ระบบสุขภาพ และนโยบายสุขภาพ หลักสูตรเวชตา_2567 PDF
Document Details
Uploaded by NiftyNeon
Thammasat University
2022
ผศ.ดร. จีราภรณ์ กรรมบุตร
Tags
Summary
เอกสารนี้กล่าวถึงแนวคิด สุขภาพและระบบสุขภาพ, นโยบายสุขภาพและยุทธศาสตร์สาธารณสุข, ระบบสุขภาพยุคใหม่, แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) และการปฏิรูปบริการสุขภาพตามแนวคิดการพัฒนาเขตสุขภาพ.
Full Transcript
ผศ.ดร. จีราภรณ์ กรรมบุตร หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลเวชปฏิบตั ทิ างตา (หลักสูตรปรับปรุงปี ๒๕๖๕) ระบบสุ ข ภาพ และนโยบายสุ ข ภาพ ตา...
ผศ.ดร. จีราภรณ์ กรรมบุตร หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลเวชปฏิบตั ทิ างตา (หลักสูตรปรับปรุงปี ๒๕๖๕) ระบบสุ ข ภาพ และนโยบายสุ ข ภาพ ตา NS 500 Gen 22 เนื้ อหา 1. แนวคิ ดสุขภาพและระบบสุขภาพ 2. นโยบายสุขภาพและยุทธศาสตร์สาธารณสุข 3. ระบบสุขภาพยุคใหม่ 4. แผนพัฒนาระบบบริ การสุขภาพ (Service Plan) 5. การปฏิ รปู บริ การสุขภาพตามแนวคิ ดการพัฒนาเขตสุขภาพ (Service Plan: Thai Nation Plan) สุขภาพ (HEALTH) สุขภาพ (HEALTH) สุขภาพ : ภาวะที่มีความสมบูรณ์ของกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ ไม่ใช่เพียงแต่ปราศจากโรค “ A state of complete physical, mental, spiritual and social well-being and not merely the absence of disease or infirmity.” สุขภาพ : ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้งั ทางกาย ทางจิต ทางปั ญญาและทางสังคมเชื่อมโยงกัน เป็ นองค์รวมอย่างสมดุล (ม.3 - พรบ.สุขภาพแห่งชาติ 2550) สุขภาวะ: ภาวะที่เป็ นสุข ภาวะที่มีความสมบูรณ์ของกาย จิตใจ และสังคม มีลกั ษณะเป็ น พลวัตร คือ ไม่ได้อยูน่ ิ่ง แต่เปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไขปั จจัยชีวิต สุขภาพมิได้ หมายถึงเฉพาะความไม่พิการและความไม่มีโรคเท่านั้น สุขภาพ คือ สุขภาวะที่สมบูรณ์และเชื่อมโยงกันเป็ นองค์รวมอย่างสมดุลทั้งมิตทิ างกาย ทางจิต ทางสังคม และ ทางปั ญญา ทางกาย ทางใจ physical mental ร่างกายแข็งแรง เข้าถึงบริการ จิตใจดี มีความสุข ทางปั ญญา ทางสังคม intellectual social เสมอภาค เป็ นธรรม HEALTH มีสติและปั ญญา สันติวิธี ฉลาด รู้เท่าทัน healthy relationship ทางจิตวิญญาณ spiritual 6 HEALTH HEALTH สุขภาพแบบองค์รวม สุขภาพองค์รวม (Holistic health) หมายถึง ความ สมดุลของทัง้ ทางร่างกาย จิตใจสังคมและจิตวิญญาณ ไม่ใช่แต่เพียงไม่เจ็บป่ วยหรือไม่มโี รคหากยัง ครอบคลุมถึงการดาเนินชีวติ ที่ ยืนยาวและมีความสุข ของทุกคนร่วมด้วย ระบบสุ ข ภาพ (HEALTH SYSTEM) ระบบสุขภาพ (HEALTH SYSTEM) ระบบสุขภาพ หมายถึง ระบบความสัมพันธ์ท้งั มวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ โดยมี ขอบเขตและความหมายที่กว้างขวางเกี่ยวข้องกับเหตุ และปั จจัยต่างๆ ที่มีผลเกี่ยวข้อง กระทบกับสุขภาพมากมายหลายด้าน ทั้งปั จจัยด้านบุคคล ปั จจัยด้านสภาพแวดล้อม และ ปั จจัยด้านระบบบริการสุขภาพ ระบบสุขภาพเป็ นระบบที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาพ ความเชื่อมโยงและพลวัตรเกี่ยวกับระบบสุขภาพ ระบบสุขภาพ (HEALTH SYSTEM) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของระบบสุขภาพ ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ควรมีพื้นฐาน ความคิดของการเคารพในสิทธิพลเมือง โดยมี แนวคิดสาคัญในการจัดบริการสุขภาพให้แก่ ประชาชนที่ตอ้ งมิใช่การสงเคราะห์ แต่เป็ นสิทธิข้นั พื้ นฐานที่รฐั มีหน้าที่จดั ให้มีการบริการ สุขภาพที่จาเป็ นอย่างครบถ้วน ทัว่ ถึง เป็ นธรรม ได้มาตรฐาน มีคุณภาพเป็ นที่ พึงพอใจ โดยเคารพในศักดิ์ศรีความเป็ นมนุ ษย์ของบุคคล รวมทั้งให้ความสาคัญกับการดูแลข้อมูล ด้านสุขภาพของบุคคลให้เป็ นความลับส่วนบุคคล และมีการกาหนดอานาจหน้าที่ ความ รับผิดชอบของแต่ละฝ่ ายไว้อย่างชัดเจน ระบบสุขภาพ (HEALTH SYSTEM) เป้ าหมายของระบบสุขภาพ คือ ผลลัพธ์ที่มุง่ หวังต้องการ ให้บรรลุ จากการพัฒนาระบบสุขภาพ ซึ่งเกิดขึ้ นจากการ จัดวางโครงสร้างและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ ระบบ ย่อยต่างๆ รวมทั้งการจัดการปั จจัยที่มีผลต่อสุขภาพให้มี ความถูกต้องเหมาะสม มีความสมบูรณ์ ครอบคลุม ครบถ้วน โดยมีนโยบายสาธารณะ ด้านสุขภาพและนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ซึ่งมีกระบวนการกาหนดและผลักดันนโยบายแบบมี ส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพอย่างกว้างขวาง มีการส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชน และภาคี เครือข่ายสุขภาพเข้ามามีส่วนร่วม ปรัชญาพื้นฐานในกระบวนทัศน์ใหม่ของระบบสุขภาพ แนวคิดหลักของกระบวนทัศน์ใหม่ของระบบสุขภาพ กาหนดปรัชญาพื้ นฐานภายใต้ พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ 8 ประการ 1. ความเป็ นองค์รวม : มุง่ สร้างระบบบริการที่ดูแลเป็ นองค์รวม กาย จิตใจ สังคม และ จิต วิญญาณ 2. การมีสว่ นร่วม : เน้นให้ทุกภาคส่วนในสังคมมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสุขภาพ 3. นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : เน้นกาหนดนโยบายเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 4. ความเสมอภาค : เสมอภาคในระดับของสุขภาพ การเข้าถึง และภาระค่าใช้จา่ ย 5. ประสิทธิภาพ: เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ซึ่งก่อให้เกิดผลลัพธ์ทางสุขภาพสูงสุด 6. คุณภาพ: มุง่ พัฒนามาตรฐานการบริการ 7. พัฒนาศักยภาพผูบ้ ริโภค: พัฒนาให้ผูบ้ ริโภคมีความเข้มแข็ง เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ได้อย่าง ถูกต้อง 8. การพึ่งตนเอง: พัฒนาการดูแลสุขภาพของตนเองของประชาชน 17 การปฏิรูป ▪เป็ นระบบที่มีรากฐานที่เข้มแข็งจากการมีความพอเพียง ระบบบริการสุขภาพ ทางสุขภาพในระดับครอบครัวและชุมชน ของประเทศ ▪เป็ นระบบที่มีความรอบคอบและมีเหตุผล ในด้านการ ใช้จา่ ยเพื่อสุขภาพในทุกระดับ ▪เป็ นระบบที่มีการใช้เทคโนโลยีทางสุขภาพที่เหมาะสม - การเข้าถึงบริการ อย่างรูเ้ ท่าทัน โดยเน้นการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ - ความครอบคลุมของ ▪เป็ นระบบที่มีการบูรณาการด้านการส่งเสริมสุขภาพ การบริการ และการป้ องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้ นฟู - คุณภาพบริการ สุขภาพ และการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค - ความปลอดภัย ▪เป็ นระบบที่ให้หลักประกันและคุม้ ครองสุขภาพของ ประชาชน ▪เป็ นระบบที่มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อตรง การปฏิรูประบบสุขภาพ (HEALTH SYSTEM REFORM) ปั จจุบนั การดูแลสุขภาพของบุคคลควรต้องมีการดูแลสุขภาพให้ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน คือ สุขภาพทาง กาย สุขภาพทางใจ สุขภาพทางสังคม และสุขภาพทางจิตวิญญาณ โดยการป้ องกันโรค ส่งเสริม สุขภาพ รักษาพยาบาล และฟื้ นฟูสุขภาพแล้ว โดยในโลกปั จจุบนั ประเทศต่าง ๆ ได้มีการปรับและหารูปแบบ ระบบบริการสุขภาพที่ดี เหมาะสม และมีประสิทธิภาพสาหรับประชาชนของประเทศ ในระดับระหว่างประเทศ องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้กาหนด กรอบแนวคิดระบบสุขภาพ (Health Systems Framework) ซึ่งมีองค์ประกอบที่ พึงประสงค์หลัก 6 ส่วน ได้แก่ 1. ระบบบริการ (Service Delivery) 2. กำลังคนด้ำนสุขภำพ (Health Workforce) 3. ระบบสำรสนเทศด้ำนสุขภำพ (Health Information systems) 4. เทคโนโลยีทำงกำรแพทย์ (Access to Essential medicine) 5. ค่ำใช้จำ่ ยด้ำนสุขภำพ (Financing) 6. ภำวะผูน้ ำและธรรมำภิบำล (Leadership Governance) องค์ประกอบหลักของระบบสุขภาพ 1. ระบบบริการ งานให้บริการสุขภาพเป็ นงานสาคัญที่สุดในระบบสุขภาพ ถือเป็ น ปั จจัยพื้ นฐานที่นาไปสู่สุขภาวะของประชาชน ซึ่งอาจมีรูปแบบที่มีความแตกต่างกัน องค์ประกอบหลักๆที่สาคัญ ได้แก่ การมีเครือข่ายที่ให้บริการครอบคลุม รวมถึง งานป้ องกัน งานรักษา งานฟื้ นฟูสภาพ และงานสร้างเสริมสุขภาพ ซึ่งลักษณะที่สาคัญของระบบบริการที่พึงประสงค์ใ นระบบสุขภาพ ได้แก่ เข้าถึงได้ง่าย (access) พร้อมหรือเอื้ อต่อการมีสุขภาพดี (availability) มีจานวนของบริการในการใช้ประโยชน์จานวนมาก หลากหลาย (utilization) มีคุณภาพ (Quality) มีความปลอดภัย(Safety) ครอบคลุมเท่าเทียม (coverage) ยึดผูร้ บั บริการเป็ น ศูนย์กลาง (Person-centredness) และต่อเนื่ อง continuity 2. กาลังคนด้านสุขภาพต้องอาศัยบุคลากรที่มีความรู้ ทักษะ แรงจูงใจและรับผิดชอบงานให้บริการสุขภาพ นอกจากนั้น จานวนของบุคลากรที่เหมาะสม ซึ่ง Health Workforce หมายถึงทุกคนที่มีส่วนในระบบบริกรสุขภาพทั้ง ในระบบราชการ และเอกชน WHO (2010) องค์ประกอบหลักของระบบสุขภาพ 3. ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อถือได้จะถูกนาไปใช้ เป็ นฐานในการตัดสินใจ 4. การเข้าถึงยาและเวชภัณฑ์ที่จาเป็ นมีกลไกในระบบสุขภาพที่เอื้ อให้ ประชาชน เข้าถึงยา วัคซีน และเทคโนโลยีที่จาเป็ น ซึ่งต้องมีคุณภาพและความ คุม้ ค่ากับราคาซึ่งต้องการมีส่วนร่วมกับนโยบายสุขภาพแห่งชาติ มาตรฐาน และ แนวปฏิบตั ิที่เป็ นมาตรฐาน ความร่วมมือในการกาหนดราคากลางของยา เทคโนโลยี และเวชภัณฑ์ ที่เป็ นมาตรฐาน แนวทางการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ของในองค์ประกอบนี้ จะมีการควบคุมกากับเกี่ยวกับการสมเหตุสมผลของการใช้ยา เทคโนโลยี และเวชภัณฑ์ คุม้ ค่ากับราคา ผ่านองค์ประกอบระบบบริการ (Service Delivery) ภาวะผูน้ าและธรรมาภิบาล (Leadership Governance) WHO (2010) องค์ประกอบหลักของระบบสุขภาพ 5. กลไกการคลังด้านสุขภาพ ไม่เพียงแต่กองทุนเท่านั้น แต่ยงั รวมถึงการจัดสรร งบประมาณ 6. ภาวะผูน้ าและธรรมาภิบาล เกี่ยวข้องกับการกาหนดกลยุทธ์เชิงนโยบาย กฎหมาย พระราชบัญญัติต่างๆที่เกี่ยวกับระบบบริการสุขภาพและระบบสุขภาพของ ประเทศ รวมถึงรับผิดชอบในผลที่จะเกิดขึ้ นระบบสุขภาพ การบริหารจัดการในผูม้ ีส่วน ได้ส่วนเสียของระบบบริการทั้งหลายในระบบในสุขภาพของประเทศ ได้แก่ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน โดยความรับผิดชอบนี้ ได้แก่ การเงินการคลัง การสนับสนุ นและควบคุมกากับติดตามผลการจัดบริการสุขภาพ และ การจัดบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพที่ตรงกับความจาเป็ นและความต้องการของ ประชาชนและผูร้ บั บริการเป็ นต้น WHO (2010) กลไกการดาเนิ นงานตามองค์ประกอบหลักของ ระบบสุขภาพ ในประเทศไทยนั้น กระทรวงสาธารณสุข ได้ปรับบทบาทโดยผ่าน กลไก 3 ประการที่สาคัญคือ 1. ปรับปรุงบทบาทการนาด้านสุขภาพที่เป็ นหลักของประเทศ โดย คณะกรรมการระบบบริการสุขภาพแห่งชาติ (National Health Delivery Board ) 2. การจัดหน่ วยงานรองรับระบบสุขภาพผ่าน 6 กลไก โดยการปรับ บทบาทหน้าที่หน่ วยงาน กรม และหน่ วยงานในระบบสุขภาพ (Regulated Reorganization) โดยสานักบริหารจัดการยุทธศาสตร์ (Office of Strategy) 3. การจัดหน่ วยบริการให้มีศกั ยภาพดูแลสุขภาพเบ็ดเสร็จ (Complete Care Service) ผ่านพวงเครือข่ายบริการสุขภาพเบ็ดเสร็จไร้รอยต่อ ภายใต้การ บริหารของคณะกรรมการพื้ นที่สุขภาพ และสานักงานสาธารณสุขเขต ระบบสุขภาพยุคใหม่ ระบบบริการที่พึงประสงค์ในระบบสุขภาพ มีลกั ษณะที่สาคัญของได้แก่ เข้าถึงได้ง่าย (access) พร้อมหรือเอื้อต่อการมีสุขภาพดี (availability) มี จานวนของบริการในการใช้ประโยชน์จานวนมากหลากหลาย (utilization) มี คุณภาพ (Quality) มีความปลอดภัย(Safety) ครอบคลุมเท่าเทียม (coverage) ยึดผูร้ บั บริการเป็ นศูนย์กลาง (Person-centredness) และ ต่อเนื่อง continuity © 2010 WHO ในระบบสุขภาพที่ดี ควรให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม และผูกพันกับการจัดการใน ระบบสุขภาพที่มี พบว่าหากระบบสุขภาพใดที่ประชาชนเข้ามีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วน ร่วมสร้างในการดาเนินการในระบบบริการสุขภาพ พบว่า จะได้ผลลัพธ์ที่ดีเสมอ However, knowledge and thinking about “patient engagement” in health care has greatly evolved. People who are actively involved in their own health care tend to have demonstrably better outcome. © 2013 WHO HEALTH CARE 20 YEARS TRANSITION ▪ Chronic preventive and management ▪ Price Competitive ▪ Consumer responsive ▪ Ambulatory-Home and Community ▪ Team ▪ Ambulatory-Home and Community ▪ Evidence based practice ▪ Information as tool ▪ Consumer engagement and accountability ระบบสุขภำพยุคใหม่ Transformed Health Care System ▪ Population Health: Aging demographics and increased longevity Complex older adults and their family caregivers Need = Long-term care, Ambulatory-home and community, Teamwork and collaboration, ▪ Consumer responsive: Cost and quality Concerns, Consumer engagement and accountability Need = Increase quality of care and lower costs, Patient-certered care planning Fraher, Spetz, & Naylor, 2015 Salmond, & Echevarria, 2017 ระบบสุขภำพยุคใหม่ Transformed Health Care System ▪ Healthcare system infrastructure: Emphasis on specialization and professional: Service delivery, Team-based (Collaborative care), Care Coordination Need = Integration of care across the continuum, ▪ Focus on Outcomes and Improvement Need = Clinical decision making, Evidence based practice, Information as tool, Patient-certered care respect and respond of patient (individual and family) Fraher, Spetz, & Naylor, 2015 Salmond, & Echevarria, 2017 การอภิบาลระบบประกันสุขภาพ ปั ญหาปั จจุบนั คือการบริหารจัดการทีแ่ ยกส่วนกัน การดาเนินการของแต่ละกองทุนอย่างเป็ น เอกเทศ และสิทธิประโยชน์ในการรักษาพยาบาลทีแ่ ตกต่างกัน ระบบประกันสุขภาพของไทยประกอบด้วยสามกองทุนหลัก ได้แก่ กองทุนสวัสดิการ รักษาพยาบาลข้าราชการ กองทุนประกันสังคม และกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทัง้ สาม กองทุนอยูภ่ ายใต้ความรับผิดชอบของหน่วยงานทีต่ ่างกัน กล่าวคือ - กองทุนสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการโดยการบริหารจัดการของกรมบัญชีกลาง ก. การคลัง - กองทุนประกันสังคม อยูภ่ ายใต้การกากับของ สานักงานประกันสังคม (สปส.) และ - กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ อยูภ่ ายใต้ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) การอภิบาลระบบประกันสุขภาพ หัวใจสาคัญของการอภิบาลระบบประกันสุขภาพ กลไกกลางเป็ นองค์กรระดับกลางเป็ น องค์กรทีเ่ มือ่ ทางานกับรัฐ จะทาหน้าทีเ่ หมือนเป็ นตัวแทนของประชาชนในการเจรจาให้ ได้รบั งบประมาณเพือ่ หลักประกันสุขภาพทุกระบบของประเทศ ให้เพียงพอต่อการ ประกันสุขภาพทีเ่ ป็ นธรรม มีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ ในขณะทีภ่ าครัฐมักมี ข้อจากัดทางงบประมาณและต้องการควบคุมค่าใช้จา่ ย เมือ่ กลไกกลางทางานร่วมกับผู้ มีสว่ นได้สว่ นเสีย ((๑)ประชาชนผูร้ บั ประโยชน์ (๒)หน่ วยงานผูใ้ ห้ประกัน และ (๓) หน่ วยงานผูใ้ ห้บริการ) จะคานึงถึงการจัดสรรทรัพยากรทีไ่ ด้มาเพือ่ ให้กระจายไปถึงผู้ มีสว่ นได้สว่ นเสียอย่างเป็ นธรรม มีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพ การอภิบาลระบบประกันสุขภาพ วัตถุประสงค์หลักของการให้มีกลไกกลางสาหรับประเทศไทยคือ การสนับสนุ นให้ระบบ หลักประกันสุขภาพมีการบูรณาการ และสามารถบรรลุเป้ าหมายที่พึงประสงค์ โดยยอมรับถึงความเป็ น กองทุนในรูปแบบปั จจุบนั และการมีหน่ วยบริหารจัดการ 3 หน่ วยเช่นปั จจุบนั กล่าวคือ การมีกลไก กลางไม่จาเป็ นต้องรวมกองทุนประกันสุขภาพ ซึ่งเป้ าหมายที่พึงประสงค์ประกอบด้วย อภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพ นาไปสู่การสร้างความเป็ นธรรมให้แก่ผูม้ ีสิทธิทุกระบบ สร้างความยัง่ ยืนทางการเงินระยะยาว และมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และมีความโปร่งใส เพื่อสร้างเสริมระบบการเงินการคลังสุขภาพที่นาไปสู่การพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข ที่พึงประสงค์ คือ เป็ นระบบที่ส่งเสริมความเป็ นธรรมสาหรับประชาชน (Equity) เป็ นระบบที่มี คุณภาพ มีมาตรฐาน ปลอดภัย เป็ นที่ยอมรับ (Quality) เป็ นระบบที่มีประสิทธิภาพ กระจายการใช้ ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า (Efficiency) เป็ นระบบประกันสุขภาพทุกคน ▪ โดยทุกคนอยูใ่ นระบบประกันขั้นพื้ นฐานเดียวกัน และทุกคนมีส่วนในความรับผิดชอบ รัฐ+ประชาชน+ นายจ้ รัฐ+ประชาชน+ นายจ้ าง าง ระบบบริ ก ารสุ ข ภาพ HEALTH CARE SYSTEM ระบบบริการสุขภาพ H EA LT H CA R E SY ST EM องค์ประกอบส่วนหนึ่ งของระบบสุขภาพ ระบบบริการสุขภาพ ประกอบด้วย กิจกรรมต่างๆ ที่นาไปสู่ การบริการสุขภาพต่างๆ ทัง้ ในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้ องกันโรค การรักษาพยาบาลและ การฟื้ นฟูสขุ ภาพแก่ประชาชนหรือสาธารณะ 39 ระบบบริการสุขภาพ หมายถึงระบบและกลไก ใน การให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนเพื่อดูแล ประชาชนให้ได้รบั บริการในการส่งเสริมสุขภาพ การป้ องกันโรคและความเจ็บป่ วย การรักษาพยาบาล และการฟื้ นฟูสภาพ การบริการสุขภาพควรครอบคลุมอะไรบ้าง 1. การจัดการสิง่ แวดล้อมให้เหมาะสมกับการอยูอ่ าศัย การทางาน 2. การส่งเสริมให้ประชาชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสม 3. การจัดบริการดูแลรักษาเมื่อป่ วยให้ครอบคลุมให้มากที่สุด 4. การจัดการกับพันธุกรรมเพื่อลดความเสีย่ งกับโรคและความเจ็บป่ วย - การให้ความสาคัญกับบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ - รูปแบบการให้บริการในลักษณะสาธารณสุขมูลฐาน - การบริการสุขภาพเพื่อครอบครัว - การบริการผูป้ ่ วยซ้ าซ้อน การเจ็บป่ วยซ้ าซ้อนจากโรคร่วมกันมากกว่า 1 โรคที่เกิดขึ้นต่อบุคคล (simultaneous illness) - ระบบการส่งต่อ - ระบบการให้บริการเฉพาะกลุ่มประชากร 41 ปั จจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบบริการสุขภาพ เศรษฐกิจ ระบบบริการทาง การแพทย์ ระบบบริการ ทางการ ระบบอื่นๆ พยาบาล ระบบบริการสุขภาพ จากนโยบายสูก่ ารปฏิบตั ิ องค์ประกอบหลักของระบบบริการสุขภาพ ทรัพยากรสาธารณสุข โครงสร้างองค์กร การบริหารจัดการ การเงินการคลังสาธารณสุข แบบแผนการให้บริการสุขภาพ 44 ทรัพยากรสาธารณสุข บุคลากรด้านสาธารณสุข -แพทย์ Man Power -พยาบาล -เภสัชกร -นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ -เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ฯ โครงสร้างพื้นฐานด้านบริการสาธารณสุข -จานวนเตียง Health Facility -สถานบริการสาธารณสุข -อาคารสถานที่ตา่ งๆ เครือ่ งมือและวัสดุอุปกรณ์ -อุปกรณ์ที่จาเป็ น Health Equipment & Supplies -เครือ่ งมือทางการแพทย์ -ยา เวชภัณฑ์ฯ 45 โครงสร้างองค์กร การจัดระบบให้บริการสาธารณสุข 3 รูปแบบ ดังนี้ 1. รูปแบบองค์กรเป็ นชั้นๆ ลดหลั ่นกันไป - ระบบการกากับ ตรวจสอบ Hierarchical Bureaucracies และ ประสานงานโดยใกล้ชิด 2. รูปแบบความสัมพันธ์โดยอาศัยกลไกตลาด - ระบบการให้บริการที่เป็ น ไปตามกลไกของตลาด Market based Interaction 3. รูปแบบพันธะสัญญา -ระบบความร่วมมือระหว่างหน่วย งานของรัฐ เอกชนในการให้บริการ Contractual Arrangement ด้านสุขภาพพื้นฐาน 46 การบริหารจัดการ การบริหารจัดการที่ดี : Good Governance ทาให้ระบบบริการสุขภาพบรรลุ -การมีสุขภาพดี -เกิดความเป็ นธรรม เป้ าประสงค์ -เกิดความพึงพอใจ บทบาทของรัฐในการบริหารจัดการบริหารบริการสุขภาพ -กาหนดนโยบายสาธารณสุขและวิสยั ทัศน์ ที่ให้ทกุ ส่วนในระบบ มีความเข้าใจและสร้างเสริมพลังช่วยกันไปในทิศทางเดียวกัน -ควบคุมการปฏิบตั ิ การและออกกฎหมาย ข้อบังคับต่างๆ -การรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการบริหารที่มีคณ ุ ภาพ 47 การเงินการคลังสาธารณสุข: ค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพของประชาชน -งบประมาณแผ่นดิน -นายจ้าง -องค์กรอาสาสมัคร -ชุมชนท้องถิ่น -การช่วยเหลือจากต่างประเทศ -ค่าใช้จ่ายของครัวเรือน - อื่นๆ ▪ ้าประสงค เป ้ของระบบบริการสุขภาพที่ดี คือ ความเป ้นธรรมใน ▪ การร่วมจ่ายค่าบริการสุขภาพ ▪ ค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพ ควรเฉลี่ยไปตามความสามารถของบุคคล ▪ -ระบบประกันสุขภาพที่ครอบคลุมประชากรทุกคน โดยการเฉลี่ยจ่ายล่วงหน้ า (Prepayment System) ตามสัดส่วนรายได้ ถือเป็ นมาตรการสาคัญ “คนดีช่วยคนป่ วย คนรวยช่วยคนจน” 48 แบบแผนการให้บริการสุขภาพ ▪กระทรวงสาธารณสุขมีหน้าที่รบั ผิดชอบดูแลสุขภาพของประชาชนโดยการจัดระบบสุขภาพที่ ครอบคลุม ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้ องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้ นฟูสภาพ มีการ จัดระบบบริการสุขภาพ ออกเป็ นหลายระดับได้แก่ บริการระดับปฐมภูมิ (Primary Care), บริการ ระดับทุตยิ ภูมิ (Secondary Care) และ บริการระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) ▪ การจัดระบบบริการสุขภาพแบบนี้ มุ่งหวังให้บริการแต่ละระดับมีบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกันและ เชื่อมต่อ กันด้วยระบบส่งต่อ(Referral System) เพื่อให้สามารถจัดบริการคุณภาพที่มีคณ ุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้มีการทบทวนแนวทางการพัฒนาหน่วยบริการสุขภาพ ให้มีทิศทางที่ ชัดเจนและเป็ นระบบ โดยการจัดทาแผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) แบบแผนการให้บริการสุขภาพ ▪ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) มี Key Strategic Areas ดังนี้ ๑) การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมืองที่มีประชากรหนาแน่น ให้มีขีดความสามารถระดับ แพทย์เวชปฏิบตั คิ รอบครัวหรือแพทย์เวชปฏิบตั ทิ ั ่วไป เพื่อรองรับการเติบโตของชุมชนเมืองและ ประชากรวัยสูงอายุ ซึ่งจะมีภาระของการดูแลโรคเรื้อรัง โรคที่เกิดจากความเสื่อมของร่างกาย และ สุขภาพจิตที่เพิ่มขึ้นมาก ๒) การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง เพื่อรองรับระบบส่งต่อผูป้ ่ วยที่มีความยุ่งยากซับซ้อน และใช้เทคโนโลยีระดับสูงและราคาแพง ให้กระจายครอบคลุมพื้นที่ท้งั ประเทศอย่างทั ่วถึง ๓) การพัฒนาโรงพยาบาลระดับต่างๆ ให้เป็ นส่วนหนึ่งของระบบเครือข่ายบริการ เพื่อให้ โรงพยาบาลแต่ ละแห่งเติบโตอย่างมีทิศทาง มีภารกิจหน้าที่ชดั เจน มีจงั หวะก้าว และเกื้อหนุนซึ่งกันและกันภายใน เครือข่าย ประเภทของระบบบริการสุ ข ภาพ (TYPE OF HEALTH CARE SYSTEM) มีการวิเคราะห์ระบบบริการสุขภาพพื้นฐานขององค์ประกอบต่างๆ ของระบบ บริการสุขภาพพื้นฐานใน 165 ประเทศทั ่วโลก แบ่งเป็ น 4 ประเภท -ระบบบริการสุขภาพแบบเสรีนิยม:Liberalism Health Care System -ระบบบริการสุขภาพแบบสวัสดิการ: Beneficial Health Care System -ระบบบริการสุขภาพแบบครอบคลุม: Comprehensive Health Care System -ระบบบริการสุขภาพแบบสังคมนิยม: Socialism Health Care System 51 ระบบบริการสุขภาพแบบเสรีนิยม - องค์ประกอบต่างๆ ของระบบบริการสุขภาพ จัดในรูปแบบเอกชนที่แข่งขันภายใต้ตลาดเสรี ระบบบริการสุขภาพแบบสวัสดิการ เป็ นส่วนใหญ่ - รัฐมีส่วนเข้าไปแทรกแซงกลไกตลาดน้ อย -รัฐได้เข้าแทรกแซงกลไกตลาดในการ - ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพส่วนใหญ่มาจากเอกชน จัดบริการสุขภาพหลาย ๆ ทาง อาทิ ด้าน - หน่ วยบริการส่วนใหญ่เป็ นของเอกชน ค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาล - เป็ นความรับผิดชอบของบุคคลที่จะดูแล - บางรัฐได้จดั สร้างและกระจายสถาน ตนเอง-เข้าถึงบริการสุขภาพ บริการขนาดเล็กในเขตชนบท - รัฐเป็ นผูร้ บั จัดบริการพื้นฐาน อาทิ การ USA-Philippines ฉีดวัคซีนป้ องกันโรค การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การให้การ รักษาพยาบาลที่จาเป็ น West Europe (German), Canada, Australia, Japan Latin America, India, Malasia 52 ระบบบริการสุขภาพแบบสังคมนิยม ระบบบริการสุขภาพแบบครอบคลุม - รัฐได้เข้าไปจัดการบริการสุขภาพอย่าง -รัฐได้มีบทบาทในระบบบริการสุขภาพมาก สิ้นเชิง เพื่อให้ประชากรทุกคนได้รบั บริการสุขภาพ - ไม่อนุญาตให้มีกลไกตลาดเอกชนใด ๆ อย่างครอบคลุมทัดเทียมกันภายใต้เงื่อนไข - ใช้วิธีวางแผนจัดการจากส่วนกลาง ระดับเศรษฐกิจของประเทศ - ทรัพยากรสาธารณสุขต่างๆ อยู่ภายใต้ -รัฐให้ความสาคัญต่อการจัดระบบบริการ การควบคุมของรัฐ สุขภาพแก่ประชาชน - ประชาชนทุกคนจะได้รบั บริการจากรัฐ -ประชาชนสามารถรับบริการสุขภาพโดยไม่ ต้องเสียค่าใช้จ่ายด้วยตนเอง โดยรัฐเป็ นผู้ Russia, Cuba จัดสรรภาษี เป็ นค่าใช้จ่ายทัง้ หมด -สถานพยาบาลส่วนใหญ่อยู่ในการควบคุม ของรัฐโดยตรง England, Scandinavia, Italy, Greeze, Spain, Costarica & 53Srilanka ระบบบริการสุขภาพเปรียบเทียบ ระบบบริการสุ ขภาพ ลักษณะ ข้ อดี ข้ อเสี ย เสรีนิยม กลไกตลาดเอกชน รัฐมี บริ การมีคุณภาพสู ง เป็ นไป ประชาชนที่มี ส่ วนน้อย ตามความต้องการของ รายได้นอ้ ยเข้าไม่ ผูร้ ับบริ การ ถึง สวัสดิการ รัฐเข้าแทรกแซงกลไก ประชาชนเข้าถึงบริ การได้ บริ การมีคุณภาพไม่ ตลาดหลายทาง ในระดับหนึ่ง สู ง (ประเทศไทยใช้ระบบนี้) ครอบคลุม รัฐเข้าแทรกแซงกลไก ประชาชนเข้าถึงบริ การ งบประมาณไม่ ตลาดมากกว่าแบบ อย่างครอบคลุมเท่าเทียม เพียงพอ รอรับ สวัสดิการ และไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายเอง บริ การนาน รัฐจัดการให้ท้ งั หมด สั งคมนิยม รัฐเข้าจัดการโดยไม่ใช้ ประชาชนได้รับบริ การเท่า บริ การคุณภาพต่า กลไกตลาดเอกชน เทียมกัน ไม่ตรงตามความ ต้องการ ระบบบริการสุขภาพของไทย (ปัจจุบนั ) - ระบบบริการสุขภาพของไทยปั จจุบนั เป็ นระบบบริการสุขภาพแบบสวัสดิการ - มีโครงสร้างของระบบบริการสาธารณสุขครอบคลุมทุกระดับ (จังหวัด-หมู่บา้ น) - ให้การบริการสาธารณสุขในลักษณะผสมผสาน (Integrated Health Service) - มุ่งเน้นเป้ าหมายในการจัดระบบบริการคุณภาพ - ให้ความสาคัญกับประชาชนจะได้รบั บริการสุขภาพอย่างเสมอภาค Equity) ตามความจาเป็ นด้านสุขภาพอนามัยโดยเสียค่าใช้จา่ ยตามความสามารถที่ช่วยได้ -การบริการของเอกชนจะกระจายไปตามศักยภาพของเศรษฐกิจในพื้นที่ตา่ งๆ 55 การจัด บริ ก ารสุ ขภาพของไทย การจัดบริการสุขภาพของไทย โดยทั ่วไปแบ่งตามระดับการให้บริการ (Level of Care) เช่นเดียวกันทัว่ ประเทศ ดังนี้ 1. การดูแลสุขภาพด้วยตนเองในระดับครอบครัว (Self Care Level) หมายถึง การ พัฒนาศักยภาพให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพด้วยตนเอง รวมถึงการ ตัดสินใจเลือกปฏิบตั ิในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัย 2. การบริการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health of Care Level: PHC) หมายถึง การบริการสาธารณสุขที่ ดาเนิ นการโดยประชาชนด้วยกันเองและ สามารถจะทาได้ในระดับชุมชน เป็ นงานสาธารณสุขแบบผสมผสานทั้งการ ส่งเสริมสุขภาพ การป้ องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้ นฟูซึ่งจะ เหมาะสมและสอดคล้องกับ ขนบธรรมเนี ยมและความต้องการของชุมชน การ บริการสาธารณสุขในระดับนี้ ผูใ้ ห้บริการคือ ประชาชนด้วยกันเองและ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ น (อสม.) หรือ อาสาสมัครประเภทอื่นที่ ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ การจัดบริการสุขภาพของไทย (ต่อ) 3. การจัดบริการสุขภาพระดับต้น (Primary Care Level หรือPrimary Medical Care : PMC) เป็ นการจัดบริการที่ดาเนิ นการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประเภทต่างๆ และ แพทย์ทวั ่ ไป ลักษณะของระบบบริการสุขภาพระดับต้นของไทย นอกจากในระดับสถานี อนามัยและ โรงพยาบาลชุมชน และจะไม่มีลกั ษณะที่ไม่มีพนที ื้ ่รบั ผิดชอบที่ชัดเจน ประกอบด้วยหน่ วยบริการดังนี้ คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล(รพสต) หรือ สถานี อนามัย(สอ.) ซึ่งใกล้ชิดชุมชนมากที่สุด (First Line Health Service) ครอบคลุมประชากร ประมาณ 1,000 – 5,000 ครัวเรือน 4. การจัดบริการสุขภาพในระดับกลาง (Secondary Care Level หรือ Secondary Medical Care : SMC) เป็ นการจัดบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข ที่ ดาเนิ นการโดยแพทย์ที่มีความชานาญสูงปานกลาง 5. การจัดบริการสุขภาพระดับสูง (Tertiary Care หรือTertiary Medical Care : TMC) เป็ นการจัดบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขอื่นๆ ที่ตอ้ งปฏิบตั ิงานโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ พิเศษ ระบบบริการสุ ขภาพระดับปฐมภูมิ เงื่อนไขแห่ งคุณภาพระบบบริการสุ ขภาพระดับปฐมภูมิ รัฐมีนโยบายการจัดบริ การที่ชดั เจน ครอบคลุมตามลักษณะของระบบการดูแลสุ ขภาพ ระดับปฐมภูมิที่พึงประสงค์ และมีการสร้างกลไก การจัดการระบบ การเงิน และการพัฒนาบุคลากร ผูใ้ ห้บริ การในระดับวิชาชีพต้องมีจานวนเพียงพอ ที่สามารถให้บริ การแก่ประชาชนในพื้นที่บริ การที่ กาหนดได้อย่างทัว่ ถึงและครอบคลุมบริ การ สุ ขภาพระดับปฐมภูมิ สัดส่ วนต่อประชากรใน พื้นที่บริ การที่ดีที่สุดคือ 1:3000 ต้องมีกฎหมาย รองรับการปฏิบตั ิงานต้องมีมาตรฐานการ ให้บริ การและมีการควบคุมคุณภาพการให้บริ การ ต้องมีการทางานอย่างเป็ นเครื อข่าย WHO’s Innovative Care for Chronic Conditions Framework “นวัตกรรมระบบการป้องกันและจัดการภาวะ เจ็บป่ วยเรือ้ รัง” ของ WHO (2002) เรียกว่า Innovative Care for Chronic Conditions (ICCC) ซึง่ เป็ นการขยายจากรูปแบบการดูแลผูป้ ่ วย เรือ้ รัง (Chronic Care Model) ของ Wagnerและ คณะ (1999) โดยให้เกิดการดาเนินงานของภาคี หุน้ ส่วน (ผูป้ ่ วยและครอบครัว ชุมชน และระบบ บริการสุขภาพ )อย่างผสมผสานต่อเนื่อง และมีการ เปลี่ยนแปลงในระยะยาวเพื่อผลลัพธ์สขุ ภาพของ ประชาชนดีขนึ ้ การปฏิ รูปประเทศด้านสาธารณสุขในแผนพัฒนา สุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 12 (2560-2564) 10 ตัวชี้วัดสุขภาพคนไทย ระบบบริการสุขภาพ การเข้าถึงและความครอบคลุมของบริการ กาลังคนด้านสุขภาพ คุณภาพและความปลอดภัย ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สุขภาพและความเป็ นธรรม เทคโนโลยีทางการแพทย์ การป้ องกันความเสี่ยงทางสังคมและ ทางการเงิน ค่าใช้จา่ ยด้านสุขภาพ ประสิทธิภาพบริการ *** ซึ่งบริการที่ ความครอบคลุมต ่า คือการตรวจคัดกรองโรค เช่น การ ตรวจมะเร็งปากมดลูก การตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และไขมันในเลือดสูง เป็ นต้น ซึ่งหากพบในระยะเริ่มแรก จะ ทาให้ได้รบั การรักษาแต่เนิ่นๆ ปัญหาระบบบริการสุขภาพของไทย มีปัญหาสาคัญ 5 ด้าน ได้แก่ ปั ญหาความไม่เป็ นธรรม : การกระจายทรัพยากร การเข้าถึงและการใช้บริการ (คนเมืองเข้าถึงได้มาก) สถานพยาบาล (นอก-ใน เขตเมือง) การรับภาระค่าใช้จา่ ยด้านสุขภาพ (คนจนมีสดั ส่วนค่าใช้จา่ ยด้านสุขภาพสูงกว่าคนรวย) ปั ญหาประสิทธิภาพของระบบบริการสาธารณสุข : ประสิทธิภาพของบริการ (รักษามีประสิทธิภาพ ทาให้สุขภาพดีนอ้ ยกว่าส่งเสริม) ประสิทธิภาพในการลงทุนด้านเตียง(อัตราครองเตียง