พระราชบัญญัติการเดินอากาศ (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 PDF

Document Details

BrandNewElm

Uploaded by BrandNewElm

Thammasat University

2562

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว

Tags

Thai law Air transportation law Civil aviation Legislation

Summary

This document is a Thai law (พระราชบัญญัติ) regarding civil aviation (การเดินอากาศ), specifically, a revision of existing laws (ฉบับที่ ๑๔) from 2562 (corresponding to 2019). It details definitions and specifies new rules.

Full Transcript

หนา้ ๕๘ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติ การเดินอากาศ (ฉบับที่ ๑๔)...

หนา้ ๕๘ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติ การเดินอากาศ (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปีที่ ๔ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศ พระราชบั ญ ญั ติ นี้ มี บ ทบั ญญั ติบ างประการเกี่ ย วกั บการจ ากัด สิ ท ธิ และเสรีภ าพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๒๘ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๘ และมาตรา ๔๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทาได้โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจาเป็นในการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อให้ การกากับดูแลการบินพลเรือนและการจัดระเบียบการประกอบกิจการเกี่ยวกับการเดินอากาศเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและสอดคล้องกับมาตรฐานของสากลยิ่งขึ้น อันจะเป็นประโยชน์แก่ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยของประเทศ และประโยชน์สาธารณะอื่น ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี้ สอดคล้องกับเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ต ราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติทาหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ หนา้ ๕๙ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการเดินอากาศ (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๒” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้เพิ่มบทนิยามคาว่า “ภาคผนวก” และคาว่า “การบินพลเรือน” ระหว่าง บทนิยามคาว่า “อนุสัญญา” กับคาว่า “อากาศยาน” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ ““ภาคผนวก” หมายความว่า ภาคผนวกและบทแก้ไขเพิ่มเติมภาคผนวกของอนุสัญญา เพื่อกาหนดมาตรฐานและข้อพึงปฏิบัติระหว่างประเทศที่ใช้บังคับกับการบินพลเรือนที่มีผลใช้บังคับกับ ประเทศไทย “การบินพลเรือน” หมายความว่า การเดินอากาศ การปฏิบัติการของอากาศยานพลเรือน เพื่อวัตถุประสงค์ของการขนส่งทางอากาศเพื่อการพาณิชย์ การทางานทางอากาศ หรือการบินทั่วไป และให้หมายความรวมถึงกิจกรรมอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องหรือเป็นส่วนประกอบกับกิจกรรมดังกล่าว” มาตรา ๔ ให้ยกเลิกบทนิยามคาว่า “อากาศยานราชการ” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติ การเดิน อากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ ซึ่งแก้ไ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินอากาศ (ฉบั บที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน ““อากาศยานราชการ” หมายความว่า อากาศยานที่ใช้ในราชการตามที่กาหนดในมาตรา ๕” มาตรา ๕ ให้เพิ่มบทนิยามดังต่อไปนี้ ระหว่างบทนิยามคาว่า “ผู้ดาเนินการหน่วยซ่อม” กับคาว่า “สนามบิน” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ ““บริการการเดินอากาศ” หมายความว่า บริการการจัดการจราจรทางอากาศ บริการระบบสือ่ สาร ระบบช่วยการเดินอากาศ และระบบติดตามอากาศยาน บริการอุตุนิยมวิทยาการบิน บริการข่าวสารการบิน บริการออกแบบวิธีปฏิบัติการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน และบริการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยาน ประสบภัย ซึ่งจัดให้มีขึ้นสาหรับการจราจรทางอากาศในทุกช่วงของการปฏิบัติการบิน “การจัดการจราจรทางอากาศ” หมายความว่า การจัดการจราจรทางอากาศและห้วงอากาศ อย่างพลวัตและบูรณาการ ซึ่งได้แก่ บริการจราจรทางอากาศ การจัดการห้วงอากาศ และการจัดการ ความคล่องตัวของการจราจรทางอากาศ “บริการจราจรทางอากาศ” หมายความว่า บริการที่เกี่ยวกับข้อมูลสาหรับเที่ยวบิน การเฝ้าระวัง และแจ้งเตือน การแนะนาจราจรทางอากาศ หรือการควบคุมการจราจรทางอากาศในพื้นที่ควบคุม เขตประชิดสนามบิน และบริเวณสนามบิน หนา้ ๖๐ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ “บริ ก ารอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาการบิน ” หมายความว่ า บริ ก ารที่ เ กี่ ย วกั บ การตรวจและรายงาน สภาพอากาศบริเวณสนามบิน การพยากรณ์อากาศเพื่อการบิน หรือการแจ้งเตือนสภาพอากาศที่เป็น อันตรายต่อการบิน “บริ ก ารข่ า วสารการบิ น ” หมายความว่ า บริ ก ารที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ให้ ข้ อ มู ล และข่ า วสาร ด้านการบินซึ่งจาเป็นต่อความปลอดภัย ความเป็นระเบียบ และความมีประสิทธิภาพของการเดินอากาศ ภายในพื้นที่ความรับผิดชอบที่กาหนด “บริการออกแบบวิธีปฏิบัติการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน ” หมายความว่า บริการ ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อออกแบบ จัดเก็บ ข้อมูลและเอกสาร ตรวจสอบความถูกต้อง บารุงรักษาและทบทวน วิธีปฏิบัติการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน เพื่อให้การเดินอากาศมีความปลอดภัยถูกต้อง และ มีประสิทธิภาพ “บริ ก ารค้ น หาและช่ ว ยเหลื อ อากาศยานประสบภั ย ” หมายความว่ า บริ ก ารที่ จั ด ตั้งขึ้น เพื่อเฝ้าระวังอากาศยานที่อยู่ในภาวะอันตราย การติดต่อสื่อสาร การประสานงาน และการปฏิบัติการค้นหา และช่วยเหลือ รวมทั้งการช่วยเหลือทางการแพทย์เบื้องต้น หรือการเคลื่อนย้ายทางการแพทย์ โดยใช้ ทรัพยากร อากาศยาน เรือ ยานพาหนะอื่น และอาคารสถานที่ของทั้งภาครัฐและเอกชน “การขนส่งทางอากาศเพื่อการพาณิชย์” หมายความว่า การปฏิบัติการของอากาศยานที่เกี่ยวข้องกับ การขนส่งคนโดยสาร สินค้า หรือไปรษณียภัณฑ์ เพื่อบาเหน็จทางการค้า “ผู้ตรวจสอบด้านการบิน” หมายความว่า บุคคลที่ผู้อานวยการแต่งตั้งให้ทาหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบ ความปลอดภัยด้านการบิน และผู้ตรวจสอบการรักษาความปลอดภัยด้านการบิน “สมาชิกลูกเรือ” หมายความว่า ผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ดาเนินการเดินอากาศให้ปฏิบัติหน้าที่ใด ๆ บนอากาศยาน “วั ต ถุ อั น ตราย” หมายความว่ า วั ต ถุ ห รื อ สารที่ ส ามารถก่ อให้ เ กิ ด ความเสี่ ย งต่ อ สุ ขภาพ ความปลอดภัย ทรัพย์สิน หรือสิ่งแวดล้อม ในขณะขนส่งทางอากาศ ที่ผู้อานวยการกาหนดเป็นวัตถุอันตราย ตามมาตรา ๑๕/๒๘ “การทางานทางอากาศ” หมายความว่า การปฏิบัติการของอากาศยานเพื่อการบริการอย่างใด อย่างหนึ่งเป็นการเฉพาะ เช่น การเกษตร การก่อสร้าง การถ่ายภาพ การสารวจ การสังเกตการณ์ การลาดตระเวน การบินทดสอบ การโฆษณาโดยใช้อากาศยาน หรือการลากเครื่องร่อนหรือลากป้ายโฆษณา “การบินทั่วไป” หมายความว่า การปฏิบัติการของอากาศยานนอกเหนือจากการขนส่งทางอากาศ เพื่อการพาณิชย์และการทางานทางอากาศ หนา้ ๖๑ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ “สถานที่ทาการ” หมายความรวมถึงสนามบิน โรงเก็บอากาศยาน หน่วยซ่อมที่ได้รับการรับรอง โรงงาน ลานจอด ที่เก็บน้ามันเชื้อเพลิง สานักงานของผู้ประกอบการ พื้นที่ขนถ่ายสินค้า สถานที่จัดเตรียม อาหารและเครื่องดื่ม สถานที่เก็บพัสดุอากาศยาน ยานพาหนะ และสถาบันฝึกอบรมด้านการบิน “สิ่งอานวยความสะดวกในการเดินอากาศ” หมายความว่า เครื่องอานวยความสะดวกใน การเดินอากาศ เครื่องมือหรือสิ่งอานวยความสะดวกในสนามบินอย่างอื่น ที่ใช้หรือสามารถใช้หรือ ถูกออกแบบมาเพื่อใช้สาหรับช่วยในการเดินอากาศของอากาศยาน รวมถึงสนามบิน พื้นที่ลงจอด ไฟ หรือเครื่องมืออุปกรณ์ใด ๆ สาหรับการเผยแพร่ข้อมูลสภาพอากาศ การส่งสัญญาณ การค้นหาทิศทางวิทยุ หรือวิทยุ หรือการสื่อสารโดยแม่เหล็กไฟฟ้าอื่น ๆ และโครงสร้างหรือกลไกอื่น ๆ ที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อนาทางหรือควบคุมเที่ยวบินในอากาศหรือการขึ้นลงของอากาศยาน “ห้วงอากาศที่ใช้ในการเดินอากาศ” หมายความว่า ห้วงอากาศเหนือระดับความสูงขั้นต่า ที่กาหนดไว้เพื่อการทาการบิน และห้วงอากาศที่จาเป็นต่อความปลอดภัยในการบินขึ้นและลงจอดของ อากาศยาน” มาตรา ๖ ให้ ย กเลิ ก บทนิ ย ามค าว่ า “การรั ก ษาความปลอดภั ย ” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน ““การรักษาความปลอดภัย ” หมายความว่า การป้องกันการกระทาอันเป็นการแทรกแซง โดยมิชอบด้วยกฎหมายที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อการบินพลเรือน” มาตรา ๗ ให้เพิ่มบทนิยามดังต่อไปนี้ ระหว่างบทนิยามคาว่า “การรักษาความปลอดภัย” กับคาว่า “ลานจอดอากาศยาน” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ “การกระทาอันเป็นการแทรกแซงโดยมิชอบด้วยกฎหมาย” หมายความว่า การกระทาหรือ พยายามกระทาการที่เป็นอันตรายต่อความปลอดภัยของการบินพลเรือน ซึ่งรวมถึงการกระทา ดังต่อไปนี้ (๑) การยึดอากาศยานโดยมิชอบด้วยกฎหมาย (๒) การทาลายอากาศยานในระหว่างบริการ (๓) การจับบุคคลเป็นตัวประกันในอากาศยานหรือในสนามบิน (๔) การบุกรุกโดยใช้กาลังเข้าไปในอากาศยานหรือที่สนามบินหรือที่ตั้งสิ่งอานวยความสะดวก ในการเดินอากาศ (๕) การนาอาวุธ หรือกลอุปกรณ์ วัตถุหรือสิ่งของที่อาจเป็นอันตรายขึ้นไปในอากาศยานหรือ เข้าไปที่สนามบินหรือที่ตั้งสิ่งอานวยความสะดวกในการเดินอากาศ (๖) การใช้อากาศยานในระหว่างบริการอันอาจเป็นเหตุให้ถึงแก่ความตาย การบาดเจ็บสาหัส หรือความเสียหายต่อทรัพย์สินหรือสิ่งแวดล้อมอย่างร้ายแรง หนา้ ๖๒ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ (๗) การแจ้งข้อมูลอันเป็นเท็จซึ่งเป็นอันตรายต่อความปลอดภัย เช่น ความปลอดภัยของ อากาศยานระหว่างการบินหรือขณะอยู่บนพื้นดิน หรือความปลอดภัยของผู้โดยสาร สมาชิกลูกเรือ เจ้าหน้าที่ภาคพื้น หรือสาธารณชน ที่สนามบินหรือที่ตั้งสิ่งอานวยความสะดวกในการเดินอากาศ (๘) การกระทาในลักษณะอื่นตามที่กาหนดในข้อบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน “การตรวจค้น” หมายความว่า การใช้วิธีการทางเทคนิคหรือวิธีการอืน่ ใดสาหรับตรวจจับอาวุธ วัตถุระเบิด หรือวัตถุใด ๆ ซึ่งอาจใช้ในการกระทาอันเป็นการแทรกแซงโดยมิชอบด้วยกฎหมายใด ๆ “คาสั่งการรักษาความปลอดภัย” หมายความว่า คาสั่งที่ออกตามมาตรา ๕๐/๒๒ “ตัวแทนควบคุม” หมายความว่า ผู้ที่ได้รับใบรับรองการเป็นตัวแทนควบคุมจากผู้อานวยการ ตามมาตรา ๕๐/๓๑ “การไปรษณีย์ควบคุม” หมายความว่า ผู้ที่ได้รับใบรับรองการไปรษณีย์ควบคุมจากผู้อานวยการ ตามมาตรา ๕๐/๓๑” มาตรา ๘ ให้ ย กเลิ ก บทนิ ย ามค าว่ า “ผู้ ด าเนิ น การเดิ น อากาศ” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน ““ผู้ดาเนินการเดินอากาศ” หมายความว่า ผู้ประกอบธุรกิจการขนส่งทางอากาศเพื่อการพาณิชย์ ทั้งภายในประเทศหรือระหว่างประเทศ ไม่ว่าด้วยตนเองหรือบุคคลอื่น หรือโดยการเช่าอากาศยานหรือ การดาเนินการรูปแบบอื่นใด” มาตรา ๙ ให้เพิ่มบทนิยามดังต่อไปนี้ ระหว่างบทนิยามคาว่า “ผู้ดาเนินการเดินอากาศ” กับ คาว่า “สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ ““ผู้ดาเนินการเดินอากาศต่างประเทศ” หมายความว่า ผู้ดาเนินการเดินอากาศที่ได้รับอนุญาต ตามกฎหมายของต่างประเทศที่ให้บริการมายังหรือออกจากราชอาณาจักรไม่ว่าด้วยตนเองหรือบุคคลอื่น หรือโดยการเช่าอากาศยานหรือการดาเนินการรูปแบบอื่นใด “ใบรับรองผู้ดาเนินการเดินอากาศ” หมายความว่า ใบรับรองที่ออกให้แก่ผู้ดาเนินการเดินอากาศ เพื่อรับรองว่าผู้ดาเนินการเดินอากาศนั้นมีความสามารถดาเนินการเดินอากาศได้อย่างปลอดภัยและ มีประสิทธิภาพไม่ว่าจะออกให้ตามพระราชบัญญัตินี้หรือออกโดยหน่วยงานกากับดูแลด้านการบินพลเรือน ของประเทศอื่น” มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกาหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน หนา้ ๖๓ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ “มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการการบินพลเรือนคณะหนึ่ง ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงคมนาคม เป็ น ประธานกรรมการ ปลั ด กระทรวงคมนาคม เป็ น รองประธานกรรมการ ผู้บัญชาการทหารอากาศ และกรรมการอื่นอีกจานวนเจ็ดคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง เป็นกรรมการ โดยต้ อ งเป็ น ผู้ ที่ มี ค วามรู้แ ละประสบการณ์ ด้ านการบิ น พลเรื อ น จ านวนไม่ น้ อ ยกว่ า สามคน และ ให้ผู้อานวยการ เป็นกรรมการและเลขานุการ” มาตรา ๑๑ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๘ และมาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๘ กรรมการอื่นอยู่ในตาแหน่งคราวละสี่ปี กรรมการที่พ้นจากตาแหน่งตามวาระ จะแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอีกก็ได้ มาตรา ๙ กรรมการอื่นย่อมพ้นจากตาแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระ เมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีให้ออก ถ้ามีการพ้นจากตาแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระ ให้มีการแต่งตั้งกรรมการเข้าแทน ผู้ที่ได้รับ การแต่งตั้งเข้าแทนนี้ย่อมอยู่ในตาแหน่งได้เพียงเท่ากาหนดเวลาของผู้ซึ่งตนแทน” มาตรา ๑๒ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกาหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๕ ให้คณะกรรมการการบินพลเรือนมีหน้าที่และอานาจในการกากับดูแลการปฏิบัติงาน ของสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ให้ทันต่อเหตุการณ์ ถูกต้อง และครบถ้วนตามกฎหมาย และตามอนุสัญญาและภาคผนวก และให้มีห น้าที่และอานาจตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัตินี้ในเรื่อง ดังต่อไปนี้ (๑) กาหนดนโยบายด้านการบินพลเรือนของประเทศ และพิจารณาอนุมัติแผนนิรภัย ใน การบินพลเรือนแห่งชาติ แผนรักษาความปลอดภัยการบินพลเรือนแห่งชาติ แผนอานวยความสะดวกใน การบิน พลเรือนแห่ งชาติ แผนแม่บทการจัด ตั้งสนามบินพาณิชย์ของประเทศ และแผนด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบินพลเรือนที่คณะกรรมการการบินพลเรือนกาหนด (๒) รับปรึกษาและให้คาแนะนาเกี่ยวกับการบินพลเรือนแก่รัฐมนตรี (๓) กาหนดนโยบายเพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้โดยสารหรือผู้ใช้บริการในภาคอุตสาหกรรมการบิน หนา้ ๖๔ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ (๔) กาหนดนโยบายเกี่ยวกับการใช้ห้วงอากาศที่ใช้ในการเดินอากาศของประเทศไทย (๕) พิจารณาให้ความเห็นชอบในการออกหรือต่อใบอนุญาตประกอบกิจการการบินพลเรือน ตามมาตรา ๔๑/๑๒๕ (๖) ออกข้อบังคับเพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขอและการออกใบอนุญาต ประกอบกิจการการบินพลเรือน (๗) ให้ความเห็นชอบข้อบังคับที่ออกโดยผู้อานวยการ (๘) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคานวณค่าบริการการเดินอากาศ (๙) ให้ความเห็นชอบอัตราค่าธรรมเนียมกากับการบินพลเรือนตามกฎหมายว่าด้วยการบินพลเรือน แห่งประเทศไทย (๑๐) กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีก ารคานวณค่าโดยสารและค่าระวางสาหรับอากาศยานขนส่ง และอัตราขั้นสูงตามมาตรา ๔๑/๑๓๐ (๑๑) ก าหนดอัต ราและเงื่ อนไขการเรีย กเก็บค่า บริการ ค่ า ภาระ หรื อ เงินตอบแทนอื่น ใด ในสนามบินอนุญาต ซึ่งให้บริการแก่สาธารณะตามมาตรา ๕๖ (๒) และ (๓) (๑๒) กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเพื่อเป็นกลไกยุติข้อขัดแย้งระหว่างสานักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไทยและผู้ประกอบกิจการการบินพลเรือน (๑๓) ปฏิบัติการอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ นโยบายด้านการบินพลเรือนของประเทศตาม (๑) ให้คณะกรรมการการบินพลเรือนเสนอต่อ คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว ให้แจ้งให้หน่วยงาน ของรัฐที่เกี่ยวข้องทราบเพื่อถือปฏิบัติให้เป็นไปตามนโยบายด้านการบินพลเรือนของประเทศดังกล่าว” มาตรา ๑๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นหมวด ๑/๑ การกากับดูแลการบินพลเรือน มาตรา ๑๕/๗ มาตรา ๑๕/๘ มาตรา ๑๕/๙ มาตรา ๑๕/๑๐ มาตรา ๑๕/๑๑ มาตรา ๑๕/๑๒ มาตรา ๑๕/๑๓ มาตรา ๑๕/๑๔ มาตรา ๑๕/๑๕ และมาตรา ๑๕/๑๖ แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ “หมวด ๑/๑ การกากับดูแลการบินพลเรือน มาตรา ๑๕/๗ ให้ ส านั ก งานการบิ น พลเรื อ นแห่ ง ประเทศไทยมี ห น้ า ที่ แ ละรั บ ผิ ด ชอบใน การกากับดูแลการบินพลเรือนของประเทศในเรื่อง ดังต่อไปนี้ หนา้ ๖๕ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ (๑) ความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัย และการอานวยความสะดวกในการบินพลเรือน (๒) ลักษณะและมาตรฐานทางวิศวกรรมและทางเทคนิคของอากาศยาน ผลิตภัณฑ์ สนามบิน และบริการการเดินอากาศ ในการปฏิบัติการการบินพลเรือน รวมทั้งการบารุงรักษา (๓) การจดทะเบีย นและเครื่อ งหมายอากาศยาน การจดทะเบีย นสิ ท ธิและผลประโยชน์ ในอากาศยาน และการกาหนดเอกสารประจาอากาศยาน (๔) มาตรฐานอากาศยาน การรับรองแบบ การรับรองการผลิต และการรับรองความสมควร เดินอากาศ (๕) คุณลักษณะและมาตรฐานทางเทคนิคในการควบคุมอากาศยาน และการปฏิบัติหน้าที่ของ ผู้ควบคุมอากาศยานและผู้ประจาหน้าที่ (๖) การออกใบรั บ รอง ใบอนุ ญ าต ใบส าคั ญ หนั ง สื อ อนุ ญ าต หรื อ หนั ง สื อ รั บ รอง ตามพระราชบัญญัตินี้ (๗) เส้น ทางการบิน เขตควบคุมการบิน บริเวณที่ใช้เป็นที่จอดหรือหยุดอากาศยานหรือ ยานพาหนะอย่างอื่น และการจัดการพื้นที่โดยรอบสนามบินและสิ่งอานวยความสะดวกในการเดินอากาศ (๘) การดูแลการขนส่งคนโดยสารและของที่ขนส่งทางอากาศ รวมทั้งค่าธรรมเนียมหรือภาระ ทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการด้านการบินพลเรือน (๙) การกาหนดมาตรการด้านความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัย และการอานวย ความสะดวกในการบินพลเรือน ซึ่งรวมถึงการบริหารจัดการและภาระทางด้านการเงินเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว เพื่อให้สอดคล้องกับอนุสัญญาและภาคผนวก รวมถึงพันธกรณีตามความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับ การบินพลเรือนที่ประเทศไทยเป็นภาคี (๑๐) การดาเนินการเกี่ยวกับอุบัติการณ์ที่เกี่ยวกับการบินพลเรือน และอุบัติการณ์ที่เกี่ยวกับ การกระทาอันเป็นการแทรกแซงโดยมิชอบด้วยกฎหมายที่มีผลต่อการรักษาความปลอดภัยการบิน (๑๑) การประกอบกิจการการบินพลเรือน มาตรฐานและคุณภาพการให้บริการ การคุ้มครอง ผู้ใช้บริการและอัตราค่าบริการ การป้องกันการผูกขาด และมาตรการการยุติข้อขัดแย้งระหว่างผู้ประกอบการ และผู้ใช้บริการ (๑๒) กรณีอื่นตามที่คณะกรรมการการบินพลเรือนประกาศกาหนด มาตรา ๑๕/๘ ในการกากับดูแลการบินพลเรือนตามมาตรา ๑๕/๗ ให้สานักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไทยมีหน้าที่และรับผิดชอบการบริหารจัดการในเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย (๑) ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมการบินพลเรือนในประเทศให้เกิดความมั่นคงและยั่งยืน หนา้ ๖๖ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ (๒) ประสานงานและให้การสนับสนุนเกี่ยวกับการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัย (๓) วางแผน ประสานงาน และจัดทาแผนแม่บทห้วงอากาศ เพื่อการใช้ประโยชน์ห้วงอากาศ ของประเทศไทยที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ (๔) จัดทา ติดตาม ประสานงาน และขับเคลื่อนให้มีการปฏิบัติให้เป็นไปตามแผนนิรภัย ในการบินพลเรือนแห่งชาติ แผนรักษาความปลอดภัยการบินพลเรือนแห่งชาติ แผนอานวยความสะดวก ในการบินพลเรือนแห่งชาติ แผนแม่บทการจัดตั้งสนามบินพาณิชย์ของประเทศ รวมทั้งแผนแม่บทหรือ แผนหลักระดับประเทศด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (๕) ให้คาแนะนาและช่วยเหลือ รัฐบาลในการเจรจากับประเทศอื่น ๆ เพื่อจัดทาความตกลง ระหว่างประเทศว่าด้วยบริการเดินอากาศ (๖) เป็นที่ปรึกษาให้แก่รัฐบาลและช่วยเหลือในการติดต่อประสานงานในเรื่องที่เกี่ยวกับองค์การ การบินพลเรือนระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องที่รัฐภาคีอื่นได้ร้องขอให้ประเทศไทยดาเนินการ ตรวจสอบติดตามด้านความปลอดภัยหรือการรักษาความปลอดภัย มาตรา ๑๕/๙ ในการดาเนินการตามมาตรา ๑๕/๗ และมาตรา ๑๕/๘ สานักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไทยต้องดาเนินการให้เป็นไปตามหรือคานึงถึงอนุสัญญาและภาคผนวก รวมถึงพันธกรณี ตามความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการบินพลเรือนที่ประเทศไทยเป็นภาคี แล้วแต่กรณี และให้รวมถึง การดาเนินการในเรื่องดังต่อไปนี้ด้วย (๑) จัดทาและปฏิบัติให้เป็นไปตามอนุสัญญาและภาคผนวก รวมถึงพันธกรณีตามความตกลง ระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นภาคีที่เกี่ยวข้องกับด้านความปลอดภัย ด้านการรักษาความปลอดภัย การอานวยความสะดวก การรักษาสิ่งแวดล้อม และการประกอบกิจการการบินพลเรือน (๒) จัดทามาตรการเพื่ออนุวัติการ และติดตามให้มีการปฏิบัติให้เป็นไปตามอนุสัญญาและ ภาคผนวก รวมถึงพันธกรณีตามความตกลงระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นภาคีที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐาน และข้อพึงปฏิบัติเกี่ยวกับการกากับดูแลการบินพลเรือน (๓) ประสานงานร่วมกับหน่วยงานของรัฐเพื่อให้การกากับดูแลการบินพลเรือนเกิดผลสัมฤทธิ์ มาตรา ๑๕/๑๐ ให้ ผู้ อ านวยการมี อ านาจก าหนดมาตรการหรื อการด าเนิ นการที่ จ าเป็ นต่ อ การกากับดูแลการบินพลเรือนตามมาตรา ๑๕/๗ และการดาเนินงานของสานักงานการบินพลเรือน แห่งประเทศไทยตามมาตรา ๑๕/๘ แล้วแต่กรณี ในเรื่องดังต่อไปนี้ (๑) มาตรฐานความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัย การอานวยความสะดวก และ การประกอบกิจการการบินพลเรือน หนา้ ๖๗ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ (๒) มาตรฐานความปลอดภัยเกี่ยวกับผู้ประจาหน้าที่อากาศยาน ผลิตภัณฑ์ ความสมควร เดิน อากาศ การบารุงรักษา การฝึกอบรมด้านการบิน สนามบิน ที่ขึ้นลงชั่วคราวของอากาศยาน สิ่งอานวยความสะดวกในการเดินอากาศ บริการการเดินอากาศ (๓) มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้โดยสาร สมาชิกลูกเรือ เจ้าหน้าที่ สนามบินและบุคคลอื่น อากาศยาน สนามบิน ที่ขึ้นลงชั่วคราวของอากาศยาน สิ่งอานวยความสะดวก ในการเดินอากาศ บริการการเดินอากาศ ตลอดจนการป้องกันการกระทาให้เกิดอันตรายต่ออากาศยาน หรือให้อากาศยานเกิดความเสียหาย และการกระทาอันเป็นการแทรกแซงโดยมิชอบด้วยกฎหมาย (๔) การเข้าออกและการจัดสรรเวลาการเข้าออกสนามบินของอากาศยาน (๕) การทดสอบ ตรวจสอบ หรือการตรวจตราอากาศยาน เครื่องยนต์และอุปกรณ์ที่ใช้หรือ มีไว้ใช้เพื่อประกอบกิจการการบินพลเรือน สนามบิน ที่ขึ้นลงชั่วคราวของอากาศยานหรือสถานที่ทาการ หรือสถานที่ที่มีไว้ใช้เพื่อประกอบกิ จการการบินพลเรือนและการปฏิบัติการของอากาศยาน รวมถึง การทดสอบหรือการตรวจสอบผู้ประจาหน้าที่ สมาชิกลูกเรือ หรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับการบินพลเรือน (๖) ข้อปฏิบัติหรือข้อห้ามของผู้ประจาหน้าที่ ผู้ประกอบกิจการการบินพลเรือนและอากาศยาน เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ในกรณีที่ไม่มีบทบัญญัติอื่นใดในพระราชบัญญัตินี้ บัญญัติให้อานาจไว้เป็นการเฉพาะ ให้ผู้อานวยการมีอานาจออกข้อกาหนดสาหรับกรณีตาม (๑) (๒) และ (๓) หรือออกระเบียบสาหรับกรณีตาม (๔) (๕) และ (๖) ในการกากับดูแลให้เป็นไปตามเรื่อง ดังกล่าว แล้วแต่กรณี ในการดาเนินการตามวรรคสอง ให้ผู้อานวยการจัดให้มีการรับฟังความเห็นหรือชี้แจงทาความเข้าใจกับ ผู้เกี่ยวข้องหรืออาจได้รับผลกระทบจากเรื่องที่กาหนด และคานึงถึงหลักเกณฑ์และมาตรฐานในเรื่องนั้น ๆ ขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศหรือมาตรฐานระหว่างประเทศอื่นด้วย ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินและจาเป็นเพื่อความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัยการบินพลเรือน อย่างทันท่วงที ผู้อานวยการอาจดาเนินการกาหนดมาตรการหรือการดาเนินการที่จาเป็นต่อการกากับดูแล การบินพลเรือน หรือการออกข้อกาหนด หรือระเบียบในเรื่องใดตามวรรคสอง แล้วแต่กรณี เพื่อดาเนินการ กับเหตุฉุกเฉินนั้น โดยไม่ต้องดาเนินการรับฟังความคิดเห็นตามวรรคสามก่อน แต่ต้องแจ้งหรือเผยแพร่ ให้หน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้องทราบเป็นการทั่วไปโดยเร็ว ในการดาเนินการเช่นว่านี้ ให้ผู้อานวยการ มีอานาจสั่งระงับหรือเปลี่ยนแปลงการดาเนินการเกี่ยวกับความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัย การบินพลเรือนไว้เป็นการชั่วคราวได้จนกว่าจะได้มีการกาหนดมาตรการหรือการดาเนินการที่จาเป็นต่อ การกากับดูแลการบินพลเรือน หรือการออกข้อกาหนด หรือระเบียบในเรื่องนั้นแล้ว หนา้ ๖๘ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ให้ผู้อานวยการจัดให้มีการประกาศเผยแพร่มาตรการหรือการดาเนินการกากับดูแลที่กาหนดขึน้ ตามวรรคหนึ่ง เพื่อให้ทราบเป็นการทั่วไป ทั้งนี้ ตามรูปแบบและลักษณะที่เหมาะสมที่ผู้อานวยการ กาหนด ให้ผู้ซึ่งเกี่ยวข้องกับมาตรการหรือการดาเนินการกากับดูแลการบินพลเรือนที่ผู้อานวยการกาหนด ตามวรรคหนึ่ง ปฏิบัติตามมาตรการหรือการดาเนินการกากับดูแลการบินพลเรือนนั้นโดยเคร่งครัด มาตรา ๑๕/๑๑ ในการก าหนดมาตรการหรื อ การด าเนิ น การที่ จ าเป็ น ต่ อ การก ากั บ ดู แ ล การบินพลเรือน หรือการออกข้อกาหนด หรือระเบียบในเรื่องใดตามมาตรา ๑๕/๑๐ หากในเรื่องนั้น องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ หรือรัฐภาคีแห่งอนุสัญญา หรือหน่วยงานของรัฐด้านกากับดูแล การบิน หรือด้านอื่น ที่เกี่ยวข้อง ได้มีการกาหนดมาตรฐาน ระเบียบ ข้อกาหนด ข้อปฏิบัติ หรื อ เอกสารอื่นใดไว้แล้ว ผู้อานวยการอาจนามาตรฐาน หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดไว้ดงั กล่าว มากาหนดในเรื่องที่ต้องดาเนินการตามมาตรา ๑๕/๑๐ เพื่อใช้บังคับกับการบินพลเรือนของประเทศได้ หลั กเกณฑ์ วิ ธี การ และกระบวนการในการพิ จารณาน ามาตรฐาน ระเบี ยบ ข้ อก าหนด ข้อปฏิบัติ หรือเอกสารอื่นใดมากาหนดตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามระเบียบที่ผู้อานวยการกาหนด มาตรา ๑๕/๑๒ ในกรณีที่ผู้อานวยการกาหนดมาตรการหรือการดาเนินการกากับดูแลที่เกี่ยวข้อง กับผู้ประจาหน้าที่ อากาศยาน ผลิตภัณฑ์ ความสมควรเดินอากาศ การบารุงรักษา การฝึกอบรมด้าน การบิน สนามบิน สิ่งอานวยความสะดวกในการเดินอากาศ บริการการเดินอากาศ การรักษาความปลอดภัย และเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้องกับการบิน ให้ผู้อานวยการจัดให้มีระบบการตรวจ ติดตาม และประเมินผลจาก การปฏิบัติตามมาตรการหรือการดาเนินการกากับดูแลในเรื่องดังกล่าวด้วย มาตรา ๑๕/๑๓ ให้ สานั กงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทยจัด ทาและรักษาไว้ซึ่งระบบ การบันทึกและจัดเก็บข้อมูลและเอกสารหลักฐาน อย่างน้อยตามรายการ ดังต่อไปนี้ (๑) อากาศยานที่จดทะเบียนตามกฎหมายไทย (๒) เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์หรือสิทธิอื่นใดเหนืออากาศยานที่จดทะเบียนตามกฎหมายไทย (๓) ส่วนประกอบสาคัญของอากาศยาน ชิ้นส่วนของอากาศยาน และบริภัณฑ์ที่มีไว้สาหรับ ใช้กับอากาศยานที่จดทะเบียนตามกฎหมายไทย (๔) ใบรับรอง ใบอนุญาต ใบสาคัญ หนังสืออนุญาต หนังสือรับรอง ใบแทน และการอนุญาต หรือการอนุมัติอื่นใดที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ (๕) ข้อมูลและเอกสารหลักฐานอื่น ๆ ที่ผู้อานวยการกาหนดให้จัดเก็บ หนา้ ๖๙ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ให้ผู้อานวยการจัดทาระบบการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลตามวรรคหนึ่ง โดยเอกสารหลักฐาน ตาม (๒) ผู้ถือกรรมสิทธิ์หรือสิทธิอื่นใดเหนืออากาศยานที่จดทะเบียน รวมถึงส่วนประกอบสาคัญของ อากาศยาน ชิ้นส่วนของอากาศยาน และบริภัณฑ์ จะต้องยื่นเอกสารหลักฐานดังกล่าวต่อผู้อานวยการ เพื่อบันทึกไว้ในระบบการบันทึกและจัดเก็บข้อมูล การบันทึกและจัดเก็บข้อมูล รวมทั้งการเก็บรักษาข้อมูลและเอกสารหลักฐาน ให้เป็นไปตามที่ ผู้อานวยการกาหนด มาตรา ๑๕/๑๔ เพื่ อประโยชน์ แห่ งการบิ นพลเรื อนของประเทศและเป็ นไปเพื่ อประโยชน์ สาธารณะ หากผู้อานวยการเห็นสมควรอาจยกเว้นมาตรการหรือการดาเนินการที่จาเป็นต่อการกากับดูแล การบินพลเรือน หรือข้อบังคับ ข้อกาหนด ประกาศ ระเบียบ หรือคาสั่งในเรื่องใดตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งหมดหรือบางส่วน ให้แก่บุคคล อากาศยาน ผลิตภัณฑ์ สนามบิน หรือบริการเกี่ยวกับการบินใด ๆ เป็นรายกรณีได้ โดยการยกเว้นดังกล่าวต้องไม่กระทบต่อความปลอดภัยในการเดินอากาศ การดาเนินการเพื่อยกเว้นตามวรรคหนึ่ง จะต้องมีเหตุ อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ ปรากฏต่อ ผู้อานวยการก่อนที่จะมีการดาเนินการยกเว้นดังกล่าว (๑) ได้มีการปฏิบัติตามมาตรการหรือการดาเนินการที่จาเป็นต่อการกากับดูแลการบินพลเรือน หรือข้อบังคับ ข้อกาหนด ประกาศ ระเบียบ หรือคาสั่งในเรื่องนั้นครบถ้วนแล้ว และไม่มีความจาเป็น ต้องปฏิบัติในเรื่องดังกล่าวอีกต่อไป (๒) การดาเนินการที่จะกระทาหรือกาลังกระทาอยู่นั้นเป็นไปตามหรือมีประสิทธิภาพมากกว่า การปฏิบัติตามมาตรการหรือการดาเนินการที่จาเป็นต่อการกากับดูแลการบินพลเรือน หรือข้อบังคับ ข้อกาหนด ประกาศ ระเบียบ หรือคาสั่งในเรื่องนั้น (๓) มาตรการหรือการดาเนินการที่จาเป็นต่อการกากับดูแลการบินพลเรือน หรือข้อบังคับ ข้อกาหนด ประกาศ ระเบียบ หรือคาสั่งในเรื่องนั้นโดยสภาพไม่เหมาะสมหรือไม่สามารถใช้กับกรณีนั้นอีก (๔) ข้ อ เท็ จ จริ ง ในกรณี นั้ น ท าให้ ม าตรการหรื อ การด าเนิ น การที่ จ าเป็ น ต่ อ การก ากั บ ดู แ ล การบินพลเรือน หรือข้อบังคับ ข้อกาหนด ประกาศ ระเบียบ หรือคาสั่งในเรื่องนั้นไม่เหมาะสมหรือ ไม่มีความจาเป็นที่ต้องปฏิบัติ และอาจเกิดความเสี่ยงต่อความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัย ทางการบินพลเรือนของประเทศเพิ่มขึ้นหากไม่ได้รับการยกเว้น เมื่อผู้อานวยการดาเนินการยกเว้นในเรื่องใดตามวรรคหนึ่ง ให้ประกาศให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ ตามวิ ธี ก ารที่ ผู้อ านวยการก าหนด ซึ่ ง อย่ า งน้ อ ยต้ อ งประกาศลงในระบบเครื อข่ า ยสารสนเทศของ สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย หนา้ ๗๐ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ มาตรา ๑๕/๑๕ ให้ผู้อานวยการแต่งตั้งผู้ตรวจสอบด้านการบิน ซึ่งจะเป็นหรือมิได้เป็นพนักงาน ของสานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย โดยต้องมีความรู้ความชานาญ และประสบการณ์เหมาะสม ในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อกากับดูแลด้านการบินให้เป็นไปตามมาตรการและการดาเนินการกากับดูแล การบินพลเรือนที่กาหนดขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ ความรู้ ความชานาญ และประสบการณ์ของผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ตรวจสอบด้านการบิน ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่ผู้อานวยการกาหนดหรือผ่านหลักสูตรการอบรมตามที่ผู้อานวยการกาหนด คุณสมบัติ การแต่งตั้ง การปฏิบัติหน้าที่ และการกากับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตรวจสอบ ด้านการบิน ให้เป็นไปตามที่ผู้อานวยการประกาศกาหนด มาตรา ๑๕/๑๖ ผู้ตรวจสอบด้านการบินที่ได้รับแต่งตั้งตามมาตรา ๑๕/๑๕ มีหน้าที่และอานาจ รับผิดชอบในการดาเนินการทดสอบ ตรวจสอบ หรือตรวจตราอากาศยานสิ่งอานวยความสะดวกใน การเดินอากาศ และอุปกรณ์อื่นที่ผู้ประกอบกิจการได้ใช้หรือมีไว้ใช้เพื่อประกอบกิจการการบินพลเรือน สนามบิน ที่ขึ้นลงชั่วคราวของอากาศยาน สถานที่ทาการหรือสถานที่ใช้หรือมีไว้ใช้เพื่อประกอบกิจการ การบินพลเรือนและการปฏิบัติการของอากาศยาน รวมถึงการทดสอบหรือตรวจสอบผู้ประจาหน้าที่ สมาชิกลูกเรือ หรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับการบินพลเรือน ในการทดสอบ ตรวจสอบ หรือตรวจตราตามวรรคหนึ่ง หากพบข้อบกพร่อง ให้ผู้ตรวจสอบ ด้านการบินแจ้งข้อบกพร่องและกาหนดระยะเวลาในการแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ นั้น แก่ผู้ซึ่งมีหน้าที่ เกี่ยวข้องเพื่อดาเนินการ และแจ้งให้ผู้อานวยการทราบโดยเร็ว เมื่อผู้ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวข้องดาเนินการแก้ไข ข้อบกพร่องแล้ว ให้แจ้งผู้ตรวจสอบด้านการบินเพื่อตรวจสอบหรือตรวจตราให้มั่นใจได้ว่าเป็นไปตามมาตรฐาน ความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัย การอานวยความสะดวก และการประกอบกิจการการบินพลเรือน ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ แล้วรายงานให้ผู้อานวยการทราบโดยเร็ว ในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตรวจสอบด้านการบิน ต้องมีและแสดงบัตรประจาตัวไว้ตลอดเวลา ที่ปฏิบัติหน้าที่ ทั้งนี้ แบบและการออกบัตรประจาตัวของผู้ตรวจสอบด้านการบินให้เป็นไปตามที่ผู้อานวยการ ประกาศกาหนด ให้ผู้ตรวจสอบด้านการบินซึ่งปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้เป็นเจ้าพนักงานตามประมวล กฎหมายอาญา” มาตรา ๑๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นหมวด ๑/๒ การกากับดูแลการบริการการเดินอากาศ มาตรา ๑๕/๑๗ มาตรา ๑๕/๑๘ มาตรา ๑๕/๑๙ มาตรา ๑๕/๒๐ มาตรา ๑๕/๒๑ มาตรา ๑๕/๒๒ มาตรา ๑๕/๒๓ มาตรา ๑๕/๒๔ มาตรา ๑๕/๒๕ และมาตรา ๑๕/๒๖ แห่งพระราชบัญญัติ การเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ หนา้ ๗๑ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ “หมวด ๑/๒ การกากับดูแลการบริการการเดินอากาศ มาตรา ๑๕/๑๗ ให้ผู้อานวยการมีอานาจออกข้อบังคับเกี่ยวกับมาตรฐานการบริการการเดินอากาศ ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยเรื่อง ดังต่อไปนี้ (๑) ขั้นตอนและการให้บริการการเดินอากาศ (๒) การจัดการจราจรทางอากาศ (๓) ระบบการสื่อสาร ระบบช่วยการเดินอากาศ และระบบติดตามอากาศยาน (๔) อุตุนิยมวิทยาการบิน (๕) ข่าวสารการบิน (๖) การออกแบบวิธีปฏิบัติการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน (๗) การค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานประสบภัย มาตรา ๑๕/๑๘ ห้ามมิให้บุคคลใดจัดให้มีบริการการเดินอากาศ สาหรับบริเวณห้วงอากาศ เหนือพื้นดินและพื้นน้าภายในเขตภูมิภาคข่าวสารการบินในราชอาณาจักร เว้นแต่ได้รับใบรับรองในเรื่องนั้น จากผู้อานวยการ ห้ ว งอากาศเหนื อพื้น ที่น อกทะเลอาณาเขตหรือห้วงอากาศที่ไม่ได้อ ยู่ภ ายใต้อาณาเขตของ ประเทศใด หากมีความจาเป็นต้องมีบริการจราจรทางอากาศ ให้รัฐมนตรีทาความตกลงกับรัฐภาคีใน ภูมิภาคเพื่อกาหนดผู้รับผิดชอบในการให้บริการจราจรทางอากาศเหนือห้วงอากาศบริเวณนั้น มาตรา ๑๕/๑๙ ผู้ที่จะขอรับใบรับรองบริการการเดินอากาศในเรื่องใด ต้องเป็นนิติบุคคลตามที่ ผู้อานวยการประกาศกาหนด และให้ยื่นคาขอใบรับรองต่อผู้อานวยการ พร้อมทั้งคู่มือการดาเนินงาน และเอกสารหลักฐานอื่น การขอรับใบรับรองและการออกใบรับรองตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กาหนดในข้อกาหนด มาตรา ๑๕/๒๐ ผู้อานวยการจะออกใบรับรองบริการการเดินอากาศให้แก่ผู้ขอได้เมื่อผู้ขอ มีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๕/๑๙ ในการออกใบรับรองตามวรรคหนึ่ง ผู้อานวยการอาจกาหนดเงื่อนไขหรือข้อจากัดเกี่ยวกับ การดาเนินงานได้ตามที่เห็นสมควร ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการบังคับการให้เป็นไปตามบทบัญญัติแห่ง พระราชบัญญัตินี้ หนา้ ๗๒ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ มาตรา ๑๕/๒๑ ใบรับรองบริการการเดินอากาศในเรื่องใด ให้มีอายุตามที่ผู้อานวยการประกาศ กาหนด แต่ต้องไม่เกินสิบปี การขอและการต่อใบรับรองบริการการเดินอากาศ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนด ในข้อกาหนด มาตรา ๑๕/๒๒ ผู้ได้รับใบรับรองบริการการเดินอากาศมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ให้บริการให้เป็นไปตามข้อบังคับเกี่ยวกับมาตรฐานตามมาตรา ๑๕/๑๗ และสอดคล้อง กับมาตรฐานที่กาหนดไว้ในภาคผนวก (๒) ให้ บ ริ ก ารแก่ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารอย่ า งทั่ ว ถึ ง ครอบคลุ ม เพี ย งพอ เสมอภาค และจั ด เก็ บ ค่าบริการตามมาตรา ๑๕/๒๖ (๓) จัดให้มี ปรับปรุง และปฏิบัติตามระเบียบและคู่มือการดาเนินงานเกี่ยวกับกระบวนการ ดาเนินงาน ระบบการจัดการด้านนิรภัยและการรักษาความปลอดภัย ระบบการตรวจสอบภายใน และ ปัจจัยมนุษย์ (๔) จัดให้มีบุคลากรที่มีความรู้และความชานาญเพียงพอในการดาเนินงานและมีแผนพัฒนา บุคลากรที่เหมาะสม (๕) จัดทารายงานต่อผู้อานวยการหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามระเบียบที่ผู้อานวยการกาหนด (๖) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ผู้อานวยการประกาศกาหนด ระเบียบและคู่มือการดาเนินงานเกี่ยวกับกระบวนการดาเนินงาน ระบบการจัดการด้านนิรภัย และการรักษาความปลอดภัย ระบบการตรวจสอบภายใน และปัจจัยมนุษย์ ตาม (๓) ต้องเป็นไป ตามมาตรฐานและมีข้อมูลครบถ้วนตามระเบียบที่ผู้อานวยการกาหนด มาตรา ๑๕/๒๓ ผู้อานวยการมีอานาจสั่งพักใช้ใบรับรองบริการการเดินอากาศ ในกรณี ดังต่อไปนี้ (๑) ผู้ ไ ด้ รั บ ใบรับรองบริก ารการเดินอากาศฝ่ าฝื นหรือ ไม่ป ฏิ บัติต ามเงื่ อนไขหรือข้อจากัด แนบท้ายใบรับรองที่ผู้อานวยการกาหนดตามมาตรา ๑๕/๒๐ วรรคสอง หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติหน้าที่ ตามที่กาหนดไว้ในมาตรา ๑๕/๒๒ และผู้อานวยการได้สั่งให้แก้ไขปรับปรุงแล้วไม่อาจแก้ไขปรับปรุง การดาเนินงานให้เกิดความปลอดภัยได้ภายในระยะเวลาตามคาสั่งของผู้อานวยการ (๒) ผู้ได้รับใบรับรองบริการการเดินอากาศ ไม่ยินยอมให้ผู้อานวยการ พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือ ผู้ตรวจสอบด้านการบิน เข้าดาเนินการตามหน้าที่และอานาจ หรือไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของผู้อานวยการ พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือผู้ตรวจสอบด้านการบินตามมาตรา ๑๕/๒๕ หนา้ ๗๓ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ให้ผู้อานวยการกาหนดระยะเวลาพักใช้ ใบรับรองบริการการเดินอากาศได้ตามที่เห็นสมควร แต่ไม่เกินครั้งละหกเดือน มาตรา ๑๕/๒๔ ผู้อานวยการมีอานาจสั่งเพิกถอนใบรับรองบริการการเดินอากาศได้ เมื่อปรากฏว่า (๑) ผู้ได้รับใบรับรองบริการการเดินอากาศกระทาการ ดังต่อไปนี้ (ก) ได้รับใบรับรองบริการการเดินอากาศโดยแสดงข้อเท็จจริงอันเป็นเท็จหรือไม่ครบถ้วน ตามข้อกาหนดที่ออกตามมาตรา ๑๕/๑๙ โดยมีเจตนาเพื่อให้ได้รับใบรับรองโดยมิชอบด้วยกฎหมาย (ข) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๕/๑๙ (ค) ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือข้อจากัดแนบท้ายใบรับรองที่ผู้อานวยการกาหนด ตามมาตรา ๑๕/๒๐ วรรคสอง หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ตามมาตรา ๑๕/๒๒ ที่ก่อให้เกิด ความไม่ปลอดภัยแก่ผู้ใช้บริการซึ่งเป็นกรณีที่ร้ายแรง (๒) ถูกสั่งพักใช้ใบรับรองและผู้ได้รับใบรับรองไม่ดาเนินการแก้ไขให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ที่ถูกพั กใช้ใบรับรอง หรือมีการสั่งพักใช้ใบรับรองบริการการเดินอากาศตั้งแต่สองครั้งขึ้นไปภายใน ช่วงเวลาสองปี เมื่ อ ผู้ อ านวยการสั่ งเพิ ก ถอนใบรับ รองบริ การการเดิน อากาศ ให้ ผู้ ไ ด้ รั บ ใบรับ รองบริการ การเดินอากาศส่งคืนใบรับรองต่อผู้อานวยการภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ทราบคาสั่งเพิกถอนใบรับรอง มาตรา ๑๕/๒๕ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบติดตามการดาเนินการเกี่ยวกับการบริการ การเดินอากาศ ให้ผู้อานวยการ พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือผู้ตรวจสอบด้านการบินมีหน้าที่และอานาจ ดังต่อไปนี้ (๑) เข้าไปในสถานที่ทาการและสถานที่ปฏิบัติงานของผู้ได้รับใบรับรองบริการการเดินอากาศ ในระหว่างเวลาทาการของสถานที่ดังกล่าว เพื่อตรวจสอบการปฏิบัติงาน และเอกสารหรือหลักฐาน ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน (๒) ตรวจสอบเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ (๓) สั่งระงับการให้บริการในส่วนที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน คู่มือการดาเนินงานหรือที่อาจก่อให้เกิด ความไม่ปลอดภัย (๔) สั่งให้ผู้ได้รับใบรับรองนาส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องเพื่อวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบ การให้บริการและการปฏิบัติงาน (๕) มีหนังสือเรียกบุคคลซึ่งเกีย่ วข้องกับการดาเนินงานของผู้ได้รับใบรับรองบริการการเดินอากาศนัน้ มาให้ถ้อยคาหรือให้ส่งเอกสารใดมาเพื่อประกอบการพิจารณา หนา้ ๗๔ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ มาตรา ๑๕/๒๖ ผู้ไ ด้รับใบรับรองบริการการเดินอากาศจะเรียกเก็บค่าบริการได้ตามอัตรา ที่ผู้อานวยการประกาศกาหนด ทั้งนี้ การกาหนดอัตราค่าบริการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขในการคานวณที่คณะกรรมการการบินพลเรือนกาหนด” มาตรา ๑๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นหมวด ๑/๓ การกากับดูแลการขนส่งวัตถุอันตราย และสิ่งของต้องห้ ามหรือต้องดูแลเป็นพิเศษ มาตรา ๑๕/๒๗ มาตรา ๑๕/๒๘ มาตรา ๑๕/๒๙ มาตรา ๑๕/๓๐ และมาตรา ๑๕/๓๑ แห่งพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. ๒๔๙๗ “หมวด ๑/๓ การกากับดูแลการขนส่งวัตถุอันตราย และสิ่งของต้องห้ามหรือต้องดูแลเป็นพิเศษ มาตรา ๑๕/๒๗ ห้ามมิให้บุคคลใดรับมอบ จัดเก็บ บรรทุก ขนถ่าย หรือขนส่งวัตถุอันตราย ไปกับอากาศยาน เว้น แต่จะได้รับใบอนุญาตดาเนินงานจากผู้อานวยการ และปฏิบัติต ามเงื่อนไข ที่ผู้อานวยการกาหนด มาตรา ๑๕/๒๘ ให้ผู้อานวยการมีอานาจดังต่อไปนี้ ในการดาเนินการเกี่ยวกับการขนส่งวัตถุ อันตราย (๑) ออกประกาศกาหนดประเภทและรายการวัตถุอันตรายที่อาจเป็นอันตรายต่อความปลอดภัย ของอากาศยานหรือบุคคลในอากาศยาน (๒) ออกข้อกาหนดการขออนุญาตและการปฏิบัติในการขนส่งวัตถุอันตรายของผู้ที่เกี่ยวข้อง (๓) ออกข้อกาหนด เงื่อนไข แนวทางในการบรรจุหีบห่อ การทาเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ การให้หรือสาแดงข้อมูล ความรับผิดของผู้ขนส่ง ความรับผิดชอบของผู้ตราส่ง รวมถึงการกาหนดให้มี การจัดทาแผนการฝึกอบรม รายงานอุบัติเหตุหรืออุบัติการณ์ (๔) ออกข้อกาหนดเกี่ยวกับการกาหนดและจัดเก็บค่าขนส่งและค่าบริการอื่นที่เกี่ยวกับการขนส่ง วัตถุอันตราย (๕) ออกข้อกาหนดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การมอบหมายในการดาเนินการเกี่ยวกับการขนส่งวัตถุ อันตราย มาตรา ๑๕/๒๙ ห้ามมิให้บุคคลใดรับมอบ จัดเก็บ บรรทุก ขนถ่าย หรือขนส่งสิ่งของต้องห้าม หรือต้องดูแลเป็นพิเศษ ไปกับอากาศยาน เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตดาเนินงานจากผู้อานวยการ และ ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ผู้อานวยการกาหนด หนา้ ๗๕ เลม่ ๑๓๖ ตอนที่ ๖๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ มาตรา ๑๕/๓๐ ให้ ผู้ อ านวยการมี อานาจดังต่อ ไปนี้ ในการดาเนินการเกี่ย วกับการขนส่ง สิ่งของต้องห้ามหรือต้องดูแลเป็นพิเศษ (๑) ออกประกาศกาหนดประเภทและรายการสิ่งของต้องห้ามหรือต้องดูแลเป็นพิเศษที่อาจเป็น อันตรายต่อความปลอดภัยของอากาศยานหรือบุคคลในอากาศยาน (๒) ออกข้อกาหนดการขออนุญาตและการปฏิบัติในการขนส่งสิ่งของต้องห้ามหรือต้องดูแล เป็นพิเศษของผู้ที่เกี่ยวข้อง (๓) ออกข้อกาหนด เงื่อนไข แนวทางในการบรรจุหีบห่อ การทาเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ การให้หรือสาแดงข้อมูล ความรับผิดของผู้ขนส่ง ความรับผิดชอบของผู้ตราส่ง รวมถึงการกาหนดให้มี การจัดทาแผนการฝึกอบรม รายงานอุบัติเหตุหรืออุบัติการณ์ (๔) ออกข้อกาหนดเกี่ยวกับการกาหนดและจัดเก็บค่าขนส่งและค่าบริการอื่นที่เกี่ยวกับการขนส่ง สิ่งของต้องห้ามหรือต้องดูแลเป็นพิเศษ (๕) ออกข้อกาหนดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การมอบหมายในการดาเนินการเกี่ยวกับการขนส่ง สิ่งของต้องห้ามหรือต้องดูแลเป็นพิเศษ มาตรา ๑๕/๓๑ ห้ามมิให้บุคคลใดส่งหรือพาวัตถุอันตรายหรือสิ่งของต้องห้ามหรื อต

Use Quizgecko on...
Browser
Browser