🎧 New: AI-Generated Podcasts Turn your study notes into engaging audio conversations. Learn more

Thai Law: Liability of Public Officials Act PDF

Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

Summary

This document contains the Thai Law: Liability of Public Officials Act of 2539. It outlines the rules and regulations regarding the liability of public officials in Thailand. It includes questions and answers to help readers better understand the law.

Full Transcript

: วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com พระราชบัญญัตคิ วามรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ภูมิพ...

: วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com พระราชบัญญัตคิ วามรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ เปนปที่ ๕๑ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยทีส่ มควรมีกฎหมายวาดวยความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา ๓ บรรดากฎหมาย กฎ และขอบังคับใด ๆ ในสวนที่มีบัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งขัดหรือแยง กับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “เจาหนาที่” หมายความวา ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง หรือผูป ฏิบัติงานประเภทอื่น ไมวาจะเปนการ แตงตั้งในฐานะเปนกรรมการหรือฐานะอื่นใด “หนวยงานของรัฐ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมี ฐานะเปนกรม ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้น โดยพระราชบัญ ญัติหรือพระราช กฤษฎี ก าและให ห มายความรวมถึงหน วยงานอื่น ของรัฐ ที่ มี พ ระราชกฤษฎี กากำหนดให เป น หน วยงานของรัฐตาม พระราชบัญญัตินี้ดวย มาตรา ๕ หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่ของตนไดกระทำในการปฏิบัติ หนาที่ ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐดังกลาวไดโดยตรง แตจะฟองเจาหนาที่ไมได ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่ซึ่งไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใดใหถือวากระทรวงการคลังเปนหนวยงาน ของรัฐที่ตองรับผิดตามวรรคหนึ่ง มาตรา ๖ ถาการกระทำละเมิดของเจาหนาที่มิใชการกระทำในการปฏิบัติหนาที่ เจาหนาที่ตองรับผิดในการนั้น เปนการเฉพาะตัว ในกรณีนี้ผเู สียหายอาจฟองเจาหนาที่ไดโดยตรง แตจะฟองหนวยงานของรัฐไมได มาตรา ๗ ในคดีที่ผูเสียหายฟองหนวยงานของรัฐ ถาหนวยงานของรัฐเห็นวาเปนเรื่องที่เจาหนาที่ตองรับผิดหรือ ตองรวมรับผิดหรือในคดีที่ผูเสียหายฟองเจาหนาที่ถาเจาหนาที่เห็นวาเปนเรื่องที่หนวยงานของรัฐตองรับผิดหรือตองรวม รับผิดหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ดังกลาวมีสิทธิขอใหศาลที่พิจารณาคดีนั้นอยูเรียกเจาหนาที่หรือหนวยงานของรัฐ แลวแตกรณี เขามาเปนคูความในคดี 1 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com ถาศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตองรับผิด ใหขยายอายุความ ฟองรองผูที่ตองรับผิดซึ่งมิไดถูกเรียกเขามาในคดีออกไปถึงหกเดือนนับแตวันที่คำพิพากษานั้นถึงที่สุด มาตรา ๘ ในกรณีที่หนวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายเพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ ให หนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทำละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาวแกหนวยงานของรัฐไดถาเจาหนาที่ ไดกระทำการนั้นไปดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง สิทธิเรียกใหชดใชคาสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีไดเพียงใดใหคำนึงถึงระดับความรายแรงแหงการกระทำและ ความเปนธรรมในแตละกรณีเปนเกณฑโดยมิตองใหใชเต็มจำนวนของความเสียหายก็ได ถาการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของหนวยงานของรัฐหรือระบบการดำเนินงานสวนรวม ใหหัก สวนแหงความรับผิดดังกลาวออกดวย ในกรณีที่การละเมิดเกิดจากเจาหนาที่หลายคน มิใหนำหลักเรื่องลูกหนี้รวมมาใชบังคับและเจาหนาที่แตละคนตอง รับผิดใชคาสินไหมทดแทนเฉพาะสวนของตนเทานั้น มาตรา ๙ ถาหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย สิทธิที่จะเรียกใหอีกฝายหนึ่ง ชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนใหมีกำหนดอายุความหนึ่งปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหม ทดแทนนั้นแกผูเสียหาย มาตรา ๑๐ ในกรณีที่เจาหนาที่เปนผูกระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐไมวาจะเปนหนวยงานของรัฐที่ผูนั้นอยูใน สังกัดหรือไม ถาเปนการกระทำในการปฏิบัติหนาที่การเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากเจาหนาที่ใหนำบทบัญญัติมาตรา ๘ มาใชบังคับโดยอนุโลม แตถามิใชการกระทำในการปฏิบัติหนาที่ใหบังคับตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย สิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากเจาหนาที่ทั้งสองประการตามวรรคหนึ่ง ใหมีกำหนดอายุความสองปนับแตวันที่ หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทน และกรณีที่หนวยงานของรัฐเห็นวา เจาหนาที่ผูนั้นไมตองรับผิด แตกระทรวงการคลังตรวจสอบแลวเห็นวาตองรับผิด ใหสิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนนั้น มีกำหนดอายุความหนึ่งปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง มาตรา ๑๑ ในกรณี ที่ ผู เสี ย หายเห็ น ว า หน วยงานของรัฐ ต อ งรับ ผิ ด ตามมาตรา 5 ผู เสี ย หายจะยื่ น คำขอต อ หนวยงานของรัฐใหพิจารณาชดใชคาสินไหมทดแทนสำหรับความเสียหายที่เกิดแกตนก็ได ในการนี้หนวยงานของรัฐตอง ออกใบรับคำขอใหไวเปนหลักฐานและพิจารณาคำขอนั้นโดยไมชักชา เมื่อหนวยงานของรัฐมีคำสั่งเชนใดแลวหาก ผูเสียหายยังไมพอใจในผลการวินิจฉัยของหนวยงานของรัฐก็ใหมีสิทธิรองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตาม กฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกาไดภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย ใหหนวยงานของรัฐพิจารณาคำขอที่ไดรับตามวรรคหนึ่งใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอยแปดสิบวัน หากเรื่องใดไมอาจ พิ จารณาได ทั น ในกำหนดนั้ น จะต อ งรายงานป ญ หาและอุ ป สรรคให รัฐมนตรีเจาสั งกั ด หรื อกำกั บ หรือ ควบคุ ม ดู แ ล หนวยงานของรัฐแหงนั้นทราบและขออนุมัติขยายระยะเวลาออกไปได แตรัฐมนตรีดังกลาวจะพิจารณาอนุมัติใหขยาย ระยะเวลาใหอีกไดไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวัน มาตรา ๑๒ ในกรณีที่เจาหนาที่ตองชดใชคาสินไหมทดแทนที่หนวยงานของรัฐไดใชใหแกผูเสียหายตามมาตรา ๘ หรือในกรณีที่เจาหนาที่ตองใชคาสินไหมทดแทนเนื่องจากเจาหนาที่ผูนั้นไดกระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐตามมาตรา 2 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com ๑๐ ประกอบกับมาตรา ๘ ใหหนวยงานของรัฐที่เสียหายมีอำนาจออกคำสั่งเรียกใหเจาหนาที่ผูนั้นชำระเงินดังกลาว ภายในเวลาที่กำหนด มาตรา ๑๓ ใหคณะรัฐมนตรีจัดใหมีระเบียบเพื่อใหเจาหนาที่ซึ่งตองรับผิดตามมาตรา ๘ และมาตรา ๑๐ สามารถ ผอนชำระเงินที่จะตองรับผิดนั้นไดโดยคำนึงถึงรายได ฐานะ ครอบครัวและความรับผิดชอบ และพฤติการณแหงกรณี ประกอบดวย มาตรา ๑๔ เมื่อไดมีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นแลว สิทธิรองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตามมาตรา ๑๑ ใหถือวาเปนสิทธิฟองคดีตอศาลปกครอง มาตรา ๑๕ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผูรับสนองพระบรมราชโองการ บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรี 3 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ การที่เจาหนาที่ดำเนินกิจการตาง ๆ ของหนวยงานของ รัฐนั้น หาไดเปนไปเพื่อประโยชนอันเปนการเฉพาะตัวไม การปลอยใหความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ ในกรณีที่ ปฏิบัติงานในหนาที่และเกิดความเสียหายแกเอกชนเปนไปตามหลักกฎหมายเอกชนตามประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชยจึงเปนการไมเหมาะสมกอใหเกิดความเขาใจผิดวา เจาหนาที่จะตองรับผิดในการกระทำตาง ๆ เปนการเฉพาะตัว เสมอไปเมื่ อ การที่ ท ำไปทำให ห น วยงานของรัฐ ต อ งรับ ผิ ด ต อ บุ ค คลภายนอกเพี ย งใดก็ จะมี ก ารฟ อ งไล เบี้ ย เอาจาก เจาหนาที่เต็มจำนวนนั้น ทั้งที่บางกรณีเกิดขึ้นโดยความไมตั้งใจ หรือความผิดพลาดเพียงเล็กนอยในการปฏิบัติหนาที่ นอกจากนั้น ยังมีการนำหลักเรื่องลูกหนี้รวมในระบบกฎหมายแพงมาใชบังคับ ใหเจาหนาที่ตองรวมรับผิดในการกระทำ ของเจาหนาที่ผูอื่นดวย ซึ่งระบบนั้นมุงหมายแตจะไดเงินครบโดยไมคำนึงถึงความเปนธรรมที่จะมีตอแตละคน กรณีเปน การกอใหเกิดความไมเปนธรรมแกเจาหนาที่และยังเปนการบั่นทอนกำลังขวัญ ในการทำงานของเจาหนาที่ดวยจน บางครั้งกลายเปนปญหาในการบริหารเพราะเจาหนาที่ไมกลาตัดสินใจดำเนินงานเทาที่ควร เพราะเกรงความรับผิดชอบ ที่จะเกิดแกตน อนึ่ง การใหคุณใหโทษแกเจาหนาที่เพื่อควบคุมการทำงานของเจาหนาที่ยังมีวิธีการในการบริหารงาน บุคคล และการดำเนินการทางวินัยกำกับดูแลอีกสวนหนึ่ง อันเปนหลักประกันมิใหเจาหนาที่ทำการใด ๆ โดยไมรอบคอบ อยูแลว ดังนั้น จึงสมควรกำหนดใหเจาหนาที่ตองรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหนาที่เฉพาะเมื่อเปนการจงใจ กระทำเพื่อการเฉพาะตัว หรือจงใจใหเกิดความเสียหายหรือประมาทเลินเลออยางรายแรงเทานั้น และใหแบงแยกความ รับผิดของแตละคนมิใหนำหลักลูกหนี้รวมมาใชบังคับ ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดความเปนธรรมและเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานของรัฐ จึงจำเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ 4 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com แนวข้อสอบพระราชบัญญัตคิ วามรับผิดชอบทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 1. พระราชบัญญัติความรับผิดละเมิดของเจาหนาที่ มีผลบังคับเมื่อใด ก. วันที่ 14 พฤศจิกายน 2539 ข. วันที่ 15 พฤศจิกายน 2539 ค. วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือวันที่ 14 พฤศจิกายน 2539 ง. วันถัดวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือวันที่ 15 พฤศจิกายน 2539 2. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวาโดยที่สมควรมี กฎหมายวาดวยความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ ใหไว ณ วันที่เทาของรัชกาลปจจุบัน ก. 26 กันยายน 2539 ข. 27 กันยายน 2539 ค. 28 กันยายน 2539 ง. 14 พฤศจิกายน 2539 3. เมื่อขาราชการ/พนักงานหรือลูกจางกระทําละเมิดตอบุคคลภายนอก ขอใดกลาวไมถูกตอง ก. หนวยงานของรัฐจะตองรับผิดชอบตอผูเสียหายทุกกรณี ข. หนวยงานของรัฐจะตองรับผิดชอบตอผูเสียหาย เฉพาะในกรณีที่เปนการกระทําในการปฏิบัติหนาที่ ค. ถาเปนการกระทําในการปฏิบัติหนาที่ ใหผูเสียหายฟองหนวยงานของรัฐโดยตรง ง. ถาการกระทํานั้นไมใชการปฏิบัติหนาที่ ผูเสียหายจะฟองหนวยงานของรัฐไมได 4. เมื่อเกิดความเสียหายแกหนวยงานของรัฐในสวนภูมภิ าค ในชั้นตนเจาหนาที่ผูเกี่ยวของตองรายงานใหผูใดรับทราบ โดยไมชักชา ก. หัวหนาหนวยงานนั้น ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย 5. เจาหนาที่ตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 หมายถึงใครขอใดกลาวไมถูกตอง ก. ลูกจางทั่วไปขององคการบริหารสวนตําบล ข. พนักงานจางตามภารกิจของเทศบาล ค. ขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด ง. นายมีคนเก็บขยะ 6. หนวยงานของรัฐ หมายถึงขอใด ก. รัฐวิสาหกิจ ข. องคการบริหารสวนตำบล ค. กระทรวง ง. ทุกขอเปนหนวยงานของรัฐ 7. หนวยงานของรัฐตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ ป 2539 ไมไดหมายถึงหนวยงานใด ก. องคการบริหารสวนตําบล ข. รัฐวิสาหกิจ ค. อําเภอ ง. มูลนิธิ 5 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 8. นายภคพงษ ทำงานในบริษัทเอกชนไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการในคณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจแหงหนึ่ง ไดกระทำละเมิดตอบุคคลภายนอก แนวปฏิบัติขอใดถูกตองเกี่ยวกับผลแหงละเมิดดังกลาว ก. ผูถูกทำละเมิดไมสามารถฟองรัฐวิสาหกิจนั้นไดเนื่องจากไมได สังกัดรัฐ วิสาหกิจแหงนั้น ฟองไดเฉพาะตัว นายภคพงษ ข. ผูถูกทำละเมิดฟองรัฐวิสาหกิจนั้นไดเพราะนายภคพงษ เปนกรรมการในรัฐวิสาหกิจนั้น ค. ผูถูกทำละเมิดตองฟองกระทรวงการคลังเพราะกฎหมายถือวากระทรวงการคลังเปนหนวยงานของรัฐที่ตอง รับผิด ง. ผูถกู ละเมิดตองฟองบริษัทที่นายภคพงษทำงานอยู 9. กรณีพิสูจนไมไดจะฟองละเมิดหนวยงานใดใหฟองที่ใคร ก. กระทรวงมหาดไทย ข. สํานักนายกรัฐมนตรี ค. สํานักงบประมาณ ง. กระทรวงการคลัง 10. การฟองของบุคคลภายนอกที่ไดรับการละเมิดจากเจาหนาที่รัฐที่เกิดจากการปฏิบัติหนาที่และเจาหนาที่รัฐคนนัน้ ไมไดสังกัดหนวยงานใด บุคคลภายนอกจะฟองหนวยงานใด ก. ฟองเจาหนาที่คนนั้น ข. ฟองหนวยงานรัฐ ค. ฟองนายกรัฐมนตรี ง. ฟองกระทรวงการคลัง 11. การฟองรองกรณีที่เกิดละเมิดขึ้นแกเอกชน โดยเจาหนาที่รัฐไดปฏิบัติไปตามหนาที่ ผูเสียหายจะฟองรองตอใครได เพื่อใหชดใชคาสินไหมทดแทน ก. ฟองเจาหนาที่ของรัฐ ข. ฟองหนวยงานของรัฐที่เจาหนาที่สังกัด ค. ฟองกระทรวงการคลังเทานั้น ง. ไมสามารถฟองรองได 12. นาย ก เจาหนาที่ของรัฐ วันหยุดราชการ ไดพาครอบครัวไปเที่ยวตางจังหวัด ระหวางทางรถยนตสวนตัวของ นาย ก ขับมา ไมสามารถบังคับไดและเบรกไมอยู ทำใหไปชนกับรถเข็นขายผลไมของแมคาขางทางไดรับความ เสียหาย ผูเสียหายตองฟองใคร ก. หนวยงานของรัฐ ข. เจาหนาที่ ค. แมคา ง. กระทรวงการคลัง 13. ถาศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตองรับผิด ใหขยายอายุ ความฟองรองผูที่ตองรับผิดไดตามระยะเวลาในขอใดนับแตวันที่คำพิพากษานั้นถึงที่สุด ก. 6 เดือน ข. 1 ป ค. 5 ป ง. 10 ป 14. หนวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายเพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ ใหหนวยงานของรัฐ มีสทิ ธิเรียกใหเจาหนาทีผ่ ูทำละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาวแกหนวยงานของรัฐได ในกรณีใดบาง ก. เรียกคืนไดทุกกรณีเพราะเปนเงินของรัฐ ข. เจาหนาที่ไดกระทำการดวยความจงใจ ค. เจาหนาที่ไดกระทำการดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง ง. ขอ 2 และ 3 6 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 15. ในกรณีทกี่ ารละเมิดเกิดจากเจาหนาที่หลายคน มิใหนำหลักเรื่องใดของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาบังคับ ก. ลูกหนีร้ วม ข. ประนีประนอมยอมความ ค. ค้ำประกัน ง. ภาระจำยอม 16. ขอใดไมใช ลักษณะของหลักการที่นํามาใชในพระราชบัญญัติความรับผิดชอบทางละเมิดของเจาหนาที่ ก. หลักในเรื่องลูกหนี้รวมตามกฎหมายแพง ข. หลักการซึ่งเจาหนาที่ตองรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหนาที่เฉพาะเมื่อเปนการจงใจใหเกิดความเสียหาย เทานั้น ค. หลักการซึ่งเจาหนาที่ตองรับผิดชอบทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหนาที่เฉพาะเมื่อเปนการประมาทเลินเลอ อยางรายแรงเทานั้น ง. ความรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหนาที่ของเจาหนาที่เจาหนาที่ไมตองรับผิดชอบเปนการเฉพาะตัว 17. เจาหนาทีต่ ามพระราชบัญญัติความรับผิดชอบทางละเมิดของเจาหนาที่ ขอใดกลาวไมถูกตอง ก. ขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด ข. พนักงานเทศบาล ค. ลูกจางทั่วไปขององคการบริหารสวนตําบล ง. ไมมีขอใดกลาวไมถูกตอง 18. หากเจาหนาที่กระทําละเมิด และหนวยงานของรัฐผูนั้นไมตองรับผิด จึงไมไดมีคําสั่งใหชดใชคาสินไหมทดแทน แต กระทรวงการคลังเห็นวาตองรับผิดชอบเรียกรองคาสินไหมทดแทนดังกลาวมีอายุความเทาใด ก. 1 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐมีคําสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ข. 1 ปนับแตวันที่หนวยงานรัฐรูถึงการละเมิด และรูตัวเจาหนาที่ผูจะตองชดใชคาสินไหมทดแทน ค. 2 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐมีคําสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ง. 2 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิด และรูตัวเจาหนาที่ผูจะตองชดใชคาสินไหมทดแทน 19. ขอใดกลาวผิด ก. หากหนวยงานของรัฐที่ฟองเห็นวา เรื่องที่ถูกฟอง เจาหนาที่ตองรับผิด หนวยงานของรัฐดังกลาวมีสิทธิขอใหศาล พิจารณาคดีนั้น และเรียกเจาหนาที่นั้นเขามาเปนคูความในคดี ข. หากเจาหนาที่ของรัฐถูกฟองเปนการเฉพาะตัว เห็นวาตนเองกระทําไปตามหนาที่มีสิทธิขอใหศาลพิจารณาคดีนั้น และเรียกหนวยงานของรัฐเขามาเปนคูความในคดี ค. หากศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตองรับผิด ใหคดีเปนสิ้นสุด ง. ถาศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตองรับผิด ใหขยายอายุความ ฟองรองผูที่ตองรับผิดซึ่งมิไดถูกเรียกเขามาในคดีออกไปถึงหกเดือนนับแตวันที่คําพิพากษานั้นถึงที่สุด 7 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 20. ขอใดไมถกู ตอง ก. ถาการกระทำละเมิดของเจาหนาที่ไมใชการกระทำในการปฏิบัติหนาที่ เจาหนาที่ตองรับผิดเปนการเฉพาะตัว ข. ในกรณีที่เจาหนาที่ของรัฐถูกฟองเปนการเฉพาะตัว เห็นวาตนเองกระทำไปตามหนาที่ มีสิทธิขอใหศาลพิจารณา คดีนั้น เรียกหนวยงานของรัฐเขามาเปนคูความในคดี ค. กรณีที่หนวยงานของรัฐที่ถูกฟองเห็นวา เรื่องที่ถูกฟองเปนเรื่องที่เจาหนาที่ตองรับผิด หนวยงานของรัฐดังกลาว มีสิทธิขอใหศาลพิจารณาคดีนั้น เรียกเจาหนาที่ดังกลาวเขามาเปนคูความในคดี ง. ในกรณีที่ศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตองรับผิดใหคดี ดังกลาวเปนอันสิ้นสุด 21. กรณีที่หนวยงานของรัฐตองรับผิดชอบใหชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย เพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ไปแลว หนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทำละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทนคืนไดในกรณีใด ก. กรณีทกี่ ารละเมิดจากการจงใจของเจาหนาที่ ข. กรณีทกี่ ารละเมิดเกิดจากความประมาทเลินเลออยางรายแรงของเจาหนาที่ ค. ไมสิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนคืน ง. ถูกทั้งขอ ก และขอ ข 22. ขอใดถูกตอง ในกรณีที่เจาหนาที่หลายคนตองรับผิดชอบรวมกันในผลแหงละเมิด ก. ทุกคนตองรับผิดเทา ๆ กัน ข. เจาหนาที่แตละคนตองรับผิดชอบคาสินไหมทดแทนเฉพาะสวนตนเทานั้น ค. เจาหนาที่แตละคนตองรวมรับผิดในลักษณะของลูกหนี้รวม ง. ถูกทุกขอ 23. ถาหนวยงานของรัฐตองรับผิดชอบใหชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย เพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ไปแลว หนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทําละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทนคืนไดตามหลักการใด ขอใดกลาวไมถูกตอง ก. ไมมีสทิ ธิเรียกคาสินไหมทดแทนคืน ข. ละเมิดจากความประมาทเลินเลออยางรายแรงของเจาหนาที่ ค. ละเมิดจากการจงใจของเจาหนาที่ ง. ใหคํานึงถึงระดับความรายแรงแหงการกระทําและความเปนธรรมในแตละกรณีเปนเกณฑโดยมิตองใหใชเต็ม จํานวนของความเสียหายก็ได 24. กรณีที่เกิดละเมิดขึ้นแกหนวยงานของรัฐ โดยเจาหนาที่รัฐกระทำตอเอกชนโดยจงใจหรือประมาทเลินเลออยาง รายแรง ผูใ ดเปนผูรับผิดชอบคาสินไหมทดแทน ก. เจาหนาที่รัฐ ข. หนวยงานของรัฐ ค. กระทรวงการคลัง ง. เจาหนาที่ของรัฐและหนวยงานของรัฐในฐานะเจาหนี้รวม 8 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 25. กรณีที่หนวยงานของรัฐไดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูเสียหายไปแลว สิทธิที่จะเรียกใหเจาหนาที่ชดใชคาสินไหม ทดแทนคืน มีอายุความตามขอใด ก. 6 เดือน นับแตวันที่หนวยงานของรัฐไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย ข. 1 ป นับแตวันที่หนวยงานของรัฐไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย ค. 6 เดือน นับแตวันที่ศาลมีคำพิพากษา ง. 1 ป นับแตวันที่ศาลมีคำพิพากษา 26. กรณีที่เจาหนาที่กระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐ สิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนมีกำหนดอายุความกี่ป ก. 1 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิด ข. 1 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะตอง ชดใชคาสินไหมทดแทน ค. 2 ปนบั แตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิด ง. 2 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะตอง ชดใชคาสินไหมทดแทน 27. กรณีเจาหนาที่กระทำละเมิด และหนวยงานของรัฐผูนั้นไมตองรับผิดจึงไมไดมีคำสั่งใหชดใชคาสินไหมทดแทน แตกระทรวงการคลังเห็นวาตองรับผิด สิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนดังกลาวมีกำหนดอายุความกี่ป ก. 1 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง ข. 1 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะตอง ชดใชคาสินไหมทดแทน ค. 2 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ง. 2 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะตอง ชดใชคาสินไหมทดแทน 28. ในกรณีทผี่ เู สียหายไดยื่นคำขอตอหนวยงานของรัฐใหพิจารณาชดใชคาสินไหมทดแทนสำหรับความเสียหายที่เกิดขึ้น แกตน ซึ่งหนวยงานของรัฐไดพิจารณาและมีคำสั่งไปแลว แตผูเสียหายไมพอใจผลการวินิจฉัยหนวยงานของรัฐ ผูเสียหายมีสิทธิดำเนินการตามขอใด ก. ฟองรองตอศาล ข. รองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกข ค. ไมมีสทิ ธิดำเนินการใดเนื่องจากกรณีเปนอันยุติแลว ง. ถูกเฉพาะขอ ก และขอ ข 29. กำหนดเวลารองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกาในกรณีที่ ผูเสียหายไมพอใจผลการวินิจฉัยของหนวยงานของรัฐ ตองรองทุกขภายในกำหนดเวลาตามขอใด ก. ภายใน 30 วันนับแตวนั ที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย ข. ภายใน 60 วันนับแตวนั ที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย ค. ภายใน 90 วันนับแตวันที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย ง. ภายใน 180 วันนับแตวันที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย 30. กำหนดเวลาในการพิจารณาคำขอของหนวยงานของรัฐ ทีผ่ ูเสียหายไดยื่นตอหนวยงานของรัฐเปนไปตามขอใด ก. 60 วัน ข. 90 วัน ค. 180 วัน ง. ไมมีกำหนดเวลา 9 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 31. กรณีที่เจาหนาที่กระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐ สิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทน กําหนดอายุเทาใด ก. 1 ปนับแตวันที่หนวยงานรัฐรูถึงการละเมิด และรูตัวเจาหนาที่ผูจะตองชดใชคาสินไหมทดแทน ข. 2 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิด ค. 3 เดือนนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิด และรูตัวเจาหนาที่ผูจะตองชดใชคาสินไหมทดแทน ง. 3 ปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทน 32. การกําหนดเวลารองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณีที่ ผูเสียหายไมพอใจผลการวินิจฉัยของหนวยงานของรัฐจะตองรองทุกขภายในกี่วัน ขอใดกลาวถูกตองที่สุด ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 60 วันนับแตวันที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย ง. 90 วันนับแตวันที่ตนไดรับแจงผลการวินิจฉัย 33. ในการพิจารณาคําขอของหนวยงานของรัฐ ที่ผูเสียหายไดยื่นตอหนวยงานของรัฐ มีกําหนดเวลากี่วัน ก. 30 วัน ข. 90 วัน ค. 120 วัน ง. 180 วัน 34. หากมีเรื่องที่ไมอาจพิจารณาไดทันในกําหนดนั้นจะตองรายงานปญหาและอุปสรรคใหรัฐมนตรีเจาสังกัดหรือกํากับ หรือควบคุมดูแลหนวยงานของรัฐแหงนัน้ ทราบและขออนุมัติขยายระยะเวลาออกไปได แตรัฐมนตรีดังกลาวจะ พิจารณาอนุมัติใหขยายระยะเวลาใหอีกไดไมเกินกี่วัน ก. 30 วัน ข. 90 วัน ค. 120 วัน ง. 180 วัน 35. หากหนวยงานของรัฐชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูเสียหายไปแลว สิทธิจะเรียกใหเจาหนาที่ชดใชคาสินไหม ทดแทนคืน มีอายุความเทาใด ก. 6 เดือน นับแตวันที่ศาลมีคําพิพากษา ข. 6 เดือน นับแตวันที่หนวยงานของรัฐไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย ค. 1 ป นับแตวันที่หนวยงานของรัฐไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูแกเสียหาย ง. 1 ป นับแตวันที่ศาลมีคาํ พิพากษา 36. วัตถุประสงคหลักของ พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ ขอใดกลาวถูกตอง ก. ตองการคุมครองเจาหนาที่รัฐที่ปฏิบตั ิหนาที่โดยสุจริตและรอบคอบ ข. ตองการคุมครองหนวยงานของรัฐที่ไดรับผลกระทบจากการฟองรองของเอกชน ค. ตองการคุมครองหนวยงานรัฐ ง. ตองการคุมครองหนวยงานเอกชน 10 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 37. หากหนวยงานของรัฐชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย โดยเจาหนาที่รัฐผูรับผิดชอบคาสินไหม สิทธิของ หนวยงานรัฐที่จะเรียกใหเจาหนาที่ผูรับผิดชอบคาสินไหมทดแทน มีอายุความเทาใด ก. ภายในครึ่งป ข. ภายใน 1 ป ค. ภายใน 2 ป ง. ภายใน 4 ป 38. กรณีที่เจาหนาที่ในหนวยงานของรัฐกระทําการละเมิด กระทําในการปฏิบัติหนาที่ ผูเสียหากจากกระทําดังกลาวตอง ฟองใคร ก. ฟองเจาหนาที่ที่ทําละเมิด ข. ผูถูกกระทําละเมิดมีสทิ ธิเลือกฟองตามความประสงค ค. ฟองตัวเจาหนาที่และหนวยงานของรัฐที่เจาหนาทีส่ ังกัด ง. ฟองหนวยงานของรัฐที่ผูทําละเมิดสังกัด 39. กรณีที่เกิดละเมิดขึ้นแกหนวยงานของรัฐ โดยเจาหนาที่รัฐกระทําตอเอกชน โดยจงใจหรือประมาทเลินเลออยาง รายแรง ผูร ับผิดชอบคาสินไหมทดแทน คือใคร ก. เจาหนาที่รัฐ ข. หนวยงานรัฐ ค. กระทรวงการคลัง ง. เจาหนาที่ของรัฐและหนวยงานของรัฐ 40. กรณีที่เจาหนาที่หลายคนตองรับผิดชอบรวมกันในผลแหงละเมิด ขอใดกลาวถูกตองที่สุด ก. เจาหนาที่แตละคนตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนเฉพาะสวนของตนเทานั้น ข. ทุกคนตองรับผิดเทาๆกัน ค. เจาหนาที่แตละคนตองรวมรับผิดในลักษณะของลูกหนี้รวม ง. ถูกเฉพาะขอ ข. และขอ ค. 41. ขอใดมิใช ลักษณะของหลักการที่นํามาใชใน พ.ร.บ. ความรับผิดชอบทางละเมิดของเจาหนาที่ ก. หลักการซึ่งเจาหนาที่ตองรับผิดชอบทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหนาที่ เฉพาะการประมาทเลินเลออยาง รายแรงเทานั้น ข. หลักการซึ่งเจาหนาที่ตองรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหนาที่ เฉพาะเมื่อเปนการจงใจใหเกิดความ เสียหายเทานั้น ค. เรื่องลูกหนี้รวมตามกฎหมายแพง ง. ความรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหนาที่ของเจาหนาที่ เจาหนาที่ไมตองรับผิดชอบเปนการเฉพาะตัว 42. ผูเสียหายไดยื่นคําขอใหหนวยงานรัฐพิจารณาชดใชคาสินไหมทดแทน หนวยงานรัฐตองพิจารณาใหแลวเสร็จภายใน กี่วัน ก. 60 วัน ข. 90 วัน ค. 120 วัน ง. 180 วัน 43. เจาหนาที่ หมายความวา ก. ขาราชการ ข. ลูกจาง ค. พนักงาน ง. ถูกทุกขอ 11 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 44. การฟองรองกรณีที่เกิดละเมิดขึ้นแกเอกชน โดยเจาหนาที่รัฐไดปฏิบัติไปตามหนาที่ผูเสียหายจะฟองรองตอ หนวยงานใด เพื่อใหชดใชคาสินไหมทดแทน ก. ไมสามารถฟองรองได ข. ฟองเจาหนาที่ของรัฐ ค. ฟองกระทรวงการคลังเทานั้น ง. ฟองหนวยงานของรัฐที่เจาหนาที่สังกัด 45. ผูเสียหายสามารถยื่นฟองรองเมื่อถูกละเมิด กรณีที่มิไดเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ตอหนวยงานใด ก. ศาลยุติธรรม ข. ศาลปกครอง ค. กระทรวงมหาดไทย ง. หนวยงานรัฐ 46. ถาการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของหนวยงานของรัฐ ก. ไมตองหักสวนแหงความรับผิดดังกลาวออก ข. ใหหักสวนแหงความรับผิดดังกลาวออกดวย ค. ใหหักคาสินไหมทดแทนออกดวย ง. ถูกเฉพาะขอ ข. และขอ ค. 47. กรณีการกระทําละเมิดจากเจาหนาที่ซึ่งไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใด ถือเปนหนวยงานใด เปนหนวยงานของ รัฐที่ตองรับผิดถูกฟองรองคดีดังกลาว ก. กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ข. กรมการปกครอง ค. กระทรวงมหาดไทย ง. กระทรวงการคลัง 12 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com เฉลยแนวข้อสอบ พระราชบัญญัตคิ วามรับผิดชอบทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 01. ตอบ ง (ม.2) 11. ตอบ ข (ม.5 วรรค2) 21. ตอบ ง (ม.8) 31. ตอบ ข (ม.10 วรรค2) 02. ตอบ ข 12. ตอบ ข (ม.6) 22. ตอบ ข (ม.8 วรรค4) 32. ตอบ ง (ม.11) 03. ตอบ ก (ม.5) 13. ตอบ ก (ม.7 วรรค2) 23. ตอบ ก (ม.8) 33. ตอบ ง (ม.11 วรรค2) 04. ตอบ ก 14. ตอบ ง (ม.8) 24. ตอบ ก 34. ตอบ ง (ม.11 วรรค2) 05. ตอบ ง (ม.4) 15. ตอบ ก (ม.8 วรรค4) 25. ตอบ ข (ม.9) 35. ตอบ ค (ม.9) 06. ตอบ ง (ม.4 วรรค2) 16. ตอบ ก (ม.8 วรรค4) 26. ตอบ ง (ม.10 วรรค2) 36. ตอบ ก 07. ตอบ ง (ม.4 วรรค2) 17. ตอบ ง (ม.4) 27. ตอบ ก (ม.10 วรรค2) 37. ตอบ ข (ม.9) 08. ตอบ ค (ม.5 วรรค2) 18. ตอบ ก (ม.10 วรรค2) 28. ตอบ ง (ม.14, ม.11) 38. ตอบ ง (ม.5) 09. ตอบ ง (ม.5 วรรค2) 19. ตอบ ค (ม.7 วรรค2) 29. ตอบ ค (ม.11) 39. ตอบ ก 10. ตอบ ง (ม.5 วรรค2) 20. ตอบ ง (ม.7 วรรค2) 30. ตอบ ค (ม.11 วรรค2) 40. ตอบ ก (ม.8 วรรค4) 41. ตอบ ค (ม.8) 42. ตอบ ง (ม.11) 43. ตอบ ง (ม.4) 44. ตอบ ง (ม.4) 45. ตอบ ข (ม.14) 46. ตอบ ข (ม.8 วรรค3) 47. ตอบ ง (ม.5 วรรค 2) 13 : วรกฤต สินเจริญ : 0814422801 : Topbright official : www.topbright-tutor.com 14

Use Quizgecko on...
Browser
Browser