒) วันวิสาขบูชา ประสู ติ ในวั น ที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า ประสู ติ ได้ ท รงเปล่ ง พระอาสภิ ว าจา (วาจาอย่ า ง องอาจ) ว่า “เราคือผู้เลิศแห่งโลก เราคือผู้เจริญที่สุดของโลก เราคือผู้ประเสริฐที่สุดของ โลก ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายบัดนี้ ภพใหม่ไม่มอ ี ีก” ตรัสรู ้ ก่อนที่จะถือกาเนิ ดในพระชาติสุดท้ายเป็นพระพุทธเจ้านั้ น พระพุทธเจ้าได้ ทรงบาเพ็ญบารมี ๑๐ ประการต่อเนื่ องยาวนานมาหลายชาติ ได้แก่ ทาน ศีล เนกขัมมะ ิ ะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน (ตั้งใจมั่น) เมตตา และอุเบกขา (วางใจ (การออกบวช) ปัญญา วิรย เป็นกลาง ไม่ยินดียินร้ายจากสิ่งเย้ายวนใด ๆ) ปริ นิ พ พาน ก่ อ นจะปริ นิ พ พาน พระพุ ท ธเจ้ า ได้ ต รั ส พระวาจาครั้ ง สุ ด ท้ า ยว่ า “สิ่งทั้งหลายที่เกิดจากปัจจัยปรุ งประกอบขึ้นล้วนมีอันจะต้องเสื่อมสลายไป เธอทั้งหลาย จงยัง ความไม่ประมาทให้ ถึ งพร้อม” เพื่อเป็น การเตื อนใจให้ พุทธศาสนิ ก ชนดาเนิ นชีวิต ด้วยความดีงาม ไม่ประมาท สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๓) วันอัฐมีบูชา วั น อั ฐ มี บู ช า คื อ การบู ช าในวั น แรม ๘ ค่ า เดื อ น ๖ เป็ น วัน ถวายพระเพลิ ง พระพุทธสรีระ ซึ่งถัดจากวันวิสาขบูชา ๘ วันและเพื่อเป็นการราลึกถึง พระคุณของ พระพุ ท ธเจ้า ๓ ประการ คื อ พระปั ญ ญาในการตรัส รู ้ข องพระองค์ (พระปั ญ ญา- ธิคุ ณ ) ความบริสุ ท ธิ์ ปราศจากกิ เ ลสของพระองค์ (พระวิสุ ท ธิ คุ ณ ) และการแสดง พระธรรมคาสอนแก่ชาวโลก (พระมหากรุ ณาคุณ) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๔) วันอาสาฬหบูชา วั น อาสาฬหบู ช า หรื อ วั น เพ็ ญ เดื อ น ๘ เป็ น วั น ที่ พ ระพุ ทธเจ้ า ทรงแสดงปฐมเทศนา คือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรเน้ นทาให้เกิดพระสงฆ์ ขึ้ นเป็ น ครั้ ง แรกในโลก คื อ พระอั ญ ญาโกณ- ฑั ญ ญะเป็ น วั น ที่ มี พ ระรั ต นตรั ย ครบองค์ ส าม คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ พระพุทธเจ้าทรงแสดง ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรแก่ปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ จนบรรลุอรหัตผลเป็นพระอรหันต์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๕) วันธรรมสวนะ วันธรรมสวนะ คื อ วัน ก าหนดประชุ ม ฟัง ธรรม หรือที่ เรีย กว่า “วัน พระ” เดื อ น หนึ่ ง ๆ มีวันพระ ๔ วัน คือ วันขึ้น ๘ ค่า วันแรม ๘ ค่า วันขึ้น ๑๕ ค่า และวันแรม ๑๕ ค่า หรือ ๑๔ ค่า ในเดือนขาด ในวันธรรมสวนะพุทธศาสนิ กชนมี โอกาสได้ฟังเทศน์ ฟังธรรม เพือ ่ ชาระจิตใจให้บริสุทธิ์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๖.๒ ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตนในวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา ๑) วันเข้าพรรษา เป็นวันที่พระภิกษุ ต้องอยู่ประจา ณ วัดใดวัดหนึ่ งระหว่างฤดูฝน ตลอดระยะเวลา ๓ เดือน คือ เริ่มตั้งแต่วันแรม ๑ ค่า เดือน ๘ ถ้าปีใดมีเดือน ๘ สองครั้ง ก็เลื่อนมาเป็นวันแรม ๑ ค่า เดือน ๘ หลัง จนถึงวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ การถวายเทียนพรรษา นิ ยมทากันในเทศกาลเข้าพรรษาเพื่อเป็นพุทธบูชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๖.๒ ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตนในวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา ๒) วั น ออกพรรษา เป็ น วั น ที่ พ ระภิ ก ษุ ได้ รั บ พระบรมพุ ท ธานุ ญ าต ให้ จาริ ก ค้างแรมที่อื่นได้เพื่อนาความรู ้และหลักธรรมคาสอนที่ได้รับ ระหว่างเข้าพรรษาไปเผยแผ่ แก่ประชาชน นอกจากนั้ นยังเปิดโอกาสให้พระภิกษุ ว่ากล่าวตักเตือนเรือ ่ งความประพฤติ ระหว่างพระภิกษุ ด้วยกัน เพือ ่ ให้เกิดความบริสุทธิ์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๖.๒ ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตนในวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา ๓) วันเทโวโรหณะ ระเบียบพิธป ี ฏิบต ั ิในวันเทโวโรหณะ จะมีการจัดเตรียมขบวน แห่ พ ระพุ ท ธรู ป ซึ่ ง มีก าร ตกแต่ ง อย่ า งสวยงาม เพื่อ ให้ พุ ท ธศาสนิ ก ชนได้ ม าท าบุ ญ ใส่ บาตร โดยอาหารที่นิยมนามาทาบุญในวันนี้ คือ ข้าวต้มลูกโยน บางท้องถิ่นอาจจาลอง ส ถ า น ก า ร ณ์ วั น ที่ พ ร ะ พุ ท ธ เจ้ า เ ส ด็ จ ล ง ม า จ า ก ส ว ร ร ค์ ชั้ น ด า ว ดึ ง ส์ จ า ก นั้ น จ ะ มี การอาราธนาศีล สมาทานศีล รักษาศีล ฟังธรรม แผ่เมตตา และกรวดน้าอุทิศส่วนกุศล ให้ ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๖.๒ ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตนในวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา ประเพณี ตักบาตรเทโวโรหณะ ของพุทธศาสนิ กชน จังหวัดอุทัยธานี สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒

Use Quizgecko on...
Browser
Browser