ระบบต่อมไร้ท่อ PDF

Document Details

GreatestFermium

Uploaded by GreatestFermium

H. Lavity Stoutt Community College

Tags

hormones endocrine system biology human physiology

Summary

This document provides information on the endocrine system, including details on hormones, glands, and their functions. It explores the chemical messengers that regulate various bodily processes. The information within aids in understanding how the system maintains homeostasis.

Full Transcript

3 หน่วยการเรียนรู้ที่ ระบบต่อมไร้ท่อ ผลการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเขียนแผนผังสรุปหน้าที่ของฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและเนื้อเยื่อที่สร้างฮอร์โมน ฮอร์โมนมีผลต่อการรักษาดุลยภาพของร่างกาย อย่างไร และหากการสร้างหรือการทางานของ ฮอร์โมนผิดปกติจะส่งผลต่อร่างกายอย่างไร ? ...

3 หน่วยการเรียนรู้ที่ ระบบต่อมไร้ท่อ ผลการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเขียนแผนผังสรุปหน้าที่ของฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและเนื้อเยื่อที่สร้างฮอร์โมน ฮอร์โมนมีผลต่อการรักษาดุลยภาพของร่างกาย อย่างไร และหากการสร้างหรือการทางานของ ฮอร์โมนผิดปกติจะส่งผลต่อร่างกายอย่างไร ? ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อควบคุมดุลยภาพ ของร่างกายได้อย่างไร ? ต่อมไร้ท่อ (endocrine gland) ต่อมไร้ท่อ VS ต่อมมีท่อ ไม่มีท่อลำเลียงเลียงสำรออกสู่ภำยนอก ทำหน้ำที่สร้ำงฮอร์โมน (hormone) ซึ่งมีผลต่อ กำรเปลี่ยนแปลงทำงสรีรวิทยำของร่ำงกำย มีหลอดเลือดมำหล่อเลี้ยงจำนวนมำก เพื่อลำเลียงฮอร์โมนไปยังอวัยวะเป้ำหมำย เซลล์ที่เป็นองค์ประกอบของต่อมจะมีลักษณะ พิเศษซึ่งแตกต่างจากเซลล์อื่น ๆ สารที่สร้างได้จะมีลักษณะเฉพาะและไม่สามารถ สร้างได้จากต่อมอื่น ๆ ฮอร์โมน (hormone) หลอดเลือด สารเคมีที่สร้างจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะบางอวัยวะ ส่วนใหญ่เป็นสารประเภทโปรตีน เอมีน และสเตอรอยด์ ทำหน้ำที่ควบคุมกำรทำงำนของระบบต่ำงๆ ในร่ำงกำย ให้อยู่ในสภำวะสมดุล ต่อมไร้ท่อ หลั่งเข้ำสู่ระบบหมุนเวียนเลือดเพื่อลำเลียงไปยังอวัยวะ เป้ำหมำยอย่ำงเฉพำะเจำะจง เซลล์เป้าหมาย โมเลกุลฮอร์โมน ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สาคัญ ต่อมไร้ท่อแต่ละชนิดผลิตฮอร์โมนชนิดใดบ้าง และมีผลต่อร่างกายอย่างไร ? ต่อมไพเนียล (pineal gland) ต่อมขนาดเล็ก อยู่ระหว่างสมองส่วนเซรีบรัมด้านซ้าย ต่อมไพเนียล และด้านขวา ในสัตว์เลือดเย็นทำหน้ำที่เป็นกลุ่มเซลล์รับแสง ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทำหน้ำที่สร้ำงเมลาโทนิน (melatonin) ซึ่งมีผลยับยั้งกำรเจริญเติบโตของอวัยวะ สืบพันธุ์ไม่ให้เร็วเกินไปในช่วงก่อนวัยเจริญพันธุ์ หำกร่ำงกำยไม่สร้ำงเมลำโทนินจะทำให้กำรเจริญเติบโต เข้ำสู่วัยเจริญพันธุ์เร็วกว่ำปกติ หรือหำกสร้ำงมำกเกินไป จะทำให้เจริญเติบโตเข้ำสู่วัยเจริญพันธุ์ช้ำกว่ำปกติ ต่อมใต้สมอง (pituitary gland) แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary gland) นิวโรซีครีทอรีเซลล์ เจริญและพัฒนาจากเนื้อเยื่อชั้นเอ็กโทเดิร์ม ไฮโพทาลามัส สร้างฮอร์โมนได้เอง การหลั่งฮอร์โมนถูกควบคุมโดยฮอร์โมนประสาทจากไฮโพทาลามัส ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (posterior pituitary gland) เจริญและพัฒนาจากเนื้อเยื่อประสาทที่ติดกับสมอง ต่อมใต้สมองส่วนหลัง ไม่สามารถสร้างฮอร์โมนได้ มีปลำยแอกซอนของนิวโรซีครีทอรีเซลล์จำกไฮโพทำลำมัส ทำหน้ำที่ลำเลียงฮอร์โมนประสำทออกมำยังต่อมใต้สมองส่วนหลัง ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า โกนาโดโทรปิน (gonadotropin, Gn) แบ่งออกเป็น ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน (FSH) และ ลูทิไนซิงฮอร์โมน (LH) ในเพศหญิง FSH กระตุ้นฟอลลิเคิลให้เจริญและทำงำนร่วมกับ LH กระตุ้นฟอลลิเคิล ให้ ส ร้ ำ งอี ส โทรเจน เมื่ อ LH เพิ่ ม สู ง ขึ้ น จะกระตุ้ น กำรตกไข่ ฟอลลิ เ คิ ล กลำยเป็ น ต่อมใต้สมอง คอร์ปัสลูเทียมและหลั่งโพรเจสเทอโรน ซึ่งทำงำนร่วมกับอีสโทรเจนในกำรเปลี่ยนแปลง ส่วนหน้า ของรังไข่และมดลูกเพื่อรองรับกำรฝังตัวของเอ็มบริโอ ในเพศชาย FSH กระตุ้น การเจริญ ของอัณ ฑะและการสร้างสเปิ ร์มของหลอดสร้า ง สเปิร์ม ส่วน LH กระตุ้นเซลล์เลย์ดิกภายในอัณฑะให้สร้างเทสโทสเทอโรน โกรทฮอร์โมน (growth hormone, GH) หรือ โซมาโตโทรปิน (somatotropin) ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายให้เป็นปกติ ในเด็ก หำกหลั่ง GH มำกเกินไป ทำให้เกิดสภำวะยักษ์ หำกหลั่ง GH น้อยเกินไป ทำให้เกิดสภำวะเตี้ยแคระ ในผู้ใหญ่ หำกหลั่ง GH มำกเกินไป ทำให้เป็นโรคอะโครเมกำลี หำกหลั่ง GH น้อยเกินไป ทำให้เป็นโรคไซมอนส์ ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง ไทรอยด์สติมิวเลติงฮอร์โมน วาโซเพรสซิน (vasopressin) หรือ ฮอร์โมน (thyroid stimulating hormone, TSH) แอนติไดยูเรติก (antidiuretic hormone, ADH) กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างไทรอกซิน ควบคุมกำรดูดน้ำกลับของท่อหน่วยไต อะดรีโนคอร์ติโคโทรปิน (adrenocorticotrophic hormone, ACTH) กระตุ้นหลอดเลือดอาร์เตอรีให้หดตัว กระตุ้นการสร้างฮอร์โมนของต่อมหมวกไต หำกมีกำรหลั่ง ADH น้อยเกินไป ทำให้เป็น ส่วนนอก โรคเบำจืด โพรแลกทิน (prolactin) ออกซิโทซิน (oxytocin) กระตุ้นกำรเจริญเติบโตของท่อผลิตน้ำนม กระตุ้นกล้ำมเนื้อมดลูกให้บีบตัว กระตุ้นกำรสร้ำงและหลั่งน้ำนม ทำให้คลอดบุตรง่ำยขึ้น เอนดอร์ฟิน (endorphin) กระตุ้นกำรหดตัวของกล้ำมเนื้อเรียบ มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟิน ในเต้ำนม ทำให้หลั่งน้ำนมมำกขึ้น ถูกหลั่งออกมำขณะออกกำลังกำยหรือมีอำรมณ์ แจ่มใส เรียกสำรนี้ว่ำ สำรแห่งควำมสุข ต่อมไทรอยด์ (thyroid gland) ต่อมไร้ท่อที่มีขนำดใหญ่ที่สุด มีสีน้ำตำลแดง และมีหลอดเลือดมำหล่อเลี้ยงจำนวนมำก กล่องเสียง อยู่บริเวณลำคอติดกับกล่องเสียง และถูกหุ้ม ด้วยพังผืดที่หุ้มกล่องเสียงและท่อลม แบ่งเป็น 2 พู ได้แก่ พูด้านขวาและพูด้านซ้าย ต่อมไทรอยด์ ที่เชื่อมต่อกัน ด้านหลังมีต่อมพาราไทรอยด์ติดอยู่ พูละ 2 ต่อม สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด ได้แก่ ไทรอกซิน ท่อลม (thyroxin) และแคลซิโทนิน (calcitonin) การศึกษาเกี่ยวกับต่อมไทรอยด์ พ.ศ. 2426 อี. โคเชอร์ (E. Kocher) หำกตัดต่อมไทรอยด์ออกจะทำให้ร่ำงกำยอ่อนแอ ไม่มีแรง มือ เท้ำ และตัวบวม ผิวหนังแห้งแข็งเป็นสะเก็ด สมองเสื่อม และหำกตัดต่อมไทรอยด์ในสัตว์ทดลองที่ยังเจริญไม่เต็มที่จะทำให้สัตว์มีลักษณะแคระแกร็น พ.ศ. 2438 แมกนัส เลวี (Magnus Levy) นำต่อมไทรอยด์ของแกะมำทำให้แห้ง แล้วบดให้คนปกติรับประทำน พบว่ำ ร่ำงกำยมีอัตรำเมแทบอลิซึมสูงขึ้น จึงสำมำรถใช้รักษำคนไข้ที่ขำดฮอร์โมนจำกต่อมไทรอยด์ได้ พ.ศ. 2439 ซี. ซี. โบมานน์ (C.Z. Boumann) เซลล์ของต่อมไทรอยด์มีสารไอโอดีนสูงกว่าเซลล์อื่น ๆ ในร่างกายถึง 100 เท่า และเซลล์ของต่อมไทรอยด์ของคนที่อาศัยอยู่ใกล้ทะเลจะมีไอโอดีนสูงกว่าคนที่อาศัยอยู่บริเวณห่างจากทะเล พ.ศ. 2448 เดวิด มารีน (David Marine) คนที่อำศัยอยู่ใกล้ทะเลมีโอกำสเป็นโรคคอพอกน้อยกว่ำคนที่อำศัยอยู่บริเวณห่ำงจำกทะเล และสัตว์ที่ไม่ได้รับอำหำรที่มี ไอโอดีนจะเป็นโรคคอพอก เดวิดจึงได้เสนอให้มีกำรเติมไอโอดีนลงในน้ำดื่มเพื่อป้องกันร่ำงกำยขำดไอโอดีน ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ ไทรอกซิน (thyroxin) สร้างจากกลุ่มเซลล์ไทรอยด์ฟอลลิเคิล (thyroid follicle) มีธำตุไอโอดีน (I) เป็นองค์ประกอบจำนวนมำก ทำหน้ำที่ควบคุมอัตรำเมแทบอลิซึมของร่ำงกำย ทำให้สำมำรถนำ สำรอำหำรและแก๊สออกซิเจนไปใช้ในกำรสร้ำงพลังงำนได้อย่ำงเต็มที่ แคลซิโทนิน (calcitonin) สร้างจากเซลล์พาราฟอลลิคิวลาร์ (para follicular cell) ทำหน้ำที่ลดระดับแคลเซียมในเลือด โดยกระตุ้นกำรสะสมแคลเซียม ที่เซลล์กระดูก ลดกำรดูดแคลเซียมกลับจำกท่อหน่วยไต และลดกำร ดูดซึมแคลเซียมที่ลำไส้เล็ก ทำงำนร่วมกับพำรำไทรอยด์ฮอร์โมนและวิตำมินดี ความผิดปกติของไทรอกซิน เครทินิซึม (cretinism) ขาดไทรอกซินในวัยเด็ก มิกซีดีมา (myxedema) ขาดไทรอกซินในวัยผู้ใหญ่ โรคคอพอก (simple goiter) ร่างกายขาดธาตุไอโอดีน TSH จึงหลั่งออกมามากเพื่อกระตุ้นการสร้างไทรอกซินของต่อมไทรอยด์ตลอดเวลา ต่อมไทรอยของ ต่อมไทรอยของคนปกติ คนเป็นโรคคอพอก โรคคอพอกเป็นพิษ (toxic goiter) เกิดจำกต่อมไทรอยด์ถูกกระตุ้นให้สร้ำงไทรอกซินมำกเกินไป ทำให้ร่ำงกำยมีเมแทบอลิซึมสูง ต่อมพาราไทรอยด์ (parathyroid gland) อยู่ด้านหลังต่อมไทรอยด์ พูละ 2 ต่อม สร้างพาราไทรอยด์ฮอร์โมน (parathyroid hormone, PTH) หรือพาราทอร์โมน (parathormone) ทำหน้ำที่เพิ่มกำรสลำยแคลเซียมที่กระดูก เพิ่มกำรดูดแคลเซียม กลับที่ท่อหน่วยไต กระตุ้นกำรขับฟอสฟอรัสออกทำงปัสสำวะ ต่อมไทรอยด์ และเร่งกำรดูดซึมแคลเซียมเข้ำสู่ลำไส้เล็ก ต่อมพาราไทรอยด์ ทำงำนร่วมกับแคลซิโทนินและวิตำมินดี การทางานร่วมกันของพาราไทรอยด์ฮอร์โมนและแคลซิโทนิน แคลซิโทนิน กระตุ้นการสร้าง แคลซิโทนิน จากต่อมไทรอยด์ สะสม Ca2+ ลดการดูด Ca2+ ลดการดูดซึม Ca2+ ที่กระดูก กลับที่ท่อหน่วยไต ที่ลาไส้เล็ก ระดับ Ca2+ สูง ระดับ Ca2+ ในเลือด ระดับ Ca2+ ต่า กระตุ้นการสร้าง PTH จากต่อมพาราไทรอยด์ สลาย Ca2+ เพิ่มการดูด Ca2+ เพิ่มการดูดซึม ที่กระดูก กลับที่ท่อหน่วยไต Ca2+ ที่ลาไส้เล็ก PTH ตับอ่อน (pancreas) อยู่ด้ำนซ้ำยของช่องท้อง บริเวณลำไส้เล็กส่วนต้นถึงม้ำม ตับ และอยู่ด้ำนหลังกระเพำะอำหำร เป็นต่อมมีท่อสร้ำงน้ำย่อยส่งไปย่อยอำหำรที่ลำไส้เล็ก กระเพาะอาหาร และเป็นต่อมไร้ท่อสร้ำงฮอร์โมน ภำยในมีกลุ่มเซลล์ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ (islets of Langerhans) ทำหน้ำที่สร้ำงฮอร์โมน ตับอ่อน ลาไส้เล็กส่วนต้น การศึกษาเกี่ยวกับตับอ่อน พ.ศ. 2411 พอล ลังเกอร์ฮาส์ (Paul Langerhans) ค้นพบกลุ่มเซลล์ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ (islets of Langerhans) พ.ศ. 2432 โยฮันน์ ฟอน เมอริง (Johann Von Mering) และออสการ์ มินคอฟสกิ (Osgar Minkovski) ให้ความเห็นว่า การตัดตับอ่อนของสุนัขมีผลต่อการย่อยอาหารประเภทลิพิด และยังพบมดขึ้นปัสสาวะของสุนัขที่ถูกตัดตับอ่อน ซึ่งต่อมาอีก 2 สัปดาห์ สุนัขที่ถูกตัดตับอ่อนก็เสียชีวิต พ.ศ. 2455 มีผู้ทดลองแสดงความเห็นว่า กลุ่มเซลล์ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ผลิตสารบางอย่างและปล่อยมาทางระบบ หมุนเวียนเลือด เรียกสารนั้นว่า อินซูลิน (insulin) พ.ศ. 2463 เอฟ. จี. แบนติง (F. G. Banting) และซี. เอช. เบสต์ (C. H. Best) ทดลองมัดท่อตับอ่อนของสุนัข พบว่ำ ตับอ่อนไม่สำมำรถสร้ำงเอนไซม์ได้ แต่กลุ่มเซลล์ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮำนส์ยังทำงำนได้ จึงสกัดอินซูลินจำกกลุ่มเซลล์ดังกล่ำวและนำไปฉีดให้กับสุนัขที่เป็นโรคเบำหวำนภำยหลังจำกตัดตับอ่อน ปรำกฏว่ำสุนัขสำมำรถลดระดับน้ำตำลในเลือดและใช้ชีวิตได้ตำมปกติ ทำให้แบนติงได้รับรำงวัลโนเบลในปี พ.ศ. 2466 ฮอร์โมนจากตับอ่อน เซลล์บีตา (β-cell) อยู่บริเวณส่วนกลำงของไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮำนส์ สร้ำงอินซูลิน (insulin) ทำหน้ำที่ลดระดับน้ำตำลในเลือด เซลล์แอลฟา (α-cell) อยู่บริเวณรอบๆ ไอซ์เลตออฟแลงเกอร์ฮำนส์ สร้ำงกลู คากอน (glucagon) ทำหน้ำที่เ พิ่มระดับ น้ำตำลในเลือด เซลล์เดลตา ( - cell) พบเพียงร้อยละ 5 ของเซลล์ทั้งหมด สร้างโซมาโทสแททิน (somstostatin) มีผลยับยั้ง การหลั่งอินซูลิน กลูคากอน และฮอร์โมนบางชนิดใน ระบบทางเดินอาหาร การทางานของอินซูลินและกลูคากอน อินซูลิน กระตุ้นการสะสมกลูโคส ตับอ่อน ตับ ไกลโคเจน กลูโคส ระดับนาตาล เซลล์กล้ามเนือ ในเลือดสูง ระดับนาตาล ในเลือดต่า ตับ ไกลโคเจน กลูโคส ตับอ่อน กลูคากอน โรคเบาหวาน (diabetes mellitus) ความผิดปกติของอินซูลิน เลือดมีระดับน้ำตำลสูง เนื่องจำกเซลล์ไม่สำมำรถนำน้ำตำลไปใช้ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ตับมีประสิทธิภำพกำรเก็บสะสมกลูโคสในรูปไกลโคเจนลดลง ทำให้หลังรับประทำนอำหำรมีปริมำณน้ำตำลในเลือดสูง ร่ำงกำยต้องใช้โปรตีนและลิพิดมำสลำยเป็นพลังงำนแทน ทำให้เลือดมีควำมเป็นกรดสูง โรคเบาหวานชนิดที่ 1 โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (Immune-mediated diabetes mellitus) (Non-insulin dependent diabetes mellitus) เกิดจำกตับอ่อนไม่สำมำรถสร้ำงฮอร์โมนอินซูลินได้ เกิดจากตับสร้างอินซูลินได้ แต่ตัวรับสัญญาณของอินซูลินผิดปกติ พบเพียงร้อยละ 10 ของผู้ป่วยทั้งหมด พบประมาณร้อยละ 90 ของผู้ป่วยทั้งหมด ผู้ป่วยต้องฉีดอินซูลินเข้ำร่ำงกำยเป็นประจำทุกวัน ผู้ป่วยต้องรับยาเพิ่มการตอบสนองของอินซูลิน ต่อมหมวกไต (adrenal gland) อยู่เหนือไตทั้งสองข้าง แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ต่อมหมวกไตส่วนนอก (adrenal cortex) และต่อมหมวกไตส่วนใน (adrenal medulla) ต่อมหมวกไต ต่อมหมวกไต ส่วนนอก ไต ต่อมหมวกไต ส่วนใน ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก สร้างฮอร์โมนมากกว่า 50 ชนิด แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม 1 กลูโคคอร์ติคอยด์ (glucocorticoids) ควบคุมเมแทบอลิซึม ของคาร์โบไฮเดรต เช่น คอร์ติซอล (cortisol) เพิ่มระดับน้ำตำลในเลือดโดยสลำย ไกลโคเจนที่ตับให้เป็นกลูโคส และกระตุ้นกำรสลำยโปรตีน และไขมันให้เป็นกรดอะมิโนและกรดไขมัน 2 มิเนราโลคอร์ติคอยด์ (mineralocorticoids) ควบคุมสมดุล ของน้้าและแร่ธาตุในร่างกาย เช่น แอลโดสเตอโรน (aldosterone) ควบคุมกำรดูดน้ำและ โซเดียมกลับจำกท่อหน่วยไต และขับโพแทสเซียมออกจำก ท่อหน่วยไตให้สมดุลกับควำมต้องกำรของร่ำงกำย 3 ฮอร์โมนเพศ (sex hormone) สร้างปริมาณเพียงเล็กน้อย แต่หากสร้างผิดปกติส่งผลให้เกิดความผิดปกติต่อร่างกาย เช่น เจริญเติบโตเข้าสู่วัยหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ อวัยวะเพศเพิ่มขนาดขึ้น มีขนตามร่างกายมากกว่าปกติ ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนใน 1 อะดรีนาลีน (adrenalin) หรือเอพิเนฟริน (epinephrine) ทำให้ระดับน้ำตำลในระบบหมุนเวียนเลือดเพิ่มขึ้น กระตุ้นกำรเต้นของหัวใจ ควำมดันเลือดสูง ทำให้หลอดเลือด อำร์เตอรีขยำยตัว มีผลต่อกำรเปลี่ยนไกลโคเจนในตับเป็นกลูโคส ทำให้สร้ำงพลังงำน ได้มำกกว่ำปกติ 2 นอร์อะดรีนาลีน (noradrenalin) หรือนอร์เอพิเนฟริน (norepinephrine) มีผลเช่นเดียวกับอะดรีนาลิน แต่ออกฤทธิ์ได้น้อยกว่า รก ไทมัส ไทมัส รก อวัยวะที่สร้างขึ้นในช่วงตั้งครรภ์ อยู่บริเวณทรวงอกใต้กระดูกอก แบ่งเป็น 2 พู สร้างฮิวแมนคอริโอนิกโกนาโดโทรปิน เจริญเต็มที่ตั้งแต่เป็นทารกในครรภ์ เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นจะค่อยๆ (human chorionic gonadotropin; HCG) เล็กลง จนฝ่อไปเมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ และกลายเป็นผังพืด กระตุ้ น คอร์ ปั ส ลู เ ที ย มในรั ง ไข่ ใ ห้ เ จริ ญ ต่ อ และ เมื่อเข้าสู่วัยชรา สร้างโพรเจสเทอโรนเพิ่มขึ้น สร้างไทโมซิน (thymosin) กระตุ้นเนื้อเยื่อของไทมัส ให้สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์ที กระเพาะอาหารและลาไส้เล็ก เป็นต่อมมีท่อสร้างเอนไซม์ช่วยย่อยอาหารและเป็นต่อมไร้ท่อสร้างฮอร์โมน แกสตริน (gastrin) สร้างจากเซลล์ต่อมในกระเพาะอาหาร ทำหน้ำที่กระตุ้นกำรหลั่งกรดไฮโดรคลอริกและ เอนไซม์ในระบบย่อยอหำร ซีครีทินและ ซีครีทิน (secretin) คอลีซิสโตไคนิน แกสตริน สร้ำงจำกเซลล์บุผิวผนังลำไส้เล็กส่วนต้น ทำหน้ำที่กระตุ้นตับอ่อนให้หลั่งโซเดียมไฮโดรเจนคำร์บอเนต เพื่อลดควำมเป็นกรดของอำหำรที่ผ่ำนเข้ำสู่สำไส้เล็ก คอลีซิสโตไคนิน และยับยั้งกำรหลั่งแกสตรินของกระเพำะอำหำร ซีครีทิน คอลีซิสโตไคนิน (cholecystokinin) กระตุ้น สร้ำงจำกเซลล์บุผิวผนังลำไส้เล็กส่วนต้น ยับยัง ทำหน้ำที่กระตุ้นกำรบีบตัวของถุงน้ำดีและตับอ่อนให้หลั่ง คอลีซิสโตไคนิน เอนไซม์ และยับยั้งกำรหลั่งแกสตรินของกระเพำะอำหำร การรักษาดุลยภาพของร่างกาย ด้วยฮอร์โมน ร่างกายรักษาดุลยภาพ ของการหลั่งฮอร์โมนได้อย่างไร ? การควบคุมแบบป้อนกลับ (feedback control) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท การควบคุมแบบป้อนกลับยับยัง (negative feedback control) การควบคุมการหลั่งฮอร์โมน โดยมีผลยับยั้งการท้างานของต่อมไร้ท่อ เช่น การหลั่งพาราไทรอยด์ฮอร์โมน กระตุ้น ระดับ Ca2+ ในเลือดต่า ต่อมพาราไทรอยด์ หลั่ง ยับยัง พาราไทรอยด์ฮอร์โมน กระตุ้น กระดูกปล่อย Ca2+ ออกมา ระดับ Ca2+ ในเลือดปกติ การควบคุมแบบป้อนกลับ (feedback control) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท การควบคุมแบบป้อนกลับกระตุ้น (positive feedback control) กำรควบคุมกำรหลั่งฮอร์โมน โดยมีผลกระตุ้นกำรทำงำนของต่อมไร้ท่อ เช่น การหลั่งออกซิโทซิน ต่อมใต้สมองส่วนหลัง กระตุ้นการหลั่งออกซิโทซิน จากต่อมใต้สมองส่วนหลัง ออกซิโทซินกระตุ้นการบีบตัว ของกล้ามเนือมดลูกให้ดัน ทารกออกมา ยิ่งปากมดลูกเปิดกว้างขึนจะกระตุ้น การหลั่งออกซิโทซินมากขึน มดลูก ปากมดลูก ฟีโรโมน ฟีโรโมนมีความสาคัญต่อสัตว์อย่างไร ?? ฟีโรโมน สารเคมีที่ผลิตจากต่อมมีท่อของสัตว์ ไม่ส่งผลต่อตัวสัตว์เอง แต่ส่งผลต่อสัตว์ตัวอื่นในสปีชีส์เดียวกัน จัดเป็นการสื่อสารด้วยสารเคมี (chemical communication) ฟีโรโมนบอกอาณาเขตในสุนัข ฟีโรโมนนาทางในมด ความแตกต่างของฮอร์โมนกับฟีโรโมน ข้อเปรียบเทียบ ฮอร์โมน ฟีโรโมน ประเภทของสารเคมี กลุ่มโปรตีน เอมีน และสเตอรอยด์ กลุ่มลิพิดที่มีโมเลกุลสัน แหล่งผลิต ต่อมไร้ท่อ ต่อมมีท่อ การหลั่ง หลั่งและหมุนเวียนภายในร่างกาย หลั่งออกสู่นอกร่างกาย ไม่ส่งผลต่อตัวสัตว์เอง การแสดงผล ส่งผลต่อตัวสัตว์เอง แต่ส่งผลต่อสัตว์ตัวอื่นในสปีชีส์เดียวกัน สรุป ระบบต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ หลอดเลือด ท้าหน้าที่สร้างฮอร์โมนและล้าเลียงผ่านระบบหมุนเวียนเลือด ไปยังอวัยวะเป้าหมาย เพื่อควบคุมการท้างานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายให้อยู่ในภาวะสมดุล ต่อมไร้ท่อ เซลล์เป้าหมาย โมเลกุลฮอร์โมน สรุป ระบบต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สาคัญ แหล่งสร้าง ฮอร์โมน อวัยวะเป้าหมาย หน้าที่ เมลาโทนิน ไฮโพทาลามัส ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ไม่ให้เจริญเติบโต ต่อมไพเนียล เร็วเกินช่วงวัย ต่อมใต้สมอง โกรทฮอร์โมน กระดูก กล้ามเนื้อ กระตุ้นการเจริญของกระดูก ส่วนหน้า ควบคุมเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรตและลิพิด โกนาโดโทรปิน - ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน - เพศหญิง คือ รังไข่ - กระตุ้นการเจริญของเซลล์ฟอลลิเคิลให้สร้างอีสโทรเจน - เพศชาย คือ หลอดสร้างสเปิร์ม - กระตุ้นการสร้างสเปิร์ม - ลูทิไนซิงฮอร์โมน - เพศหญิง คือ รังไข่ - กระตุ้นการตกไข่และการเจริญของคอร์ปัสลูเทียม ให้สร้างอีสโทรเจนและโพรเจสเทอโรน - เพศชาย คือ เซลล์เลย์ดิก - กระตุ้นการสร้างเทสโทสเทอโรน สรุป ระบบต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สาคัญ (ต่อ) แหล่งสร้าง ฮอร์โมน อวัยวะเป้าหมาย หน้าที่ ต่อมใต้สมอง โพรแลกทิน ต่อมน้้านม กระตุ้นการสร้างน้้านม ส่วนหน้า อะดรีโนคอร์ติโคโทรปิน ต่อมหมวกไตส่วนนอก กระตุ้นการสร้างฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก ไทรอยด์สติมิวเลติงฮอร์โมน ต่อมไทรอยด์ ควบคุมต่อมไทรอยด์ให้หลั่งฮอร์โมนอย่างปกติ เอนดอร์ฟิน เซลล์ประสาท เป็นสารสื่อประสาทและช่วยระงับความเจ็บปวด ต่อมใต้สมอง ฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก ท่อขดส่วนปลายของท่อหน่วยไต กระตุ้นการดูดน้้ากลับที่ท่อขดส่วนปลายของท่อหน่วยไต และหลอดเลือดอาร์เตอรี กระตุ้นการหดตัวของหลอดเลือดอาร์เตอรี ส่วนหลัง ออกซิโทซิน มดลูกและต่อมน้้านม กระตุ้นการบีบตัวของมดลูกและต่อมน้้านม ต่อมไทรอยด์ ไทรอกซิน ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ควบคุมเมแทบอลิซึมของร่างกาย สรุป ระบบต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สาคัญ (ต่อ) แหล่งสร้าง ฮอร์โมน อวัยวะเป้าหมาย หน้าที่ ต่อมไทรอยด์ แคลซิโทนิน ไต ล้าไส้เล็ก กระดูก ฟัน ลดระดับแคลเซียมในเลือดโดยเก็บที่กระดูกและฟัน ยับยั้งการดูดแคลเซียมกลับจากท่อหน่วยไต ยับยั้งการดูดซึมแคลเซียมที่ล้าไส้เล็ก ต่อมพารา พาราไทรอยด์ฮอร์โมน ไต ล้าไส้เล็ก กระดูก ฟัน เพิ่มระดับแคลเซียมในเลือดโดยสลายแคลเซียมที่กระดูก ไทรอยด์ กระตุ้นการดูดแคลเซียมกลับที่ท่อหน่วยไต กระตุ้นการดูดซึมแคลเซียมที่ล้าไส้เล็ก ไอส์เลตออฟ อินซูลิน ตับ กล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อไขมัน ลดระดับน้้าตาลในเลือดโดยเก็บไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อในรูป แลงเกอร์ฮานส์ ไกลโคเจน และกระตุ้นการเก็บไขมันที่เนื้อเยื่อไขมัน ของตับอ่อน กลูคากอน ตับ กล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อไขมัน เพิ่มระดับน้้าตาลในเลือดโดยสลายไกลโคเจนจากตับ และกล้ามเนื้อ และเพิ่มการเคลื่อนย้ายลิพิด สรุป ระบบต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สาคัญ (ต่อ) แหล่งสร้าง ฮอร์โมน อวัยวะเป้าหมาย หน้าที่ ต่อมหมวกไต กลูโคคอร์ติคอยด์ ส่วนนอก - คอร์ติซอล ส่วนต่างๆ ของร่างกาย เพิ่มระดับน้้าตาลในเลือด โดยสลายจากโปรตีนและลิพิด มิเนราโลคอร์ติคอยด์ - แอลโดสเตอโรน ท่อหน่วยไต ควบคุมการดูดน้้าและโซเดียมกลับที่ท่อหน่วยไต ฮอร์โมนเพศ ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายและระบบสืบพันธุ์ ต่อมหมวกไต อะดรีนาลีน กล้ามเนื้อโครงร่าง เพิ่มน้้าตาลในเลือด กระตุ้นให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น ส่วนใน นอร์อะดรีนาลีน กล้ามเนื้อหัวใจ หลอดเลือด ความดันเลือดสูงขึ้น และกระตุ้นการสลายลิพิด สรุป ระบบต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สาคัญ (ต่อ) แหล่งสร้าง ฮอร์โมน อวัยวะเป้าหมาย หน้าที่ อัณฑะ เทสโทสเทอโรน ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ควบคุมการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศชาย และระบบสืบพันธุ์ และการเกิดลักษณะขั้นที่สองของเพศชาย รังไข่ อีสโทรเจน ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของรังไข่และเยื่อบุผนังชั้นในของมดลูก และมดลูก และการเกิดลักษณะขั้นที่สองของเพศหญิง โพรเจสเทอโรน มดลูก ช่วยในการเจริญเติบโตของเยื่อบุชั้นในของผนังมดลูก เพื่อรองรับการฝังตัวของเอ็มบริโอ รก ฮิวแมนคอริโอนิกโกนาโดโทรปิน รังไข่ กระตุ้นการเจริญของคอร์ปัสลูเทียมในรังไข่ และสร้างโพรเจสเทอโรนเพิ่มขึ้น สรุป ระบบต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สาคัญ (ต่อ) แหล่งสร้าง ฮอร์โมน อวัยวะเป้าหมาย หน้าที่ ไทมัส ไทโมซิน ระบบภูมิคุ้มกัน กระตุ้นไทมัสให้สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์ที กระเพาะ แกสตริน กระเพาะอาหาร กระตุ้นการหลั่งเอนไซม์และกรดไฮโดรคลอริก อาหาร ลาไส้เล็ก ซีครีทิน ตับอ่อน กระเพาะอาหาร กระตุ้นการหลั่งโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตของตับอ่อน และยับยั้งการหลั่งแกสตรินของกระเพาะอาหาร คอลีซิสโตไคนิน ตับอ่อน ถุงน้้าดี กระเพาะอาหาร กระตุ้นการบีบตัวของถุงน้้าดีและตับอ่อนให้หลั่งเอนไซม์ และยับยั้งการหลั่งแกสตรินของกระเพาะอาหาร สรุป ระบบต่อมไร้ท่อ การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน ควบคุมโดยการควบคุมแบบป้อนกลับ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท การป้อนกลับยับยัง มีผลยับยั้งการท้างานของต่อมไร้ท่อ การป้อนกลับกระตุ้น มีผลกระตุ้นการท้างานของต่อมไร้ท่อ เช่น การหลั่งพาราไทรอยด์ฮอร์โมนของต่อมพาราไทรอยด์ เช่น การหลั่งออกซิโทซินของต่อมใต้สมองส่วนหลัง ระดับ Ca2+ กระตุ้นการหลั่งออกซิโทซิน ออกซิโทซินจะกระตุ้นการบีบ ต่อมพาราไทรอยด์ ในเลือดต่า จากต่อมใต้สมองส่วนหลัง ตัวของกล้ามเนือมดลูกให้ดัน หลั่ง ยับยัง ทารกออกมา พาราไทรอยด์ฮอร์โมน กระตุ้น ยิ่งปากมดลูกเปิดกว้างขึนจะ กระดูกปล่อย Ca2+ ออกมา ระดับ Ca2+ กระตุ้นการหลั่งออกซิโทซิน ในเลือดปกติ มากขึน ฟีโรโมน สารเคมีที่ผลิตจากต่อมมีท่อของสัตว์ ไม่ส่งผลต่อตัวสัตว์เอง แต่ส่งผลต่อสัตว์ตัวอื่นในสปีชีส์เดียวกัน เป็นการสื่อสารด้วยสารเคมี

Use Quizgecko on...
Browser
Browser