Handout 101_5 การศึกษา (Education) PDF

Summary

This handout provides an overview of education and learning, including learning styles, cognitive domains, affective domains, and psychomotor domains. It details different learning behaviors and practical techniques for enhancing learning effectiveness.

Full Transcript

Education : การศึกษา หรือ ระบบการศึกษา บทที่5 มีการสอบวัดผลอยางเปนระบบ study : การเรียน หรือ ระบบการเรียน...

Education : การศึกษา หรือ ระบบการศึกษา บทที่5 มีการสอบวัดผลอยางเปนระบบ study : การเรียน หรือ ระบบการเรียน มีเปาหมายและวัตถุประสงคในการใหความรู/ กลยุทธเพื่อเพิ่ม เรียนรูชัดเจน ประสิทธิภาพในการเรียน learning : การเรียนรู หรือ กระบวนการ เรียนรู เปนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เรียบเรียงเนื้อหา: ผศ.ดร.ศยามล เอกะกุลานันต ปรับปรุงเนื้อหา: ผศ.ทรรศนะ ใจชุมชื่น น การศึกษาเป พระบรมราโชวาท การศึกษาเปนกระบวนการที่ชวยสราง ี่สําคัญที่สุด เครื่องมือท พระราชทานของ Introduction และพัฒนาความรู ความคิด และ ในก าร พ ฒ ั นาคนและปร ะเทศ “…วัตถุประสงคของการศึกษานั้นคืออยางไร พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว to My Class ลักษณะนิสัยของบุคคลใหเปนไป อยางเหมาะสม และชวยใหบุคคล ทุกคนจะตอ ง ัฒนา กลาวโดยรวบยอดก็คือ การทําใหบุคคลมีปจจัย หรืออุปกรณสําหรับชีวิตอยางครบถวนเพียงพอ รัชกาลที่ 9 เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2523 นําความรู ความคิ รวมมือกันพ ทั้งในสวนวิชาความรู สวนความคิด วินิจฉัยสวน Present with ด และความสามารถ ease and wow any audience with Canva Presentations. ของตนไปใชใหเปนประโยชน Choose from over a ตอตนเอง จิตใจและคุณธรรมความประพฤติ สวนความ thousand professionally-made templates to และสั fit any งobjective คมโดยส orวtopic. นรวม ขยันอดทน และความสามารถในอันที่จะนําความ การศึMake กษาเป น กระบวนการเรี ยนรู รูความคิดไปใชปฏิบัติงานดวยตนเองใหไดจริงๆ it your own by customizing it with text andอphotos. อยางต Apply page เนื่องตลอดชี วิตanimations ที่จําเปน and เพื่อสามารถดํารงชีวิตอยูไดดวยความสุขความ transitions to your Canva presentation to เจริญมั่นคง และสรางสรรคประโยชนแกสังคม สําหรั บทุกคนในการดํ emphasize ารงชี ideas and make วิต even more them memorable. และบานเมืองไดตามควรแกฐานะดวย…” พัฒนาความรูความสามารถของตน การเรียนดีเปน ประกอบอาชีพ นิสิตมาเรียน การเพิ่มโอกาสที่ดี สรางโอกาสที่ดีใหกับตนเอง เพื่อ..... ในดานตางๆ ใหกับชีวิต พัฒนาสังคม มีสังคม มีเพื่อน การปรับตัวในการเรียนได ชวยสรางความสุขใหกับชีวิต สรางคุณคาใหกับตนเองและผูอื่น เนื้อหา 1 พฤติกรรมการเรียน จิตวิทยาชวยให การสํารวจตนเองถึงปจจัย 2 บุคคลมีประสิทธิภาพ ที่สงผลตอการเรียน ในการเรียนได อยางไร? 3 การควบคุมตนเองเพื่อการเรียน 4 ทฤษฎีและกลยุทธเพื่อการเรียน พฤติกรรมการเรียน 1 การเรียนรู (learning) เปน “ทักษะที่ตองฝกฝน” พฤติกรรม พฤติกรรมที่พึงปรารถนาจะใหเกิดขึ้นใน ตัวผูเรียนภายหลังจากที่ไดผานกระบวนการ การเรียน เรียน คือ “พฤติกรรมการเรียนรู” ผูเรียนสามารถพัฒนาการเรียนของตนได ผูเรียนตองมีความตองการที่จะเรียน (มีแรงจูงใจในการเรียน) ผูเรียนตองมีการจัดระบบการเรียนใหดี พฤติกรรมการเรียนรูตาม พฤติกรรมการเรียนรูตาม แนวคิดของ Bloom แนวคิดของ Bloom ทีมา https://sirikanya926.wordpress.com/ ทีมา https://sirikanya926.wordpress.com/ พุทธิพิสัย พฤติกรรม (Cognitive Domain) 1.ความรู (Knowledge) ความสามารถทรงไวซึ่ง ดานพุทธิพิสัย เรื่องราว ขอเท็จจริง ตาง ๆ ที่ไดรับมาไมวาจะ ดวยการอาน การฟง หรือดวยประสาทสัมผัส เปนพฤติกรรมที่แสดงออก แบงเปน 6 ระดับ ใดๆ และสามารถถายทอด สิ่งที่ทรงไวนั่นออกมา ถึงศักยภาพของสมอง ความรู ไดในสภาพเดียวกับที่รับรูเอาไว ความสามารถ ที่เกี่ยวของกับการจดจํา ความเขาใจ ดานนี้มักจะเรียกกันทั่วไปวา “ความจํา” ขอมูลตางๆ และนําขอมูล การประยุกตใช 2.ความเขาใจ (Comprehension) ความสามารถใน เหลานั้นมาประมวลผล การวิเคราะห การปรับเปลี่ยนขาวสารขอมูลที่ไดรับมาใหมีความหมาย กอใหเกิดผลผลิตทาง การสังเคราะห สําหรับตนเองและแสดงออกในรูปแบบใหมที่แตกตาง ความคิดแบบตาง ๆ การประเมินคา จากสภาพที่รับเขามาแตยังคงความหมายเดิมเอาไว พฤติกรรม 3.การประยุกตใช (Application) พฤติกรรม ดานพุทธิพิสัย ความสามารถในนําเอามโนทัศน หลักการ ดานพุทธิพิสัย 5.การสังเคราะห (Synthesis) วิธีการ กระบวน กฎ ทฤษฎี หรือขอสรุป ความสามารถในการนําเอาขาวสารเรื่องราว ทั่วไปที่จดจํา ไดไปใชอธิบาย ทํานาย หรือ ขอเท็จจริงตางๆ มาประสานสัมพันธกัน แกปญหาที่เกี่ยวของกับเหตุการณหรือ สรางเปนผลผลิตใหมที่ยังไมเคยมีมากอน ปรากฏการณใหมที่ยังไมเคยทํามากอน 6.การประเมินคา (Evaluation) การนําเอาความรู 4.การวิเคราะห (Analysis) ความสามารถในการ แยกแยะเรื่องราวขาวสารขอมูลที่ไดรับออกเปนสวน เกี่ยวกับมโนทัศน หลักการ วิธีการ กฎ ทฤษฎี ตางๆ มา ประกอบยอยๆ พรอมทั้งชี้ใหเห็นถึงความสัมพันธระหวาง ใชตัดสินคุณคาใหกับปรากฏการณตางๆ สวนประกอบยอยๆ เหลานั้นวารวมตัวกันอยูไดอยางไร จิตพิสัย (Affective Domain) 1.การรับรู บุคคลสามารถรับรูและตีความหมายสิ่งตางๆ ไดอยางถูกตองสมบูรณ เปนพฤติกรรมที่เกี่ยวของกับคานิยม ความรูสึก 2.การตอบสนอง บุคคลมีการกระทํา หรือแสดงออกและตอบ ความซาบซึ้ง ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจ สนองตอสิ่งกระตุนหรือสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม และคุณธรรม พฤติกรรมดานนี้อาจไมเกิดขึ้นทันที 3.การเกิดคานิยม บุคคลมีความคิด ความเชื่อไดรวมถึงแสดงออก ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดย ซึ่งความคิดความเชื่อดังกลาวไดอยางเหมาะสม จัดสภาพแวดลอมที่เหมาะสม และสอดแทรก 4.การจัดระบบ บุคคลสามารถวางแผนและจัด พฤติกรรม ระเบียบการดําเนินชีวิตของตนไดอยางเหมาะสม สิ่งที่ดีงามอยูตลอดเวลา จะทําใหพฤติกรรมของ 5.บุคลิกภาพ บุคคลมีการแสดงออกทาง ผูเรียนเปลี่ยนไปในแนวทางที่พึงประสงคได ดานจิตพ ส ิ ย ั กาย วาจา อารมณ และจิตใจ หรืออุปนิสัย ที่เหมาะสม ทักษะพิสัย 2 (Psychomotor Domain) การสํารวจตนเอง เชน การออกเสียงอักขระตางๆ เปนพฤติกรรมที่แสดงออก ไดอยางถูกตองและชัดเจน ถึงปจจัยที่สงผล ถึงความสามารถในการบังคับ การแกะสลักผลไมเปนลวดลายรูป อวัยวะตางๆ ของรางกาย ตอการเรียน ตางๆ ไดอยางสวยงาม การทําความเขาใจถึง ใหเคลื่อนไหวหรือทํางาน การเลนยิมนาสติก การรองเพลง การเขียนตัวอักษรตางๆ จุดออนจุดแข็งของตน เพื่อบรรลุจุดมุงหมายที่ตองการ Weinstein’s Learning and การใชเครื่องมือจนชํานาญ อยางสอดประสานกัน การใชคอมพิวเตอรในการทํางาน study skill Inventory อยางคลองแคลว Kolb’s Learning style Inventory แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู แบบประเมินทักษะในการเรียนและการเรียนรู ของ Weinstein ของ Weinstein (Weinstein’s Learning and Study Skill inventory) ผูเรียนตองมีลักษณะ 3 ประการ ประเมินทักษะการเรียน 10 ดาน 1. ความตั้งใจ (WILL) เกี่ยวของกับ ความใสใจในเรื่องการเรียน การศึกษา เรื่องราวตางๆ ของสถาบัน และความเต็มใจที่จะทุมเท 1.ทัศนคติ 6.การประมวลขาวสารขอมูล หรือใชความพยายามเพื่อทําใหบรรลุเปาหมายทางการศึกษา 2.แรงจูงใจ 7.การจับประเด็นสําคัญ 2. ทักษะ (SKILL) ความสามารถในการเรียนรู ฝกฝน 3.การบริหารเวลา 8.การใชสิ่งสนับสนุนทางการเรียน 3. การควบคุมตน (SELF-REGULATION) 4.ความวิตกกังวล 9.การทดสอบตนเอง การบริหารจัดการกระบวนการการเรียนรูใน 5.สมาธิ 10.กลยุทธในการสอบ ดานเวลา ความตั้งใจและทรัพยากรให เกิดประโยชนตอการเรียนดวยตนเอง ตัวอยางคําถาม ในแบบประเมินทักษะในการเรียน ตัวอยางคําถาม ในแบบประเมินทักษะในการเรียน และการเรียนรูของ Weinstein และการเรียนรูของ Weinstein ประเมินทักษะการเรียน 10 ดาน ขอคําถาม ประเมินทักษะการเรียน 10 ดาน ขอคําถาม 1. ทัศนคติ (Attitude) ความรูสึกที่มีตอสถาบัน “มหาวิทยาลัยไมไดมีสวนพัฒนาความรู 4.ความวิตกกังวล (Anxiety) “ฉันมักจะกังวลใจกับสิ่งที่จะมารบกวนสมาธิ การศึกษาและความสําเร็จทางการศึกษา ความสามารถของฉันใหดีขึ้น” ความกังวลเกี่ยวกับการเรียน ขณะสอบมากเกินไป” 2. แรงจูงใจ (Motivation) “เมื่อกลุมของฉันไดรับมอบหมายใหทํางาน 5.สมาธิ (Concentration) “ระหวางฟงอาจารยบรรยายในหองเรียน ความพยายามที่บรรลุผลสําเร็จทางการศึกษา ที่มีความยาก ฉันจะเลือกทําใหสวนที่งาย ความสามารถในการรักษาความตั้งใจ ฉันเหมอลอยคิดถึงเรื่องอื่นๆ ไมไดสนใจในสิ่ง ที่สุดเทานั้น” ความใสใจในการทํางานที่ไดรับมอบหมาย ที่อาจารยพูด” 3. การบริหารเวลา (TIME Management) “ฉันขยันเรียนเฉพาะเวลาใกลสอบเทานั้น” 6. การประมวลขอมูลขาวสาร (Information “ฉันสามารถนําเอาขอมูลความรูขณะที่กําลัง ความสามารถประยุกตหลักการบริหารเวลาไปใช processing) ความสามารถในการสรางความ เรียนมาผสมผสานกับขอมูลความรูเดิม เกิด กับการเรียน สัมพันธระหวางขอมูลความรูที่มีอยูเดิมกับสิ่งที่ ประโยชนตอการเรียนรู ” กําลังเรียนรูหรือตองการจดจํา ตัวอยางคําถาม ในแบบประเมินทักษะในการเรียน แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูของ Kolb และการเรียนรูของ Weinstein Kolb’s Learning style Inventory ประเมินทักษะการเรียน 10 ดาน ขอคําถาม 7. การจับประเด็นสําคัญ (Selecting main ideas) “ขณะที่ฉันกําลังอานหนังสือ ฉันรูวาเนื้อหา สามารถระบุขอมูลสําคัญ หรือตัดสินไดวาขอมูลใด สวนใดเปนสวนสําคัญ” เมื่อบุคคลรูวาตนเองมีการเรียนรูในรูปแบบใด จะทําบุคคล เปนประเด็นหลัก เปนประเด็นสนับสนุน สามารถพัฒนาการเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ – เพิ่มทักษะ 8. การใชสิ่งสนับสนุนทางการเรียน (Study aids) “ขณะที่อานหนังสือฉันขีดเสนใตใจความ และประสบการณ ที่ทําใหบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว การใชสิ่งสนับสนุนหรือทรัพยากรชวยในการเรียน ที่สําคัญ” หรือการจดจํา การเรียนรูจะมีประสิทธิภาพหากผูเรียนมีแหลงทรัพยากรดาน 9. การทดสอบตนเอง (Self-testing) “ระหวางที่ฉันอานหนังสือฉันไดมีการหยุด มีการตรวจสอบระดับความเขาใจในขอมูลตางๆ ประเมินความเขาใจของตน” การเรียนที่เอื้อประโยชนตอรูปแบบการเรียนรูของตน 10.กลยุทธในการสอบ (Test strategies) “ในการตอบคําถามในขอสอบ ทานเริ่ม มีการเตรียมพรอมและใชกลวิธีชวยในการสอบ จากการเขียนหัวขอหลักๆ ของคําตอบไว กอนแลวจึงเขียนสวนที่ขยายคําตอบภายหลัง” แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูของ Kolb Kolb’s Learning style Inventory ใหนิสิตเรียงลําดับขอตอไปนี้ โดยพิจารณาวาขอใดตรงกับ การเรียนรูของบุคคลมี 4 รูปแบบ คือ Accommodating พฤติกรรมหรือการกระทําของนิสิต Diverging มากที่สุด ถาตรงมากสุด เปน 4 Assimilating และนอยสุด เปน 1 Converging รูปแบบในการเรียนรู ของ Kolb ก.ฉันเปนคนชอบคิดวิเคราะห ตรงไปตรงมา และจะถาม Kolb’s Learning style ถึงความเปนเหตุเปนผล ขอเท็จจริง ข.ฉันเปนคนที่เนนถึงความรูสึก จะใชประสบการณที่เคย มีหรือเคยผานเพื่อตัดสินและเขาใจสิ่งตางๆ ค.ฉันเปนคนชางสังเกต จะคอยพิจารณาวา รอบขางหรือในขณะนั้น ใครทําอะไรกัน ง.ฉันเปนคนที่ตองลงมือกระทํา ตองทําจริงจึงจะรูวาสิ่งนั้นคือ คืออะไร ถาไมลองทําจะไมเชื่อ Feeling (CONCRETE EXPERIENCE) เปนพวกที่เรียนรูจากการเห็นของจริง นิสัย ใชประสบการณเปนเครื่องชวยตัดสิน ชอบเรียนรูดวยการคนหาดวยตนเอง ในการเรียนรู ไมชอบกฎระเบียบ ชอบเรียนรูจาก กลุมเพื่อน ไมชอบเรียนรูจาก ผูบังคับบัญชา Observing Thinking (reflective observation) (Abstract Conceptualization) เรียนรูจากการเฝามองในการ นิสัย เรียนรูสิ่งตางๆ เขาจะใชวิธีการ ในการเรียนรู เปนพวกที่เรียนรู โดยการวิเคราะห คิดหาเหตุผลตาง ๆ อยางมีระบบ นิสัย สังเกตการกระทําของผูอื่น และ ยึดทฤษฎี ยึดสิ่งของมากกวา ในการเรียนรู สรุปความคิดเห็นออกมา ตัวคน เรียนรูจากสิ่งตางๆ ที่มี จากการสังเกต ระบบหรือคําสั่ง Doing 1. Accommodating (ACTIVE EXPERIMENTATION) เรียนรูโดยผสมผสานประสบการณเชิงรูปธรรม (Concrete experience) และ การทดลองเชิงรุก เรียนรูจากการลงมือ นิสัย รูปแบบ (Active Experimentation) ใชการลงมือกระทําและความรูสึก (Doing and กระทํา ปฏิบัติทดลองควบคู ในการเรียนรู การเรียนรู feeling) ชอบประสบการณและสิ่งทาทายใหม เชื่อสิ่งตางๆ จึงจะยอมรับความจริง เมื่อไดลงมือกระทําเหมาะที่จะเสนอหรือใหทํางานที่ ตั้งเปาหมายงานไวสูงและยากที่จะสําเร็จ 2. Diverging 3. Assimilating เรียนรูโดยผสมผสานประสบการณที่เปนรูปธรรม เรียนรูโดยผสมผสานแนวคิดเชิงนามธรรม (Concrete experience) และ การสังเกตอยาง (Abstract Conceptualization) และ รูปแบบ ไตรตรอง (Reflective observation) รูปแบบ การสังเกตอยางไตรตรอง (Reflective observation) ใชความรูสึกและการดู (Feeling and การเรียนรู watching) การเรียนรู ใชการดูและการคิด (Watching and thinking) ชอบวิธีการเชิงตรรกะ ความคิดเละแนวคิดตางๆ ชอบรวบรวมขอมูล เหมาะกับวิธีการระดมสมอง สําคัญมากกวาบุคคล สนใจตัวบุคคล มองเห็นหลายแงมุม ควรจะ เหมาะกับการฟงบรรยาย การอาน และการใหเวลา ทํางานเปนกลุม เปดใจและยอมรับในสิ่งตางๆ ในการคิด 3 4. Converging เรียนรูโดยผสมผสานแนวคิดเชิงนามธรรม (Abstract Conceptualization) และการ การควบคุมตนเอง รูปแบบ ทดลองเชิงรุก (Active Experimentation) เปนการทดลองประยุกตหลักการไปใชในสภาพ การเรียนรู การณใหม เพื่อการเรียน ใชการลงมือกระทํา และการคิด (Doing and thinking) แกปญหาโดยการฝกปฏิบัติ เหมาะกับงานที่ใช เทคนิค ชอบทดลองและสถานการณจําลองใสใจ ในเรื่องระหวางบุคคลนอย " คนที่ไมสามารถควบคุมตนเองได ยอมยากที่จะบริหารคนอื่นๆ หรือสิ่งอื่นๆ ได " Self-Regulation Theories (behavior, cognition, motivation, affect) ความเห็นคุณคาในตนเอง 1 (Self-Esteem) เกี่ยวของกับการกําหนดเปาหมาย การควบคุม ความมีวินัยในตนเอง องคประกอบที่เกี่ยวของกับ 2 พฤติกรรม แรงจูงใจ ความคิด อารมณและ (Self-Discipline) การควบคุมตนเอง ทรัพยากรในการทํากิจกรรมทางการเรียนในเชิงรุก 3 การตั้งเปาหมาย (Goal Setting) ดวยตัวผูเรียนเอง 4 การสรางแรงจูงใจ (Motivation) ผูเรียนสามารถเตือนตนในพฤติกรรม แรงจูงใจ อารมณและความคิด สามารถปรับตัวใหเหมาะสม 5 การบริหารเวลา (Time Management) กับความจําเปนของสถานการณตางๆ ไดหรือไม (Pintrich, 1995) 1. การเห็นคุณคาในตนเอง 2. ความมีวินัยในตนเอง (Self-Esteem) (Self-Discipline) เปนการจัดการประสบการณดานหนึ่งของบุคคล การรูหนาที่ความรับผิดชอบของตนเอง เปนความสามารถในการจัดการกับอุปสรรคของ การบังคับตนเองได ชีวิต และการเห็นในคุณคาของความสุข ความสามารถของบุคคลในการควบคุมอารมณ ความรูสึกที่บุคคลมีตอตนเองในทางที่ดี มีความ หรือพฤติกรรมของตนเองใหเปนไปตามที่ตนมุง เคารพและยอมรับตนเองวามีความสําคัญ มีความ หวัง ซึ่งจะตองเปนไปตามกฎระเบียบของสังคม สามารถและใชความสามารถที่มีอยูกระทําสิ่งตางๆ โดยเกิดจากความสํานึกขึ้นมาเอง แมจะมีสิ่งเรา ใหประสบความสําเร็จไดตามเปาหมาย ยอมรับ จากภายนอก หรือภายในมาเปนอุปสรรค ก็ยังคง นับถือตนเอง มีความเชื่อมั่นในตนเอง เคารพในตน ไมเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่มุงหวังไว และผูอื่น และมีชีวิตอยูอยางมีเปาหมาย 3. การตั้งเปาหมาย 3. การตั้งเปาหมาย (Goal Setting) (Goal Setting) 1. ขอบเขตของเปาหมาย (Goal Areas) เชน เพื่อไดความรู เพื่อประกอบอาชีพ เพื่อยก 3.ชวงเวลาของเปาหมาย (Goal ระดับจิตวิญญาณ Lengths) เชน สั้น ยาว เรงดวน 2. แบบหรือทิศทางของเปาหมาย (Goal Options) เชน ทําคะแนนไดดีขึ้น ลดการขาด 4.เปาหมายที่บรรลุได (Achievable เรียนมีพฤติกรรมขยันเรียนอยางตอเนื่อง Goals) เปนไปได เปนจริง เหมาะสม วัดได เริ่มทบทวนบทเรียนอาทิตยหนา ในการเรียน ครั้งตอไปจะไมคุยกับเพื่อน จากเปาหมายสูการวางแผนปฏิบัติ (Translating Goals into an Action Plan) 4. สรางแรงจูงใจในการเรียน Sellers, Dochen, & Hodges 1. เขียนสิ่งที่ตองการทํา 2. ตรงประเด็น และแมนยํา พฤติกรรมที่มุงสูความสําเร็จในการเรียนของผูเรียน 3. ระดมความคิดหากลยุทธ นั้น เกิดจากการที่ผูเรียนตระหนักถึงคุณคาหรือ ประโยชนที่ไดรับจากการเรียน เชน ไดความรู ได 4. รวบรวมเครื่องมือ สิ่งสนับสนุน และทรัพยากร ประกอบอาชีพที่ดี ทําใหคุณพอคุณแมภาคภูมิใจ และ 5. ระบุผลลัพธที่ตองการ ยังตองมีเปาหมาย เชน ฉันตองการไดเกรด A 5 วิชา 6. กําหนดวิธีการใหรางวัลและวิธีการลงโทษ ในเทอมหนานอกจากนี้ตองมีความมั่นใจและเชื่อมั่น 7. ประเมินผลจากเวลาที่กําหนดไวอยางเจาะจง วาตนจะสามารถทําได 1 วันในชีวิตเรา 5. การบริหารเวลา (Time Management) นอนหลับ 8 ชั่วโมง ทานอาหาร 2 ชั่วโมง ] เดินทาง 2 ชั่วโมง การบริหารเวลา คือ กระบวนการจัดลําดับ เรียน 3-5 ชั่วโมง ความสําคัญของสิ่งที่ตองทําและนําไปปฏิบัติ กิจวัตรสวนตัว 1-2 ชั่วโมง 12 ชั่วโมง งานอดิเรก 1 ชั่วโมง อื่นๆ 3-5 ชั่วโมง หลักในการบริหารเวลาอยางมีประสิทธิภาพ 1. เปาหมายที่ดี 2. Effective Time Scheduling เปนอยางไร ตัวอยาง “วันนี้ฉันจะใชเวลา 2 ชั่วโมง อานหนังสือหนา 150-170” มีความเฉพาะเจาะจง (Specific) สามารถวัดได (Measurable) สามารถสําเร็จได (Achievable) มีความเปนไปได (Realistic) มีขอบเขตของเวลา (Time frame) 1. Good Goal Setting 3. Motivation ตารางจัดลําดับงาน 2. การจัดตาราง 1. เขียนกิจกรรมทุกกิจกรรม กําหนดเวลาที่ตองใชใน เวลาทําอยางไร กิจกรรมตางๆ (รวมการกิน นอน งานอดิเรกตางๆ) เรงดวน ไมเรงดวน และจัดลําดับความสําคัญ 2. ระบุจํานวนเวลาที่จะทําในแตละกิจกรรม พิจารณา 1 2 ตองทําเดี๋ยวนี้ การวางแผน วาจะทําอยางไรที่จะใชเวลาอยางมีประสิทธิภาพ สําคัญ วันสุดทายแลว การเตรียมตัว 3. ทําในสิ่งที่เขียนไวทุกวัน และกําหนดเปาหมายที่ตองการจะ ถาไมทําจะมีปญหา การพัฒนาตนเอง ประชุมดวน การดูแลสุขภาพ ทําสําเร็จในทุกกิจกรรมที่เขียนไว 4. ใชบันทึกประจําวัน/สัปดาหเพื่อรักษาหรือเตือนตนเองถึง 3 4 ไมสําคัญ เรื่องที่ขัดจังหวะ หยุมหยิม สิ่งที่จะทําใหสําเร็จ ไมมีผลกับเรา ไมเกี่ยวกับงาน ไมจําเปน 5. ใชปฏิทินบันทึกวันสอบ วันสําคัญตางๆ และสิ่งที่จําเปนใน ตองตอบหรือทําเดี๋ยวนี้ ทําแลวไมเกิดผลอะไร การวางแผนลวงหนา ไมทําก็ไมกระทบมากนัก เสียเวลา ไมสําคัญ ตัวอยาง การจัดลําดับงาน ควรมีกิจกรรม/งานประเภทไหน มากเทาไร เรงดวน ไมเรงดวน เรงดวน ไมเรงดวน 1 2 - ปวดหัวมาก - เรียนพิเศษภาษาอังกฤษ 1 2 สําคัญ - นํ้ามันหมด - ตรวจสุขภาพประจําป สําคัญ - ไฟฟาจะตัดพรุงนี้ - ลดความอวน 25 – 30% 50 – 60% - ตองสงรายงานพรุงนี้ - วางแผนการลงทะเบียน 3 4 ไมสําคัญ - การนินทาผูอื่น ไมสําคัญ 3 4 - มีคนมาขอใหเปนสมาชิก - ทานขนมจุบจิบ fitness - นอนจนเกินตองการ 15% < 1% - เลนเกมสฆาเวลา ไปดูหนังกับเพื่อน พรุงนี้จะสอบ อยากเรียนรองเพลง หยุดคุยระหวางเรียน ขอแนะนําใน ปวดฟนมาก ตองไปหาหมอ งดการพูดโทรศัพทนานๆ บริหารเวลา คุยโทรศัพทเลนกับเพื่อน วางแผนไปเที่ยวพักผอนประจําป ตั้งใจ จดจอกับกิจกรรมการเรียน สําหรับผูเรียน เหตุการณตอไปนี้ ไปงานวันเกิดของเพื่อนที่เคยเรียนดวยกัน ตอนอนุบาล จัดอยูในงาน หลีกเลี่ยงสิ่งรบกวน หาสถานที่ที่จะทําใหมีสมาธิ มุงดูคนทะเลาะกัน ประเภทใด ตั้งเปาหมายใหสามารถทําได อานหนังสือ ทบทวนบทเรียนเพื่อการสอบ ในอีก 2 เดือนขางหนา ใชเวลากอนนอนเขียนงานที่จะทําในวันพรุงนี้ และ ทําเครื่องหมายเนนในกิจกรรมสําคัญ เพื่อนชวนไปเปนเพื่อนเพื่อสมัครทํางาน บันทึกเสียงการบรรยายและฟงขณะเดินทาง พิเศษทั้งๆ ที่ตนเองมีเรียน กลับบาน หรือไปเรียน ตัวอยาง ตารางบันทึกกิจกรรมในการเรียนประจําสัปดาห ใหเวลากับงาน เพื่อความสําเร็จในภายหนา ใหเวลากับความคิด เพื่อเปนคลังแหงพลังในการทํางาน ใหเวลากับการเลน เพื่อความเปนหนุมสาวอยางถาวร ใหเวลากับการอาน เพื่อเปนนํ้าพุแหงปญญา ใหเวลากับความเปนมิตร เพื่อเปนถนนแหงความสุข ใหเวลากับความรัก เพื่อความชื่นบานแหงชีวิต ใหเวลากับการหัวเราะ เพื่อเปนดนตรีแหงความเบิกบาน 3. การสรางแรง จูงใจใหกับตนเอง 4 การจูงใจหรือกระตุนใหกระทําสิ่งตางๆ (Motivation) ตามแผนที่ไดกําหนดไวเปนสวนที่ยาก ที่สุดในการบริหารเวลา ตองมีการจูงใจเมื่อทําสําเร็จ ทฤษฎีและกลยุทธ หาสิ่งที่จะจูงใจตัวเราและใหรางวัลกับตัวเอง ในการเรียน เมื่อทํางานสําเร็จตามเปาหมายในเวลาที่กําหนด เชน ไปดูหนัง ทานขาวกับเพื่อน ไปเที่ยว โทรศัพทคุยกับเพื่อน การทํางานของสมองมนุษยมีความคลายคลึงกับ การทํางานของคอมพิวเตอร การรับขอมูล (Input) ทฤษฎีกระบวนการทางสมอง ในการประมวลขอมูล การเขารหัส (Information (Encoding) Processing Theory) การสงขอมูลออก (Output) Information Processing Model ความจํามี 3 ระดับ 1.ความจําระดับประสาทสัมผัส (Sensory memory/Sensory register) 2.ความจําระยะสั้น (Short-term Memory) 3.ความจําระยะยาว (Long-term Memory) ความจําระดับสัมผัส ความจําระดับสัมผัส (Sensory memory) (Sensory memory) สิ่งเราจากสิ่งแวดลอมตางๆ ชนิด ไดเขา กระบวนการขั้น Sensory memory เปน มากระทบกับประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของมนุษย ชวงเก็บขอมูลตางๆ เพียงระยะสั้นๆ คือ หู ตา จมูก ทางสัมผัสผิวหนัง และทาง ประมาณ 1-3 วินาที เพียงเพื่อใหไดตัดสินใจ ปาก หรือ ลิ้น วาเราจะใหความสนใจและบันทึกไวในความ จําระยะสั้นตอไป ขอมูลหรือประสบการณที่รับเขามาจะบันทึกอยูใน Sensory memory ซึ่งเปนความจําระบบแรก ขอมูลที่บันทึกเก็บไวนั้นจะ กระบวนการที่ขอมูลจะถูกนําเขาไปเก็บไวในความ ถูกใสรหัส (encoded) ในลักษณะเดียวกันกับสิ่งเราตนตอที่รับ จําระยะสั้น คือ การรูจัก (recognition) และ มาจากสิ่งแวดลอม การใสใจ (attention) ตัวอยาง การไดยินเสียงของครูขณะบรรยายอยูหนาชั้นเรียน ความจําระยะสั้น ความจําระยะยาว (Short-term Memory) เปนแหลงที่สองของการบันทึกความจํา หลัง (LONG-term Memory) จากประสบการณตางๆ ที่รับเขามาจะบันทึก ขอมูลที่ถูกบันทึกไวในความจําระยะสั้น อยูใน Sensory memory ซึ่งเปนแหลงแรก นั้น ถาตองการดึงออกมาใช (Retrieve) ของการบันทึกความจํา ในภายหลังไดนั้น ขอมูลนั้นจะตองผาน เมื่อขอมูลที่เลือกแลวผานเขาเครื่องรับสัมผัส หรืออวัยวะสัมผัส ก็จะ กระบวนการประมวลผลและเปลี่ยนแปลง ถายโยงไปอยูที่ Short-term Memory แตเปนระยะเวลาที่จํากัด จึง (Processed and transformed) จาก ถูกเรียกวา ความจําระยะสั้น หรือเรียกวา ความจําขณะทํางาน ความจําระยะสั้น ไปสูความจําระยะยาว (Working Memory) เพราะเปนความจําเกี่ยวกับสิ่งที่เราจะตองการ ใชในขณะหนึ่ง หรือในขณะที่ประมวลขาวสารขอมูล ตัวอยาง การจําเบอรโทรศัพทแฟนคนแรกได ตัวอยางเชน การจําหมายเลขโทรศัพท อยางแมนยําแมเวลาจะผานไป 10 ป ในขณะที่เปดอานจากสมุดโทรศัพท จากความจําระยะสั้น สูความจําระยะยาว ขอมูล (Information) เกี่ยวของกับ 1. ทองซํ้าๆ (Rehearsal) หลังจากที่ขอมูลถูก กระบวนการเรียนรูของผูเรียนอยางไร? บันทึกไวในความจําระยะสั้นแลว เชน การทอง สูตรคูณ ซึ่งเปนการทองจําที่ไมตองใชความคิด การเรียนใหมีผลการเรียนที่ดีตอง อาศัยขอมูลที่สามารถกระตุนเราให 2. กระบวนการขยายความคิด (Elaborative ขอมูล ผูเรียนมีปฏิกิริยาตอบสนองกลับมากกวา กับการเรียน process) คือ การสรางความสัมพันธ หรือการ เชื่อมโยง ระหวางสิ่งที่จะเรียนรูใหม หรือขอมูล ขอมูลที่ไมสามารถกระตุนเราใหผูเรียน ใหม กับความรูเดิมของผูเรียนที่เก็บไวใน ความ มีปฏิกิริยาตอบสนองกลับ จําระยะยาว ซึ่งจะชวยในการเรียนรูอยางมี ความหมาย (Meaningful learning) ตัวอยางปญหาที่อาจเกิดขึ้นระหวาง ขอมูลเขามาเกี่ยวของกับกระบวนการเรียนรูใน 4 ขั้นตอน (The four stages in which information is processed into learning) กระบวนการประมวลขอมูลในการเรียน 1.INPUT 2.SENSES 3.MEMORY 4.OUTPUT ขอมูลเพียงพอไหม ไมรูจะจัดเวลากับแหลงขอมูล ตางๆ เชน การอาน การเขาเรียน เชน อานมากพอ การติวในสัดสวนเทาใด Teachers Hear เขาเรียนมากพอ เริ่มเมื่อไรและสิ้นสุดเมื่อไร Books See Essays Notes Touch Tests Friends Taste Thinking Films Smell Organization Exams มีสิ่งรบกวนขณะ Tapes ไมรูจะทําขอสอบ Hypothesis- รับรูขอมูลหรือไม เชน thinking หรือเขียนรายงานอยางไร แหลงขอมูล เสียงดังไมมีสมาธิ 1. แผนผังความคิด (Mind Map) 1 แผนผังความคิด (Mind map) ตัวอยางเทคนิค Tony Buzan ในการชวยเรียน 2 เพลง (Song) เครื่องมือในการจัดระบบความคิด และชวยจํา เปนวิธีการที่งายที่สุดในการนําขอมูลเขาไปในสมอง 3 ตัวยอ (Mnemonic) และเรียกขอมูลเหลานั้นออกมาใชไดอยางสบายๆ 4 แผนภาพ (Diagram) เปนรูปแบบการจดบันทึกที่สรางสรรคและมี ประสิทธิภาพ สามารถ “แสดงใหเห็นความคิด” ไดงายและชัดเจน Mind Map ชวยคุณไดอยางไร? Mind Map แผนกิจกรรมที่ตองทําวันนี้ มีความคิดสรางสรรคมากขึ้น เรียนรูไดเร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพ หมอพร นัดหมาย CENTRAL SHOPPING ประหยัดเวลา มากขึ้น แกปญหา มีสมาธิ ชวยใหรูสึกสนุกและตื่นเตนกับ การเรียน TODAY จัดระเบียบความคิดอยาง มองเห็นภาพรวมทั้งหมด ระปา ลูกชาย กระจางชัดเจน วางแผนและตัดสินใจไดอยางมีสติ ชางป วายน หอ งนํ้า ํ้า ความจําดีขึ้น ชวยในเรื่องการสื่อสาร อนุรักษตนไม (ประหยัดกระดาษ) เปนลักษณะเหมือนกิ่งไมแตกแขนงออกจากแกนกลางที่เปนจุดศูนยกลาง เรียกวา “แกนแกน” แตละกิ่งที่แตกออกมาแสดงถึงกิจกรรมตางๆ ที่ตองทํา แนวทางในการ เขียน Mind Map 1. เริ่มตนจากกลางหนากระดาษเปลาเพื่อใหสมองมี ใชสีสันหลากหลาย ใชโครงสรางตาม อิสระในการคิดแผขยายแขนงกิ่งออกไปไดในทุกทิศ ธรรมชาติที่แผกระจายออกมาจาก ทุกทาง และแสดงออกไดอยางอิสระตามธรรมชาติ จุดศูนยกลาง ใชเสนโยง มีเครื่องหมาย 2. ใชรูปภาพหรือสัญลักษณแทนหัวขอใหญ/หัวเรื่อง ฐาน สัญลักษณ และรูปภาพที่ผสมผสานรวม ที่เปนแกนกลางของเรื่องที่กําลังคิด เนื่องจากภาพมี หลักการพื้น ํา งานกันอยางเรียบงาย สอดคลองกับ ความหมายแทนคําไดนับพัน และชวยใหไดใช ของการท จินตนาการมากขึ้น Mind Map การทํางานตามธรรมชาติของสมองเรา 3.ใชสีสันใหทั่ว เพราะสีสันชวยเราอารมณ เพิ่มชีวิตชีวา ชวย เพิ่มพลังความคิดสรางสรรค และทําใหเกิดความเพลิดเพลิน แนวทางในการ แนวทางในการ เขียน Mind Map เขียน Mind Map 4. เชื่อมโยง “กิ่งแกว” ซึ่งเปนประเด็น 6. ใชคําคําเดียวที่ไมประสมกับคําอื่น เชน สําคัญๆ เขากับ “แกนแกน” ที่เปนภาพอยู นาฬิกา แขก ยามสะทอนใจความหรือประเด็น ตรงกลาง และเชื่อม “กิ่งกอย” หรือความคิด สําคัญๆ เทานั้นหนึ่งคําตอหนึ่งกิ่ง เนื่องจากจะ ยอยๆ แตกแขนงตอออกมาจาก “กิ่งแกว” ทําใหแตกประเด็นยอยไดมากมายถาคํายิ่งสั้น ออกไปเปนขั้นที่ 2 และ 3 ตามลําดับ การเชื่อม ยิ่งมีอิสระในการแตกแขนงกิ่งยอย ดังนั้นไม โยงกิ่งตางๆ เขาดวยกันทําใหเขาใจและจดจํา ควรเขียนเปนวลีหรือประโยค ไดงายมากขึ้น 5. วาดกิ่งที่มีลักษณะเปนเสนโคง แทนที่จะเขียนเปน 7. ใชรูปภาพประกอบใหทั่ว เพราะภาพชวย เสนตรงเพราะสมองเบื่อเสนตรง และเพื่อทําใหดูเปน ขยายความคิดไดกวางกวาใชคํา ธรรมชาติ ดึงดูดสายตา แบบฝกหัดMind Map การเรียนภาคตน ’64 เคมี สถิติ เพลง ABC เรียน เพลง แมลง ของทาทายัง ชีววทิ ยา จิตวิทยา 2.เพลง องคประกอบหลัก 1 ความพึงพอใจของผูรับบริการ (satisfaction) พื้นฐานของความ เปนกลยุทธที่ใชในการชวยทําใหจําดีขึ้น 2 ความคาดหวังของผูรับบริการ สําเร็จในงานบริการ (expectations) นําคําที่เกิดจากการนําอักษรตัวแรกของ 3. ตัวยอ คํามารวมกัน 3 ความพรอมในการบริการ (readiness) s) (Mnemonic ตัวอยางที่ 1 4 ความมีคุณคาของการบริการ (value) 5 ความสนใจตอการบริการ (interest) ตองการจําองคประกอบหลักพื้นฐาน 6 ความมีไมตรีจิตในการบริการ (courtesy) ของความสําเร็จในงานบริการ 7 ประการ ใหจําคําวา “SERVICE” 7 ความมีประสิทธิภาพของการดําเนินงานบริการ (efficiency) ตัวอยางที่ 2 NATO 4. แผนภาพ North Atlantic (Diagram) Treaty Organization เอกสารอางอิง ยงยุทธ พีรพงศพิพัฒน. (2547). การบริหารเวลาอยางมีประสิทธิภาพ. (พิมพครงที่ 2 ). นนทบุรี. บริษัท ดี โฟ คอนซัลแท็นท จํากัด. ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตรการสอน: องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูที่มี ประสิทธิภาพ. (พิมพครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ. สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Driscoll, M.P. (2005). Psychology of learning for instruction. New York: Pearson Education, Inc. Eysenck, M. W. (2002). Simply psychology. (2nd ed). New York.Psychology Press. Hodges, R. (2007). Turning a study skills course into a learning framework course.Minnesota Association for Developmental Education. Ormrod, J. E. (1999). Human Learning. (3rd ed). Ohio: Prentice Hall. Watson, D.L. and Tharp, R. G. (2007). Self-directed behavior. 9th ed. CA: Thomson Wadsworth.

Use Quizgecko on...
Browser
Browser