ระบบหมุนเวียนเลือดใหม่ PDF
Document Details
Uploaded by GreatestFermium
H. Lavity Stoutt Community College
Tags
Summary
เอกสารนี้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับระบบหมุนเวียนเลือดในสัตว์และมนุษย์ รวมถึงส่วนประกอบและการทำงานของระบบ
Full Transcript
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด (circulatory system) มี 2 ระบบ คือ *ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรปิ ด (closed circulatory system) *ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรเปิ ด (open circulatory system) หมายถึง ระบบเลื อดที่มีเลื อด ไหลเวียนอยู่ภายในท่อ ของเส้นเลื อดและหัวใจตลอด โดยที่เลื อดจะมีทิศ ท...
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด (circulatory system) มี 2 ระบบ คือ *ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรปิ ด (closed circulatory system) *ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรเปิ ด (open circulatory system) หมายถึง ระบบเลื อดที่มีเลื อด ไหลเวียนอยู่ภายในท่อ ของเส้นเลื อดและหัวใจตลอด โดยที่เลื อดจะมีทิศ ทางการไหลออกจากหัวใจไปตามเส้นเลือดชนิ ดต่างๆ และไหลกลับเข้าสู่หวั ใจอีกเป็ นวงจรต่อเนื่ อง พบใน สัตว์พวกแอนนี ลิด (annelid) เป็ นพวกแรก และพบใน สัตว์มีกระดูกสันหลัง (vertebrate) ทุกชนิ ด หมายถึง ระบบเลื อดที่เลื อดไหลออกจากหัวใจแล้ว ไม่ได้ไหลเวียนอยู่เฉพาะภายในเส้นเลือด แต่จะ ไหลผ่าน ช่องว่างของลาตัว แล้วไหลกลับเข้าสู่ เส้นเลือดและเข้าสู่หวั ใจต่อไป ระบบไหลเวียนเลือดแบบเปิ ด (open circulatory system) -พบในแมลงและพวก mollusk -อวัยวะต่ าง ๆ จะสัมผัสกับเลือดโดยตรง -ไม่ มีความแตกต่ างระหว่ างเลือดและ interstitial fluid รวมเรี ยก hemolymph -ขัน้ ตอนการไหลเวียน 1.หัวใจ(tubular heart)ที่อยู่ด้านหลังบีบตัว 2.Hemolymphเคลื่อนสู่หลอดเลือด(vessel) และ sinus (แอ่ งเลือดรอบๆอวัยวะ) 3.Hemolymphจาก sinus แลกเปลี่ยนแก๊ ส และสารอาหารกับเซลล์ โดยตรง 4.เมื่อหัวใจคลายตัว hemolymph ถูกดึงกลับ หัวใจ ทางรู เรี ยก ostia (มี valveที่ปิดเมื่อหัวใจหดตัว) เปรียบเทียบการขนส่ งสารเข้ าและออกจากเซลล์ ในสัตว์ ท่ มี ีระบบไหลเวียนเลือดแบบเปิ ดและแบบปิ ด extracellular fluid = interstitial fluid สัตว์ ชัน้ ต่า ขนาดเล็กมีการแลกเปลี่ยนสาร โดยตรงระหว่ าง เซลล์ กับสิ่งแวดล้ อมโดยการแพร่ และการไหลเวียน ของไซโทพลาสซึม (cyclosis) ช่ วยให้ การ แลกเปลี่ยนสารดีขนึ ้ เช่ น อะมีบา พารามีเซียม ไฮดรา พลานาเรีย อาศัยการแพร่ ของสารอาหาร ผ่ านไปยังเซลล์ ถัดไป บรานเชียลอาร์ท ซีสเทมิกฮาร์ท (branchial hert) (systemic heart) หัวใจเทียม (pseudoheart) เป็ นห่ วงเส้ นเลือดที่พองออกโอบรอบหลอด อาหาร 5 ห่ วง หัวใจทัง้ 5 ห่ วง เชื่อมต่ อกับเส้ นเลือดด้ านบนและด้ านล่ าง เส้ นเลือด (blood vessel) - เส้ นเลือดด้ านบนของลาตัว (dorsal blood vessel) ทาหน้ าที่ นาเลือดกลับเข้ าสู่หวั ใจ -เส้ นเลือดด้ านล่ างของลาตัว (ventral blood vessel) ทาหน้ าที่ รับเลือดจากหัวใจไปเลีย้ งส่ วนต่ างๆของร่ างกาย เส้ นเลือดฝอย (carpillary) มีผนังบางมากกระจายอยู่ท่ วั ไป ของร่ างกาย ทาหน้ าที่แลกเปลี่ยนสารที่อยู่ภายในเลือดกับเซลล์ เลือด (blood) มีสีแดง เพราะ มีฮีโมโกลบินที่มีธาตุเหล็กเป็ นองค์ ประกอบ Single circuit circulation -ปลามีหวั ใจ 2 ห้ อง (1atrium, 1 ventricle) - ventricle ปั๊ มเลือดออกจากหัวใจสู่เหงือก (gill circulation) - มีการแลกเปลี่ยนแก๊ สที่เหงือก - gill capillary นาเลือดที่มี O2สูงไปเลีย้ งส่ วนต่ าง ๆ ของร่ างกาย (systemic circulation) -vein นาเลือดกลับหัวใจ -เนื่องจากเลือดไหลจาก gill capillary สู่ systemic circulationโดยตรง ดังนัน้ ความดันเลือดจะค่ อยๆลดลง เลือดจึงไหลช้ าลง มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรเปิ ด ประกอบด้วย หัวใจ (heart) เป็ นส่วนของเส้นเลือด ลักษณะโป่ งออกเป็ นตอนๆ มีรเู ล็กๆ ทาหน้าที่ สูบฉี ดเลื อดไปทางด้านหัวไปสู่เนื้ อเยื่ อต่างๆ - มีล้ ินคอยปิ ดเปิ ดอยู่ เรียกรูน้ ี ว่า ออสเทีย (oistia) ทาหน้าที่รบั เลือดจากส่วนต่างๆในลาตัวไหลเข้าสู่หวั ใจ และลิ้นภายในออสเทียกัน้ ไม่ ให้เลือดไหลออกจากหัวใจ เลือด (hemolymph) เลือดของแมลงไม่ มีสีหรื อมีสีฟ้าอ่ อนๆ เพราะ ไม่ มีฮีโมโกลบิน มีแต่ ฮีโมไซยานิน (hemocyanin) ที่มีทองแดง (Cu) เป็ นองค์ ประกอบ เส้ นเลือด (blood vessel) มีอยู่เส้ นเดียวเหนือทางเดินอาหาร ไม่ มี เส้ นเลือดฝอย ทาหน้ าที่รับเลือดออกจากร่ างกาย ช่ องว่ างภายในลาตัว (hemoceol) ทาหน้ าที่รับเลือดจากเส้ นเลือด เพื่อลาเลียงสารไปสู่ส่วน ต่ างๆของร่ างกาย และเป็ นแหล่ งแลกเปลี่ยนก๊ าซ *แมลงมีท่อลม (trachial system) ทาหน้ าที่ลาเลียงก๊ าซไปยัง ส่ วนต่ างๆของร่ างกาย* หัวใจอยูภ่ ายในช่องอก ( pericadial cavity ) ระหว่างปอดทัง้ สองข้าง ค่อนไปทางซ้ายเล็กน้อย หัวใจอยู ่ ภายในถุงเยื่ อ -หุม้ หัวใจ ( pericardium ) มี ลักษณะเฉพาะและพบได้ท่ ีหวั ใจคน โครงสร้ างของหัวใจ 1. กล้ ามเนื้อหัวใจ ประกอบด้ วย เนื้อเยื่อหุ้ม 3 ชั้น - ชัน ้ นอก (epicardium) หุ้มหัวใจไว้ มีเนือ้ เยื่อไขมันเป็ นจำนวนมำก พบเส้ น เลือดขนำดใหญ่ ผ่ำนชัน้ นี ้ ผนังด้ ำนนอกของหัวใจมีเส้ นเลือดที่นำเลือดมำ เลีย้ งหัวใจ เรี ยกว่ ำ โคโรนำรี อำร์ เทอรี (coronary artery) เป็ นเส้ นเลือดที่มำ เลีย้ งกล้ ำมเนือ้ หัวใจ หำ - ชัน ้ กลำง (myocardium) หนำมำกที่สุด ประกอบขึน้ จำก กล้ ำมเนือ้ หัวใจ (cardiac muscle) และเป็ นส่ วนของกล้ ำมเนือ้ หัวใจซึ่งมีลักษณะพิเศษที่มี กำรทำงำนอยู่นอกอำนำจจิตใจ ชัน ้ ใน (endocardium) ประกอบด้ วย เนือ้ เยื่อบุผิว กล้ ำมเนือ้ เรี ยบและ เนือ้ เยื่อเกี่ยวพันมำกมำย เกิดการอุดตันเลือดจะไปเลีย้ งกล้ ามเนื้อหัวใจไม่ เพียงพอ ทาให้ กล้ ามเนือ้ หัวใจตาย อาจ ทาให้ หัวใจวายถึงตายได้ 2. ห้ องหัวใจ หัวใจคนมี 4 ห้ อง คือ ห้ องบน (atrium, auricle) 2 ห้ อง และห้ องล่ ำง (ventricle) 2 ห้ อง แต่ ละห้ องแยกกันอย่ ำงสมบูรณ์ ดังนี ้ - เอเตรี ยมขวำ (right atrium) เป็ นหัวใจห้ องบนขวำ มีขนำดเล็ก ผนัง กล้ ำมเนือ้ บำง หน้ ำที่ รั บเลือดที่ใช้ แล้ วจำกส่ วนต่ ำงๆของร่ ำงกำย (CO2) ลำเลียงมำกับเส้ นเลือด ซูพเี รี ยเวนำคำวำ (superior vena cava) ซึ่งรั บเลือดที่ใช้ แล้ วจำกศีรษะและ แขน และ เส้ นเลือดอินฟี เรี ยเวนำคำวำ (inferior vena cava) ซึ่งรั บเลือดที่ ใช้ แล้ วจำกอวัยวะภำยในและขำ - - เอเตรี ยมซ้ ำย (left atrium) เป็ นหัวใจห้ องบนซ้ ำย มีขนำดเล็ก ผนัง กล้ ำมเนือ้ บำง หน้ ำที่ รั บเลือดที่ฟอกแล้ วจำกปอดที่ลำเลียงมำกับเส้ น เลือดพัลโมนำรี เวน (pulmonary vein) - เวนตริเคิลขวา (right ventricle) เป็ นหัวใจห้ องล่ างขวา มี ขนาดเล็ก ช่ องภายในมีลกั ษณะเป็ นรูปสามเหลีย่ ม หน้ าที่ รับเลือด จากเอเตรียมขวา และส่ งไปฟอกที่ปอดโดยเส้ นเลือดพัลโมนารีอาร์ เทอรี (pulmonary artery) - เวนตริเคิลซ้ าย (left ventricle) เป็ นหัวใจห้ องล่ างซ้ าย มี ผนังกล้ ามเนื้อหนาทีส่ ุ ด และหนาประมาณ 3 เท่ าของด้ านขวา เพราะ ทาหน้ าทีร่ ับเลือดจากเอเตรียมซ้ ายแล้ วสู บฉีดเลือดอย่ างแรงไปเลีย้ ง ส่ วนต่ างๆ ของร่ างกาย โดยส่ งออกไปกับเส้ นเลือดเอออร์ ตา (aorta) 3. ลิน้ หัวใจ ้ พัลโมนารี เซมิลูนาร์ (pulmonary semilunar valve) - ลิน อยู่ทโี่ คนของเส้ นเลือดพัลโมนารีอาร์ เทอรี ลักษณะเป็ นถุงรู ปพระจันทร์ ครึ่ง เสี้ยว 3 ใบ บรรจบกัน แต่ ไม่ ได้ ยดึ ติดกันด้ วยเนื้อเยื่อเกีย่ วพัน ทาหน้ าที่ กันไม่ ให้ เลือดไหลกลับสู่ เวนตริเคิลขวา ้ ไตรคัสปิ ด (tricuspid valve) อยู่ระหว่ างหัวใจห้ องเอเตรียม - ลิน ขวาและเวนตริเคิลขวา ลักษณะเป็ นแผ่ น 3 แผ่ น ทีข่ อบของแต่ ละลิน้ จะยึด ติดกับเนื้อเยื่อเกีย่ วพันและผนังของเวนตริ เคิล เพื่อควบคุมการปิ ดเปิ ดลิน้ ป้องกันไม่ ให้ เลือดในเวนตริเคิลขวาไหลย้ อนกลับขึน้ สู่ เอเตรียมขวา ้ ไบคัสปิ ด (bicuspid valve) หรื อลิน้ ไมทรัล (mitral - ลิน valve)อยู่ทโี่ คนของเส้ นเลือดพัลโมนารีอาร์ เทอรี ลักษณะเป็ นถุงรู ป พระจันทร์ ครึ่งเสี้ยว 2 ใบ บรรจบกันแต่ ไม่ ได้ ยดึ ติดกันด้ วยเนื้อเยื่อ เกีย่ วพันทาหน้ าที่ กันไม่ ให้ เลือดไหลกลับสู่ เวนตริเคิลขวา ้ เอออร์ ติก เซมิลูนาร์ (aortic semilunar valve) อยู่ที่ - ลิน โคนของเส้ นเลือดพัลโมนารีอาร์ เทอรี ลักษณะเป็ นถุงรู ปพระจันทร์ ครึ่ง เสี้ยว 3 ใบ บรรจบกันแต่ ไม่ ได้ ยดึ ติดกันด้ วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ทาหน้ าที่ กันไม่ ให้ เลือดไหลกลับสู่ เวนตริเคิลขวา 4.เนื้อเยื่อของหัวใจ เนื้อเยื่อหัวใจมี 4 ชนิด คือ เนื้อเยื่อบุผวิ บุท้ งั ภายนอกและภายในหัวใจ เนื้อเยื่อเกีย่ วพัน ทาหน้ าที่ ยึดลิน ้ หัวใจ และกล้ ามเนื้อหัวใจ เนื้อเยื่อกล้ ามเนื้อหัวใจ แตกต่ างจากกล้ ามเนื้อลายและ กล้ ามเนื้อเรียบ ที่ไม่ มลี ายมากเหมือนกล้ ามเนื้อลาย แต่ ไม่ อยู่ ในอานาจจิตเหมือนกับกล้ ามเนื้อเรียบ เนื้อเยื่อโดนัล เปลีย่ นแปลงมาจากกล้ ามเนื้อหัวใจระยะ embryo ขณะที่สร้ างกล้ ามเนื้อหัวใจ แต่ การหดตัวไม่ ดี เท่ ากล้ ามเนื้อหัวใจ ทาให้ หัวใจจึงหดตัวได้โดยไม่ ต้องมีสิ่งใดมากระตุ้น หัวใจห้ องล่ างซ้ ายของคนเป็ นโรคความดันโลหิตสูง เส้นเลื อด (Blood Vessel) เส้นเลื อดทัว่ ร่างกายแบ่ง ออกเป็ น 3 ชนิ ด คื อ เส้นเลื อดแดง เส้นเลื อดดาและเส้นเลื อดฝอย ทา หน้าที่เป็ นท่อทางผ่านของเลื อดจาก หัวใจไปยังเซลล์ทว่ั ร่างกาย สรุปการไหลเวียนของเลือด 1.เส้นเลื อดแดงหรื ออาร์เตอรี ทาหน้าที่นาเลื อดออกจากหัวใจไปยังเส้นเลื อด ฝอย ได้แก่ เอออร์ตา(aorta) มีขนาดใหญ่ท่ ีสุด อาร์เตอรี (artery) ขนาดต่างๆ และอาร์เตอริ โอล (arteriole) ซึง่ เป็ นเส้ นเลือดแดงที่มี ขนาดเล็กที่สดุ - หลอดเลือดแดงยืดหยุ่นได้ ดี เนื่องจากมีอีลาสติกไฟเบอร์ (Elastic Fiber) อยู่มาก เส้ นเลือดแดงขนาดใหญ่จะยืดหยุ่นได้ ดีกว่าเส้ นเลือดแดงขนาด เล็ก เส้นเลื อดแดงมีผนังหนา เนื่ องจากมีกล้ามเนื้ อเรี ยบค่อนข้างมาก เพื่ อต้านทานแรงดันของเลื อดที่สง่ ออกจากหัวใจและปรับระดับความดันเลื อด ไม่ให้ลดลงมากหนัก 2. เส้ นเลือดดาหรื อเวน (Vein) ทาหน้าที่นาเลื อดเข้าสูห่ วั ใจ ได้แก่ เวนาคาวา (Vena cava) มีขนาดใหญ่ท่ ีสุด เวน (Vein) ขนาดต่างๆ เวนู ล (Venule) เป็ นเส้นเลื อดดาที่มีขนาดเล็กที่สุด เส้นเลื อดดาขนาดใหญ่มีอีลาสติกไฟเบอร์และ กล้ามเนื้ อเรี ยบอยูบ่ า้ ง แต่นอ้ ยกว่าเส้นเลื อดแดงมาก เส้นเลื อดดาเล็ก เช่น เวนู ลมีผนังบางมากไม่มีกล้ามเนื้ อเรี ยบเลย เส้นเลื อดดาสามารถ ยื ดขยายได้ดีจึงมีความจุสูง สามารถบรรจุเลื อดได้ถึง 60-70% ของ เลื อดทัง้ หมดความดันในเส้นเลื อดดาต่ า จึงต้องมีล้ ินอยูด่ ว้ ยช่วยป้องกัน ไม่ให้เลื อดไหลย้อนกลับทาง (ใช้ในการเจาะเลือด/บริจาคเลือด ) 3. เส้นเลื อดฝอย (capillary) เป็ นเส้นเลื อดที่อยูร่ ะหว่างเส้นเลื อดแดงอา เตอริ โอลและเส้นเลื อดดาเวนู ล มีขนาดเล็กที่สุด ผนังประกอบด้วยเซลล์ เพียงชัน้ เดียว สานกันเป็ นตาข่ายร่างแหแทรกอยูท่ ุกส่วนของร่างกาย - เส้นเลื อดฝอยมีขนาดเล็กและผนังบางมาก ทาให้เลื อดไหลผ่านเส้น เลื อดฝอยอย่างช้าๆ และเกิดการแลกเปลี่ยน ก๊าซ สารอาหารและ ของเสียต่างๆ ระหว่างเลื อดใน เส้นเลื อดฝอยและเซลล์ทว่ั ร่างกายได้ อย่างเพียงพอ ตารางเปรี ยบเทียบลักษณะเส้นเลื อดชนิ ดต่างๆ ของมนุ ษย์ ลักษณะ เส้ นอาร์ เตอรี เส้ นเวน เส้ นเลือดฝอย 1.ความหนาของผนังเส้ นเลือด หนาทีส่ ุ ด บางกว่ า บางทีส่ ุ ด 2.ลิน้ ในเส้ นเลือด ไม่ มี มี ไม่ มี จากอาร์ เตอริโอลไป 3.ทิศทางการไหลเวียนของเลือด ไหลออกจากหัวใจ ไหลเข้ าสู่ หัวใจ ยังเวนูล มีท้งั ออกซิเจนและ 4.ลักษณะเลือดในเส้ นเลือด มีออกซิเจนมาก มีคาร์ บอนไดออกไซด์ มาก คาร์ บอนไดออกไซด์ มาก 5.ความเร็วกระแสเลือด เร็วทีส่ ุ ด ปานกลาง ช้ าทีส่ ุ ด 6.แรงดันเลือด สู งสุ ด ต่าสุ ด ปานกลาง 7.มองจากภายนอกร่ างกาย ไม่ เห็น เห็น ไม่ เห็น 8.ปริมาณเลือดในเส้ นเลือด 10% 60-70% 5% การหมุนเวียนเลือด - หัวใจห้ องเอเตรียมขวา จากเส้ นเวนขนาดใหญ่ Superior vena cava ซึ่ง นาเลือดมาจากศีรษะและแขน และรับเลือดจากเส้ นเวน Inferior vena cava ซึ่งนาเลือดมาจากส่ วนล่ างของลาตัว คืออวัยวะภายในและขาเข้ าสู่ หัวใจ - เอเตรียมขวาบีบตัวลงสู่ เวนตริเคิลขวา เวนตริเคิลขวาจะบีบตัวทาให้ เลือด ถูกส่ งผ่ านลิน้ พัลโมนารี หรื อเซมิลูนาร์ เข้ าสู่ เส้ นเลือดพัลโมนารี อาร์ เทอรี (Pulmonary artery) ซึ่งจะนาเลือดไปยังปอดเพื่อแลกเปลีย่ นก๊ าซโดยปล่ อย CO2 ให้ แก่ ปอด และรับ O2 จากปอดกลายเป็ นเส้ นเลือดทีม่ ี O2สู ง สู่ พลั โมนารี เวน (Pulmonary vein) เข้ าสู่ ห้องหัวใจเอ เตรียมซ้ ายเกิดในจังหวะเดียวกับ เอเตรียมขวา จะทาให้ เลือดไหล ผ่ านลงสู่ ลนิ้ ไบคัสปิ ด ลงสู่ หัวใจห้ องเวนตริเคิลซ้ าย ดันให้ เลือดไหลผ่ านลิน้ เอออร์ ติก หรื อเซมิลูนาร์ เข้ าสู่ เอออร์ ตา จา แตกแขนงเป็ นอาร์ เทอรี อาร์ เทอริโอลแยกไปยังส่ วนต่ างๆ ของ ร่ างกาย **พลาสมา หรื อน้าเลื อด (plasma) 55 % **เม็ดเลื อด (blood corpuscle) 45 % เซลล์เม็ดเลื อดแดง (erythrocyte) เซลล์เม็ดเลื อดขาว (leucocyte) เพลตเลต หรื อ เกล็ดเลื อด (platelet) - ระยะเอ็มบริ โอ สร้ างจาก ตับ ม้ าม ไขกระดูก ภายหลังคลอดแล้ ว สร้ าง จากไขกระดูก เมื่อสร้ างมาใหม่ๆ จะมีนิวเคลียส แต่เมื่อเจริ ญเต็มที่จะไม่ มีนิวเคลียสและมีฮีโมโกบิลรวมกับ O2 ได้ ดีมาก - อายุของเซลล์เม็ดเลือดแดง 90-120วันหลังจากนันจะถู ้ กทาลายที่ตบั และ ม้ าม - ผู้ชายมี 5 ล้ านเซลล์ตอ่ 1 ลูกบาศก์มิลลิเมตร ผู้หญิง 4.8 ล้ านเซลล์ตอ่ 1 ลูกบาศก์มิลลิเมตร - แต่ละโมเลกุลของฮีโมโกลบิน ประกอบด้ วยหน่วยย่อย 4 หน่วย แต่ละหน่วยประกอบด้ วยฮีมและพอลิเพปไทด์ 1 สาย - ดังนัน้ ฮีโมโกลบิน 1 โมเลกุล จึงมีฮีม 4 ฮีม และพอลิเพปไทด์ 4 สาย รวมเรี ยกว่า โปรตีนโกลบิน - ฮีมแต่ละตัวประกอบด้ วยรงควัตถุ ชื่อ โพรโทพอร์ ไฟริ น (protoporphyrin) กับธาตุเหล็ก 1 อะตอม - ธาตุเหล็กจะอยูใ่ นรูป เฟอร์ รัส (Fe2+) จับกับออกซิเจนอย่างหลวม ๆ เรี ยก ออกซีฮีโมโกลบิน (oxyhemoglobin) มีขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลื อดแดง มีอายุ 2-3 วัน แบ่งเป็ น 2 กลุม่ กลุม่ แรก lymphocyte ทาหน้าที่สร้างสารต่อต้านจาเพาะ (antibody) กลุม่ ที่สอง แบบไม่จาเพาะ ได้แก่ phagocyte ทาลายเชื้ อโรคแบบ ฟาโกไซโทซิส เช่น monocyte, neutrophil, eosinophil ทาลายพยาธิ ,basophil ตอบสนองอาการแพ้ basophil eosinophil lymphocyte monocyte neutrophil เม็ดเลือดขาว แบ่งตามเม็ดเล็ก ๆ ที่อยูใ่ นเซลล์ แกรนูโลไซต์ มี 3 ชนิด 1. นิวโทฟิ ล(neutrophil) แกรนูลย้ อมติดสีน ้าเงินม่วงและแดงคละ กัน มีนิวเคลียสหลายพู ทาลายสิ่งแปลกปลอมโดยการกิน แบบฟาโกไซโทฟิ ล นิวโทฟิ ลกินสิ่งแปลกปลอมขนาดเล็ก เรี ยก ไมโครเฟก (microphage) ซากของแบคทีเรี ย ที่นิวโทรฟิ ลกินและนิวโทรฟิ ลที่ตายจะกลายเป็ นหนอง และกลายเป็ นฝี ได้ 2. อีโอซิโนฟิ ล (eosinophil) แกรนูลย้ อมติดสีชมพู มีนิวเคลียส 2 พู ทาหน้ าที่เช่นเดียวกับนิวโทฟิ ลและช่วยป้องกันในการแก้ พิษต่าง ๆ ทาลายพยาธิที่เข้ าสูร่ ่างกาย มีร้อยละ 2 – 5 ของ เลือดทังหมด ้ 3. เบโซฟิ ล (basophil) แกรนูลย้ อมติดสีน ้าเงินหรื อม่วง ทาหน้ าที่ ปล่อยสารเฮปาริน (heparin) ป้องกันการแข็งตัวของเลือดในเส้ นเลือด และสร้ างฮีททามีน ซึง่ ทาให้ เกิดอาการแพ้ หรื ออักเสบ เม็ดเลือดขาวพวกอะแกรนูโลไซต์ 1. ลิมโฟไซต์ (lymphocyte) เป็ นเม็ดเลือดขาวที่ใหญ่เกือบเต็มเซลล์ ทา หน้ าที่สร้ าง แอนติบอดี (antibody) ขึ ้นมาต่อต้ านเชื ้อโรค แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด - บีเซลล์ (b- cell) พัฒนาที่ไขกระดูก หรื อเนื ้อเยื่อน ้าเหลือง - ทีเซลล์(t - cell) เจริญและพัฒนาที่ตอ่ มไทมัส 2. มอโนไซต์ (monocyte) เป็ นเม็ดเลือดขาวที่มีขนาดใหญ่ที่สดุ มีนิวเคลียสรูปเกือกม้ า ทาหน้ าที่ กินแบคทีเรี ยแบบฟาโกไซโทซิส เหมือนนิวโทรฟิ ล และกินของโต ๆ ที่เม็ดเลือดขาวอื่นๆ กินไม่ได้ จึงถูกเรี ยก แมโครเฟก (macrophage) ลักษณะ ไม่ใช่เซลล์แต่เป็ นชิ้นส่วนของ ไซโทพลาสซึม ชนิ ด หนึ่ งของกระดูกไขสันหลังที่ขาดเป็ นชิ้น เพลตเลตมีเยื่ อหุม้ เซลล์แต่ไม่มีนิวเคลียส มีขนาดเล็ก มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2 ไมโครเมตร มีรูปร่างไม่แน่นอน ภายในประกอบด้วยทอมโบรพลาสติน (thromboplastin) ซึ่งมีสว่ นประกอบสาคัญเกี่ยวกับ การแข็งตัวของเลื อด หน้าที่ของเพลตเลต เป็ นตัวการสาคัญในกระบวนการแข็งตัวของเลื อด (blood clotting) การแข็งตัวของเลื อด - เมื่ อเกิดบาดแผล เพลตเลตจะปล่อยเอนไซม์ ทอมโบพลาสติน ทางานร่วมกับ Ca+ วิตามินเค - โดยเอนไซม์ทอมโบพลาสตินจะไปเปลี่ยนเอนไซม์ โพรท อมบิน ซึ่งไม่วอ่ งไว ให้เป็ นเอนไซม์ทอมบิน - เอนไซม์ทอมบินไปเปลี่ยนโปรตีนไฟบริ โนเจน ให้เป็ นโปรตีน ไฟบริ น ซึ่งจะประสานกันเป็ นร่างแหบริ เวณ ปากแผล และเพลต เลตก็จะมาเกาะทาให้เลื อดหยุดไหล ภาพการประสานกันของโปรตีนไฟบริ น น้าเลื อดเป็ นของเหลวค่อนข้างใส มีสีเหลื องอ่อน ภาพแสดงลักษณะของน้าเลื อด น้าเลื อดประกอบด้วย 1. น้า ประมาณ 90-93 % รักษาระดับของน้าเลื อด และ ความดันเลื อดให้คงที่ เป็ นตัวกลางในการลาเลียงสาร 2. โปรตีน 7-10 % (โพรบริ โนเจน, อัลบูมิน, โกลบูลิน) ช่วยในการแข็งตัวของเลื อด 3. สารอาหารโมเลกุลเล็กๆ ยูเรี ย คาร์บอนไดออกไซด์ เอนไซม์และฮอร์โมนชนิ ดต่างๆ - ถ้านาเลื อดที่ท้ ิงให้แข็งตัวก่อนแล้วนาไปปั่น เพื่ อแยกเซลล์เม็ด เลื อด เพลตเลต และโพรไฟบริ น ออกจากส่วนที่เหลื อจะเป็ น ของเหลวใสๆ เรี ยกว่า ซีรัม (serum) หน้าที่ของน้าเลื อด 1. ลำเลียงเม็ดเลือด และสำรอื่นๆ ได้แก่ อำหำรที่ ย่อยแล้ว แร่ ธำตุ ฮอร์โมน แอนติบอดี 2. ช่วยรักษำสมดุลควำมเป็ น กรด - เบส สมดุล ของน้ ำ และรักษำอุณหภูมิของร่ ำงกำย หมูเ่ ลื อดระบบ ABO แอนติบอดี (antibody) คื อ สารพวกโปรตีนใน พลาสมา หมุนเวียนไปทัว่ ร่างกาย แอนติเจน ( antigen ) คื อ สารเคมีท่ ีอยูท่ ่ ีเยื่ อหุม้ เซลล์เม็ดเลื อดแดง หลักการให้เลื อดและการรับเลื อดของคนใน หมูเ่ ลื อดระบบ ABO ผูใ้ ห้กบั ผูร้ ับ ควรจะมีเลื อดหมูเ่ ดียวกันจึงจะปลอดภัยที่สุด เลื อดของผูใ้ ห้จะต้องไม่มีแอนติเจนตรงกับแอนติเจนของผูร้ ับ ผูใ้ ห้สากล คื อ เลื อดหมูโ่ อ สามารถให้ได้ทุกหมู ่ ผูร้ ับสากล คื อ เลื อดหมูเ่ อบี สามารถรับได้ทุกหมู ่ หมูเ่ ลื อดระบบ Rh 1. หมู่เลือด Rh+ เป็ นเลือดที่มีแอนติเจน Rh อยูท่ ี่ เยือ่ หุ ม้ เซลล์เม็ดเลือดแดง และไม่มีแอนติบอดีใน พลำสมำ 2. หมู่เลือด Rh- เป็ นเลือดที่ไม่มีแอนติเจน Rh ที่ เยือ่ หุ ม้ เซลล์เม็ดเลือดแดง และในพลำสมำก็ไม่มี แอนติบอดี Rh แต่สำมำรถสร้ำงแอนติบอดี Rh ได้ เมื่อได้รับแอนติเจน Rh (Rh+) ระบบ Rh - หมู่เลือดระบบนี้ มีแอนติเจนชนิ ดเดียว คือ แอนติเจน Rh ไม่มี แอนติบอดี ซึ่งเกิดขึ้ นเองตามธรรมชาติ ยกเว้นที่ได้รบั การกระตุน้ -คนที่มีแอนติเจน Rh มีเยื่ อหุม้ เซลล์เม็ดเลื อดแดง ถือว่ามีหมู่เลือด Rh+ ส่วนคนที่ไม่มีแอนติเจน Rh ถือว่ามีหมู่เลือด Rh- - หากคนที่มีหมู่เลื อด Rh ได้รบั เลือดหมู่Rh+ พบว่าแอนติเจน Rh จะกระตุน้ ให้คนที่มีหมู่เลื อด Rh สร้างแอนติบอดี Rh ขึ้นมาได้ ดังนัน้ การให้เลือดในครัง้ ต่อๆ ไป อาจเกิดปั ญหาเลือดตกตะกอนจนถึ งแก่ ชีวิตได้ - คนไทยไม่ค่อยมีปัญหาเกี่ยวกับหมู่เลื อดระบบ Rh เพราะมีหมู่ เลือด Rh+ มากกว่า 90% ผูท้ ี่มีหมู่เลื อด Rh น้อยมากประมาณ 1 ใน 500 คนเท่านัน้ - หากแม่มีหมู่เลือด Rh- และลูกในครรภ์มีหมู่เลือด Rh+ อาจมีโอกาสที่เลือด ของลูกไปกระตุน้ ให้แม่สร้างแอนติบอดี Rh ดังนัน้ ลูกคนต่อไปที่มีหมู่เลือด Rh+ อาจได้รบั อันตรายจากแอนติบอดีของแม่ที่สร้างขึ้ นจนเสี ยชี วิตได้ เรียกว่า erythroblastosis fetalis - หากแม่มีหมู่เลือด Rh+ และลูกในครรภ์มีหมู่เลือด Rh จะไม่เกิดอันตราย เพราะ ทารกในครรภ์จะไม่สร้างแอนติบอดี Rh จนกว่าจะคลอดมาแล้วระยะหนึ่ ง ข้อควรจา - ERYTHROBLASTOSIS FETALIS เป็ นอาการของเด็กทารกที่เกิดจากคู่ สมรสที่มีสามีมีเลื อด Rh+ ภรรยามีเลือด Rh- เลือดของลูกคนแรกอาจกระตุน้ ให้ แม่สร้างแอนติบอดี Rh ขึ้ นเมื่อมีครรภ์ครัง้ ต่อมา และทารกมีเลื อด Rh+ อีกจะเกิด อันตรายขึ้ นได้ เนื่ องจากปฏิ กิริยาระหว่างแอนติบอดีในเลื อดแม่กบั แอนติเจน Rh ในเลือด ลูก ทารกอาจมีอาการตัวเหลืองหรือเสียชีวิตได้ หลักการให้เลือด คนที่มีหมูเ่ ลื อด Rh+ สามารถรับเลื อดได้ทงั้ หมู ่ Rh+ และ Rh- คนที่มีหมูเ่ ลื อด Rh- จะต้องได้รับเลื อดหมู ่ Rh- เท่านั้น ซึ่งสามารถตกตะกอนได้เมื่ อรับเลื อด Rh+ ครั้ง ต่อไป ประกอบด้วย *****น้าเหลื อง( lymph ) *****ท่อน้าเหลื อง( lymph vessel ) *****อวัยวะน้าเหลื อง (lymphatic organ) เป็ นของเหลวที่ซึมผ่านผนังเส้นเลื อดฝอยออกมาอยู ่ ระหว่างเซลล์หรื ออาจอยูร่ อบๆ เซลล์ ประกอบด้วยโปรตีนที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก เช่น อัลบู มีน กลูโคส น้า เอนไซม์ ฮอร์โมน เซลล์เม็ด เลื อดขาวและแก๊สต่างๆ - มีอยูท่ ว่ั ร่างกายมีขนาดแตกต่างกัน ในเนื้ อเยื่ อมีทอ่ น้าเหลื องฝอยแทรกอยู ่ ใกล้เส้นเลื อดฝอยปลายสุดของท่อจะปิ ดตัน - ท่อน้าเหลื องฝอยจะรวมเป็ นท่อใหญ่ เข้าสูเ่ ส้นเวนใหญ่ ใกล้หวั ใจ น้าเหลื องเข้าสูท่ อ่ น้าเหลื อง และไหลไปตามท่อน้าเหลื อง ไหลเข้าสูร่ ะบบ หมุนเวียนเลื อด ปนกับเลื อดที่มีออกซิเจนน้อย ตรงเส้นเวนใหญ่เข้าสู ่ หัวใจ และออกจากหัวใจไปยังส่วนต่างๆของร่างกายในระบบหมุนเวียน เลื อด เป็ นศูนย์กลางการผลิตเซลล์ท่ ีใช้ในการต่อต้าน เชื้ อโรคหรื อสิ่ งแปลกปลอม - ประกอบด้วย ต่อมน้าเหลื อง ทอลซิล ม้าม ต่อมไทมัส และเนื้ อเยื่ อน้าเหลื องที่อยูท่ ่ ีผนัง ลาไส้เล็ก อยูร่ ะหว่างทางเดินของท่อน้าเหลื องทัว่ ไปในร่างกาย เป็ น รู ปไข่มีขนาดต่างๆกัน ภายในมี ลิมโฟไซต์อยูร่ วมกันเป็ น กระจุก ซึ่งมีลกั ษณะคล้ายฟองน้าทาให้น้าเหลื องซึมผ่านได้ ต่อมน้าเหลื องบริ เวณคอมี 5 ต่อม เรี ยกว่า ทอลซิล ( tonsil )และมีคูท่ ่ ีอยูร่ อบๆหลอดอาหาร ทอลซิลมีลิมโฟ ไซต์ทาลายจุลินทรี ยท์ ่ ีผา่ นมาในอากาศไม่ให้เข้าสูห่ ลอด อาหารและกล่องเสี ยง เป็ นเนื้ อเยื่ อน้าเหลื องที่เป็ นต่อมไร้ทอ่ อยูต่ รงทรวงอกรอบ เส้นเลื อดใหญ่ของหัวใจ ทาหน้าที่สร้างลิมโฟไซต์ชนิ ดเซลล์ ที - เซลล์ทีจะเข้าออกจากต่อมไทมัสเข้าสูก่ ระแสเลื อดและ น้าเหลื อง ไหลไปตามส่วนต่างๆของร่างกาย ทาหน้าที่ ต่อต้านเชื้ อโรคหรื อสิ่ งแปลกปลอมที่จะเข้าสู ร่ ่างกาย ระบบนา้ เหลือง ( Lymphatic system ) ประกอบด้ วย - นา้ เหลือง ( Lymph ) เป็ นของเหลวที่ซึมผ่ านเส้ นเลือดฝอยออกมา หล่ อเลีย้ งอยู่รอบๆเซลล์ ประกอบด้ วย กลูโคส อัลบูมิน ฮอร์ โมน เอนไซม์ ก๊ าซ เซลล์ เม็ดเลือดขาว ( แต่ ไม่ มีเซลล์ เม็ดเลือดแดงและ เพลตเลต ) - ท่ อนา้ เหลือง ( Lymph vessel ) มีหน้ าที่ลาเลียงนา้ เหลืองทั่วร่ างกาย เข้ าสู่เส้ นเวนใหญ่ ใกล้ หวั ใจ(Subclavian vein) ปนกับเลือดที่มี ออกซิเจนน้ อย ท่ อนา้ เหลืองมีลิน้ กัน้ คล้ ายเส้ นเวนและมีอัตราการไหล ช้ ามากประมาณ 1.5 มิลลิเมตรต่ อนาที - อวัยวะนา้ เหลือง ( Lymphatic organ ) 1) ต่ อมนา้ เหลือง ( Lymph node ) - พบทั่วร่ างกาย ภายในมีลิมโฟไซต์ อยู่เป็ นกระจุก - ต่ อมนา้ เหลืองบริเวณคอ มี 5 ต่ อม เรียกว่ า ทอนซิล (Tonsil) มี หน้ าที่ ป้ องกันจุลินทรีย์ท่ ผี ่ านมาในอากาศไม่ ให้ เข้ าสู่หลอดอาหาร และกล่ อง เสียงจนอาจเกิดอักเสบขึน้ มาได้ 2) ม้าม ( Spleen ) - เป็ นอวัยวะน้าเหลืองที่มีขนาดใหญ่ท่ีสุด - มีหน้าที่ผลิตเซลล์เม็ดเลือด ( เฉพาะในระยะเอมบริโอ ) ป้ องกันสิ่ง แปลกปลอมและเชื้อโรคเข้าสู่กระแสเลือด สร้าง แอนติบอดี ทาลายเซลล์ เม็ดเลือดแดงและเพลตเลตที่ หมดอายุ 3) ต่อมไทมัส ( Thymus gland ) - เป็ นเนื้ อเยื่อน้าเหลืองที่เป็ นต่อมไร้ท่อ - สร้างลิมโฟไซต์ชนิ ดเซลล์ที เพื่อต่อต้านเชื้อโรคและอวัยวะ ปลูก ถ่ายจากผูอ้ ่ืน ข้อควรจา การไหลของน้าเหลืองในท่อเหลือง เกิดขึ้นจากการหดและ คลายตัวของกล้ามเนื้ อที่อยู่รอบๆ ท่อน้าเหลืองนัน้