Summary

This document provides an overview of coccidia and microspora, two groups of intracellular parasites. It details their classification, genera, and species, along with life cycles. It also covers diagnosis and disease patterns. Information is provided for various animal hosts and includes discussions on the role of environmental factors and host immunity.

Full Transcript

Coccidia and Microspora Coccidia and Microspora Phylum Apicomplexa Class Sporozoea – Subclass Coccidia Order Eucoccidia – Suborder Haemosporina » Family Plasmodiidae *Genus Plasmodium *Genus Haemoproteus *Genus Leucocytozoon – Subord...

Coccidia and Microspora Coccidia and Microspora Phylum Apicomplexa Class Sporozoea – Subclass Coccidia Order Eucoccidia – Suborder Haemosporina » Family Plasmodiidae *Genus Plasmodium *Genus Haemoproteus *Genus Leucocytozoon – Suborder Eimeriina » Family Eimeriidae *Genus Eimeria *Genus Isospora » Family Sarcocystidae *Genus Toxoplasma *Genus Neospora *Genus Sarcocystis » Family Cryptosporididae *Genus Cryptosporidium – Subclass Piroplasmia Order Piroplasmida – Suborder Piroplasmina » Family Babesiidae * Genus Babesia » Family Theileriidae * Genus Theileria Phylum Microspora (Phylum Microsporidia) Enterocytozoon sp. Encephalitozoon sp. Coccidia and Microspora are the obligate intracellular protozoa, that mostly habitat in the digestive tract, and they transmitted from host to host by encysted stages passed in the feces. Since the onset of the acquired immunodeficiency syndrome (AIDS) epidemic, the number of these protozoan pathogens recognized and the frequency with which they are encountered in clinical practice have increased. Coccidia 3 genera ทีสําคัญทางสัตวแพทย์ ได้แก่ Eimeria, Isospora, Cryptosporidium ส่ วนมากเป็ น intracellular parasite ของ intestinal epithelium มีขบวนการ schizogony และ gametogony เกิดขึนภายในลําไส้ ของโฮสต์ ส่ วนขบวนการ sporulation เกิดขึนภายนอกโฮสต์ Coccidiosis ในสั ตว์ อาจเกิดได้จากโปรโตซัวหลายชนิด แต่ส่วนมาก coccidiosis ในสัตว์ มักหมายถึงการติดเชือโปรโตซัวในสกุล Eimeria Isospora เนืองจากพยาธิกาํ เนิด พยาธิสภาพ และระบาดวิทยาทีเกิดจากเชือบิดแต่ละ species นันจะใกล้เคียงกันทังหมด ดังนันอาการ การวินิจฉัย การ รักษาควรจะพิจารณาตามความเหมาะสมกับโฮสต์แต่ละชนิด Genus Eimeria โฮสต์ สัตว์ปีก โค แพะ แกะ สุ กร ม้า กระต่าย ตําแหน่ งทีพบเชื อ epithelial cells ของลําไส้ ยกเว้น 2 species ทีพบในไตและตับ เขตปรากฏโรค ทัวโลก Species ทีสํ าคัญ สัตว์ปีก Eimeria tenella, E.necatrix, E.brunetti, E.maxima, E.mitis และ E.acervulina ไก่งวง E.meleagrimitis และ E.adenoeides ห่าน E.anseris, E.nocens และ E.truncata (พบในไต) โค E.zuernii, E.bovis และ E.alabamensis แกะ E.crandallis, E.ovinoidalis และ E.bakuensis แพะ E.arloingi และ E.ninakohlyakimovae สุ กร E.debliecki ม้า E.leuckarti กระต่าย E.flavescens, E.intestinalis และ E.stiedae (พบใน ตับ) Life cycle ของ Eimeria Asexual reproduction Sporulated oocyst Sporozoite Trophozoite schizogony Schizont Merozoite Sexual reproduction บาง merozoite Gametocyte (macrogametocyte และ microgametocyte) Macrogamete และ Microgamete Fertilization Zygote Unsporulated oocyst Sporogony Unsporulate oocyst Sporulated oocyst (ภายในมี 4 sporocyst แต่ละ sporocyst มี 2 sporozoites) Diagnosis ตรวจอุจจาระเพือหา oocysts ขูดหรื อตัดชินเนือบริ เวณผนังลําไส้ทีมีรอยโรคทีสงสัยมาตรวจหาเชือ coccidia การจําแนกชนิดของ oocysts ทําได้โดยดูจากรู ปร่ างลักษณะและขนาด บางครังอาจดูจากตําแหน่งทีพบระยะ schizont, ขนาดของ schizont และจํานวน merozoites ภายใน schizont Genus Isospora Species ทีสําคัญได้แก่ Isospora suis พบในสุ กร Isospora canis และ Isospora ohioensis พบในสุ นขั Isospora felis และ Isospora rivolta พบในแมว Isospora belli พบในคน วงชีวติ ของ Isospora ต่ างจาก Eimeria ดังนี Sporulated oocyst ของ Isospora ภายในจะมี 2 sporocysts แต่ละ sporocyst จะมี 4 sporozoites Isospora จะมีระยะทีเป็ น extraintestinal stages เกิดขึนได้ที ม้าม ตับ และต่อมนําเหลืองของสุ กร ซึ งระยะเหล่านีอาจจะบุกรุ กกลับเข้าไปใน ลําไส้อีกและทําให้โฮสต์แสดงอาการติดเชือ coccidia ในลําไส้อีกครังหนึงได้ ถ้ากระต่ายกิน oocyst ของสุ นขั และแมวเข้าไปแล้ว อาจแสดงอาการป่ วย เนืองจากการเจริ ญของ asexual stage และอาจเป็ น reservoir ของ โรคได้ดว้ ย Coccidiosis ในสั ตว์ ปีก สําหรับไก่เลียงอาจแบ่งได้เป็ น 1) Caecal coccidiosis species ทีสําคัญทีสุ ดทีเป็ นสาเหตุของ caecal coccidiosis ในไก่คือ E.tenella ซึงมักพบได้ในไก่อายุ 3-7 สัปดาห์ prepatent period ของโรคใช้เวลาประมาณ 7 วัน ไก่มกั มีอาการซึ ม ปี กตก ขนยุง่ อุจจาระนิมเหลวมีเลือดปน ในกรณี subclinical infection ไก่จะมีนาหนั ํ กลดลงและอัตราการแลกเนือตําลง 2) Intestinal coccidiosis species ทีก่อโรครุ นแรงทีสุ ดคือ E.necatrix แต่ species ทีพบก่อโรคตาม ธรรมดามากกว่าได้แก่ E.brunetti ซึ งก่อโรครุ นแรง, E.acervulina, E.maxima และ E.mitis ก่อโรครุ นแรงปานกลาง และ E.praecox ก่อโรคอย่าง อ่อน เชือเหล่านีมี prepatent period นานประมาณ 4-7 วัน ส่ วนมากไก่ทีโตแล้วมักติด intestinal coccidiosis โดยอาการทีพบจะคล้ายกับ อาการของ caecal coccidiosis แต่ species ทีอาจก่ออาการรุ นแรงถึงกับอาจพบ เลือดในอุจจาระได้นนมี ั เพียง E.necatrix และ E.brunetti เท่านัน การติดเชือแบบ subclinical infection จะพบได้ตามธรรมดามากกว่า โดยไก่จะมี อัตราการแลกเนือลดลงและออกไข่ชา้ หรื อให้ไข่นอ้ ยลง Coccidia ในสัตว์ปีก ตําแหน่ งทีพบวิการของโรคและความรุนแรงของโรค E.tenella E.necatrix E.brunetti E.acervulina E.maxima E.mitis ตําแหน่ งทีพบ caeca Small Lower Small Upper Small Mid Small Lower intestine intestine intestine intestine Small intestine วิการทีลําไส้ Haemorrhage Haemorrhage Slight Watery Salmon pink No visible White spot Thickened haemorrahge exudates exudates lesions walls Coagulative White Thickened walls White spot necrosis transverse Haemorrhage bands with heavy infection เลือดในอุจจาระ ++ + ± - - - ระดับความรุ นแรง ++++ ++++ +++ ++ ++ ++ ขนาดของ oocyst 23 x 19 20 x 17 25 x 19 18 x 14 30 x 20 16 x 15 (ไมโครเมตร) ระยะเวลา (ชัวโมง) ทีจะ 21 20 38 12 38 19 เกิด sporulation ขึน 50% ที 29C การตรวจวินิจฉัย coccidiosis ในสั ตว์ ปีก ผ่าซากสัตว์ปีกทีแสดงอาการป่ วย เพือดูตาํ แหน่งทีพบรอยโรคและชนิด ของรอยโรค ตรวจหา oocyst จากอุจจาระ แต่มีขอ้ จํากัดคือ อาการป่ วยทีรุ นแรง ของสัตว์มกั จะเกิดขึนก่อนทีระยะ oocyst จะถูกสร้างขึนมาและ จํานวน oocyst ทีมีมากหรื อน้อยในอุจจาระไม่จาํ เป็ นจะต้อง สัมพันธ์กบั ความรุ นแรงของรอยโรคทีเกิดขึนในลําไส้ Coccidiosis ในโค มักพบในโคอายุนอ้ ยกว่า 1 ปี แต่กอ็ าจพบการเกิดโรคได้บา้ งในโคทีอายุ มากกว่า 1 ปี มี 13 species ทีเป็ นสาเหตุของโรค แต่ทีพบได้บ่อยคือ Eimeria bovis และ E.zuernii โคอาจแสดงอาการลําไส้อกั เสบอย่างรุ นแรงและท้องร่ วงได้ในกรณี ทีติด เชืออย่างหนัก Coccidiosis ในแพะและแกะ ในแกะอายุนอ้ ยกว่า 1 ปี มี coccidia ทีก่อโรคได้ 11 ชนิดแต่มี เพียง 2 ชนิดทีก่อโรครุ นแรงได้แก่ Eimeria crandallis และ E.ovinoidalis ลูกแกะอาจมีอาการท้องร่ วงอย่างรุ นแรง อาจมีเลือดปนในอุจจาระ ในกรณี ติดเชือ E.ovinoidalis หรื ออีกบาง species อาจพบ จุดสี ขาวทีมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่าซึงเป็ น giant schizont Coccidiosis ในแพะยังมีขอ้ มูลน้อย Coccidiosis ในสุ กร มี coccidia หลายชนิดทีสามารถก่อโรค coccidiosis ในสุ กร ได้ เช่น Eimeria debliecki และ Isospora suis แต่ บทบาทและความสําคัญของโรคนีในสุ กรยังไม่ทราบแน่ชดั การวินิจฉัยทําได้ค่อนข้างยากนอกเสี ยจากผ่าซาก เนืองจากอาการ ท้องเสี ยมักปรากฏก่อนทีระยะ oocysts จะถูกขับออกมาทาง อุจจาระ Coccidiosis ในม้ า มีรายงานว่า Eimeria leuckarti ในลําไส้เล็กของม้าและลา เป็ นสาเหตุของ intermittent diarrhea การวินิจฉัยทําได้ยาก ข้อมูลเกียวกับการรักษาก็มีไม่มากนัก Coccidiosis ในกระต่ าย species ทีสําคัญทีก่อโรคในกระต่าย ได้แก่ Eimeria stiedae, E.flavescens และ E.intestinalis Coccidiosis มักพบได้ตามธรรมดาทีสุ ดในช่วงหย่านม การวินิจฉัยทําได้โดยการผ่าซาก Coccidiosis ในสุ นัขและแมว ในสุ นขั species ทีพบได้ตามธรรมดาได้แก่ Isospora canis และ I.ohioensis ซึงโดยปกติมกั ไม่พบว่าเชือ 2 ชนิดนี เป็ นสาเหตุหลักของอาการป่ วยในสุ นขั ในแมว species ทีพบได้ตามธรรมดาได้แก่ Isospora felis และ I.rivolta ซึงการก่อโรคในแมวจัดว่าไม่รุนแรงยกเว้นในลูกแมว อายุนอ้ ยทีอาจเกิดอาการท้องเสี ยอย่างรุ นแรงได้ Coccidiosis ในคน อาจเกิดจากการติดเชื อโปรโตซัวชนิดใดชนิดหนึงดังต่ อไปนี Cryptosporidium spp. Cyclospora cayetanensis Isospora belli Toxoplasma gondii Sarcocystis spp. Genus Cryptosporidium World wide distribution The species of Cryptosporidium that infects humans and most mammals is C.parvum. There are 6 important species (20 spp.) – C.muris (rodent) – C.nasorum (fish) – C.meleagridis and C.bailey (avian) – C.parvum (man, cattle, sheep, goat, deer, horse, buffalo, cat and non-mammalian – C.hominis (man) Species โฮสต์ หลัก โฮสต์ รอง C. hominis คน พะยูน แกะ โค C. parvum โค กระบือ แพะ แกะ คน กวาง mice หมู C. muris สั ตว์ ฟันแทะ คน แพะภูเขา C. suis หมู คน C. felis แมว คน โค C. canis สุ นัข คน C. meleagridis ไก่ งวง คน นกแก้ ว C. wrairi guinea pigs C. bovis โค แกะ C. andersoni โค อูฐ แกะ C.baileyi สั ตว์ ปีก นกกระทา เป็ ด C. galli finches ไก่ C. serpentis จิงจก งู C. saurophilum จิงจก งู C. scophthalmi ปลา C. molnari ปลา Life cycle of Cryptosporidium sp. Thick-walled oocyst ของ Cryptosporidium Excystation Sporozoites Invade Epithelial cells(intracellular extracytoplasmic) Merogony Type I meront Merogony Type II meront (4 merozoites) macrogametocyte หรื อ microgametocyte macrogamete หรื อ microgamete Fertilization Zygote Thick-walled oocyst Thin-walled oocyst Sporulation sporulated oocyst autoinfection วงจรชีวิต sporozoites ถูกปลอยออกมาจาก oocyst แลวจะเขาไปอาศัยอยูใน epithelial cells ของ ระบบทางเดินอาหารแลวเจริญขึ้นเปนระยะ trophozoite ซึ่งเชื้อระยะนี้เปน intracellular คืออยูภายในเซลของโฮสตโดยจะอยูขางใต cell membrane ของโฮสตแตอยู extracytoplasmic หรือดานนอกของไซโตพลาสมของ host cell จากนั้น trophozoite จะแบงตัวแบบ merogony จนไดเซลที่มี 6-8 นิวเคลียส แตละ นิวเคลียสจะเจริญไปเปนระยะ merozoite ของ type I meront เรียกวา type I merozoite ระยะ type I merozoite เหลานี้จะถูกปลอยออกจากเซลเขาสูชองวางภายในลําไสของโฮสต แลวจะเขาไปในเซลผนังลําไสขางเคียงกอนจะเริ่มการสืบพันธุแบบ merogony รอบใหมแลว ไดเปน type I meront อีกครั้งหนึ่ง บาง type I merozoite ที่อาจจะเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปเปน meront ที่ตางออกไปจาก เดิมซึ่งเรียกวา type II meront โดยภายใน type II meront จะมีเพียง 4 merozoites เมื่อ type II merozoite เขาไปในเซลผนังลําไสแลวมันจะพัฒนาไปเปน macrogametocyte หรือ microgametocyte ซึ่งตอมามันจะมีการสราง macrogamete หรือ microgamete ตามลําดับแลว gamete ทั้ง2 ชนิดจะเกิดการปฏิสนธิ (fertilization) กันจนในที่สุดเกิดเปน zygote zygote สวนใหญจะมีผนังมาหุมไวกลายเปน thick-walled oocyst ซึ่งตอมาจะเกิด ขบวนการ sporogony ไดเปน sporulated oocyst ซึ่งภายในจะมี 4 sporozoites บรรจุอยู sporulated oocyst นี้จะถูกขับออกไปนอกรางกายพรอมกับอุจจาระของโฮสต อีกประมาณ 20% ของ zygote ที่ถูกสรางขึ้นจะเจริญไปเปน thin-walled oocyst ซึ่ง oocyst ชนิดนี้จะทําใหเกิด autoinfection ในทางเดินอาหารของโฮสตเดิมอีก thin-walled oocyst และ meront ที่หลงเหลืออยูภายในลําไสของโฮสตเดิมนี้เองที่มบี ทบาท สําคัญในการซอนตัวอยูในโฮสตและคงสภาพการติดเชื้อเอาไวแลวสามารถทําใหเกิดโรคหรือ อาการปวยรายแรงในผูป วยที่มีภาวะภูมิคุมกันบกพรองไดโดยที่ผูปวยไมจําเปนตองติดเชื้อเขา ไปใหมอีก Diagnosis Histopathology Serology Concentration method – Modified acid fast staining – Negative staining – Auramine-rhodamine staining – Auramine-carbolfuchsin staining – Acridine orange staining Sporulated oocysts of Cryptosporidium รู ปร่ างค่อนข้างกลม ขนาดประมาณ 4-5 ไมครอน ภายในแต่ละ oocyst มี 4 sporozoites ซึงแต่ละ sporozoite มีรูปร่ างคล้าย พระจันทร์เสี ยว ตัวอย่ างการศึกษาแบบ case-control studies ถึงปัจจัยเสี ยงทีอาจเกียวข้ องกับการ เกิดโรค cryptosporidiosis ในประชากรของประเทศทีพัฒนาแล้ วตังแต่ ปี 1990 เป็ นต้ นไป (ดัดแปลงจาก Hunter and Thompson, 2005) เอกสารอ้างอิง สถานทีศึกษา จํานวน case จํานวน ปัจจัยเสี ยง Odds ratio control (95% CI) Robertson et al., 2002 Melbourne 201 795 ว่ายนําในสระว่ายนําสาธารณะ 2.7 มีเด็กอยูใ่ นบ้านน้อยกว่า 6 คนและเด็กมี 7.4 อาการท้องเสี ย มีสัตว์เลียงอยู่ภายในบ้ าน 0.6 มีการสัมผัสกับลูกโค 2.9 ดืมนําจากแม่นาหรืํ อทะเลสาบโดยไม่ได้ตม้ 1.5 Robertson et al., 2002 Adelaide 134 536 ว่ายนําในสระว่ายนําสาธารณะ 1.2 มีเด็กอยูใ่ นบ้านน้อยกว่า 6 คนและเด็กมี 8.6 อาการท้องเสี ย มีสัตว์เลียงอยู่ภายในบ้ าน 0.6 มีการสัมผัสกับลูกโค 5.1 ดืมนําจากแม่นาหรืํ อทะเลสาบโดยไม่ได้ตม้ 3.1 ตัวอย่ างการศึกษาแบบ case-control studies ถึงปัจจัยเสี ยงทีอาจเกียวข้ องกับการ เกิดโรค cryptosporidiosis ในประชากรของประเทศทีพัฒนาแล้ วตังแต่ ปี 1990 เป็ นต้ นไป เอกสารอ้างอิง สถานทีศึกษา จํานวน case จํานวน control ปัจจัยเสี ยง Odds ratio (95% CI) Roy et al., 2004 United States 282 490 สัมผัสกับเด็ก (อายุ 2-11 ปี ) ทีมีอาการ 3.0 ท้องเสี ย สัมผัสกับโคหรื อลูกโค 3.5 เดินทางไปต่างประเทศ 7.7 ว่ายนําเล่นในแหล่งนําจืด 1.9 กินผักสดดิบๆ 0.5 Hunter et al., 2004 Wales and NW England 427 427 เดินทางออกนอกประเทศอังกฤษ 5.7 สัมผัสกับผูป้ ่ วยทีเป็ นโรค 4.6 cryptosporidiosis สัมผัสกับโค กระบือ 3.9 กินผักสดดิบๆ 0.5 กินไอศครี ม 0.5 Cyclospora มีรายงานพบ Cyclospora ในคน ลิง งูพิษ ตัวตุน myriapodes และสัตวฟน แทะแลวรวม 17 species ไดแก Cyclospora viperae, C.glomericola, C.babaulti, C.tropidonoti, C.anglomurinensis, C.caryolytica, C.talpae, C.ashtabulensis, C.megacephali, C.parascalopi, C.niniae, C.scinci, C.zamenis, C.cayetanensis, C.cercopitheci, C.colobi และ C.papionis ซึ่งชนิดที่พบกอโรคในคนไดแก C.cayetanensis Cyclospora cayetanensis -เปนเชื้อที่กอใหเกิดอาการอุจจาระรวงในคนที่มีภูมิคุมกันปกติแตมักไมมีอาการรุนแรง สวนใน ผูปวยภูมิคุมกันบกพรองจะมีอาการรุนแรงกวา เชื้อนี้มีระยะ oocyst ที่มีรูปรางและ ลักษณะการติดสีคลายคลึงกับ oocyst ของ C.parvum มีขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 7.7 – 9.9 ไมโครเมตร (เฉลี่ย 8.6 ไมโครเมตร) เมื่อออกมากับอุจจาระใหมๆจะยังไมเกิด sporulation จนเวลาผานไปอยางนอย 1 สัปดาหจึงจะเกิด sporulation กลายเปน oocyst ที่ภายในมี 2 sporocysts ภายในแตละ sporocyst จะมี 2 sporozoites -อาการที่มักพบในคนที่ติดเชื้อ C.cayetanensis ไดแก เบื่ออาหาร คลื่นไส อึดอัด ปวดทอง ทองเสีย มีไขต่ําๆ น้ําหนักลด แตในพื้นที่ทเี่ ปน endemic area ผูที่ตดิ เชื้ออาจไมแสดงอาการ รุนแรงก็ได เด็กเล็กและคนแกที่ติดเชื้อจะแสดงอาการรุนแรงกวาคนหนุมสาว -เทาที่ทราบในปจจุบันโฮสตของ C.cayetanensis คือคนเทานัน้ สวนสัตวชนิดอื่นแมจะมีรายงาน การพบ oocysts ของเชื้อในอุจจาระของไก เปด สุนัข แตก็ยังไมมีรายงานยืนยันการติดโรค Unsporulated oocyst of Cyclospora cayetanensis รู ปร่ างกลม ขนาดประมาณ 8-10 ไมครอน ภายในมี granule กลม เล็ก วาวๆ สี เขียวอ่อน Neon blue autofluorescence unsporulated oocyst ที่ออกมากับอุจจาระมีรูปรางกลม ขนาด 6-8 ไมโครเมตร มีผนัง 2 ชั้น ภายใน oocyst มี granule กลมๆ เล็กๆ สีเขียวออนวาวๆจํานวนหลายอัน เมื่อนําไป ตรวจดวยแสงอัลตราไวโอเล็ต จะเห็นผนังของ oocyst เรืองแสงเปนวงสีฟา (neon-blue autofluorescence) จากการยอมสีพิเศษ modified acid fast stain จะเห็น oocyst ติดสีแดงบนพื้นสีน้ําเงิน ภายใน oocyst อาจมีจุดแดงเขมหลายจุด (mottled appearance) บาง oocyst อาจติดสี ชมพูหรือลักษณะคลายฟองอากาศ (bubbled appearance) หรือเปนวงใสๆ ไมติดสี sporulated oocyst ภายในจะมี sporocysts 2 อัน รูปรางเปนวงรี แตละ sporocyst จะมี sporozoites 2 ตัว ซึ่งมีรูปรางเรียวคลายพระจันทรเสี้ยว Life cycle of Cyclospora cayetanensis วงจรชีวิต วงจรชีวิตของ C.cayetanensis ยังไมรูแนชัดแตคาดวานาจะคลายคลึง กับของ C. parvum แตมีบางจุดที่แตกตางกัน คือ C.cayetanensis ไมมี การ autoinfection และ oocyst ที่ปนออกมากับอุจจาระของ C.cayetanensis ยังเปน unsporulated oocyst ดังนั้นยังไมสามารถ ติดตอไดทันที ตองใชเวลาในการเจริญเติบโตในสิ่งแวดลอมอีก 5-6 วัน จึง จะเปน Sporulated oocyst และสามารถติดตอได Treatment Drug of choice ในการรักษา cyclosporiasis คือ trimethoprim / sulfamethoxazole หรือ co-trimoxazole Isospora belli (Cystoisospora belli) Isospora belli เปนเชื้อโปรโตซัวที่กอโรคทั้งในคนปกติ และในผูปวยภูมคิ ุมกันบกพรอง โดย กอใหเกิดอาการอุจจาระรวงเรื้อรัง ความชุกของการติดเชื้อนี้ในผูป วยเอดสพบรอยละ 0.2-2 ในประเทศไทยพบรอยละ 8 oocyst ของเชื้อ I.belli ที่ปนออกมากับอุจจาระจะเปน unsporulated oocyst ดังนั้นจะยัง ไมติดตอ ตองการเวลาในการเจริญเปน sporulated oocyst ในสิ่งแวดลอมอีก 4-5 วัน oocyst ของ I.belli ที่พบในอุจจาระจะมีรูปรางเปนวงรี ขนาด 20-30 x 10-20 ไมโครเมตร ผนัง 2 ชั้น เรียบบางใสและไมมีสี ภายในจะมี sporoblast 1-2 ตัว รูปรางกลม เมื่อเวลาผาน ไปจะพบ sporocyst ซึ่งมีขนาด12-14 x 7-9 ไมโครเมตร แตละ sporocyst บรรจุ sporozoites จํานวน 4 ตัว รูปรางเรียวคลายพระจันทรเสี้ยวและมี 1 นิวเคลียส Isospora belli I.belli characterized by release of immature oocysts (unsporulated oocysts) from intestinal wall. They will mature within 4-5 days to form sporozoites. Unsporulated and sporulated oocyst of Isospora belli รู ปร่ างรี ขนาดประมาณ 20-33 x 10-19 ไมโครเมตร มีผนัง 2 ชันบางใส Life cycle of Isospora belli Microspora Thick walled spore containing an infective body named sporoplasm, surrounded by a coiled hollow tube-the polar filament, through which the sporoplsm is injected into its host. Beside infects the intestinal epithelium of AIDS patients, it also invades other epithelium and has been recovered from immunocompetent patient with diarrhea. Microspora ทีสําคัญ Enterocytozoon bieneusi Encephalitozoon hellem Encephalitozoon cuniculi Encephalitozoon intestinalis Microsporidial species ทีสํ าคัญทีก่อโรคในคน ชนิด จํานวนผู้ตดิ เชื อ ตําแหน่ งทีติดเชื อ ชนิดของโฮสต์ ผู้ป่วยทีมี คนทีมีภูมิคุ้มกัน ภูมิคุ้มกันตําลง ปกติ Enterocytozoon >1,000

Use Quizgecko on...
Browser
Browser