PDF หนังสือพัฒนาสมรรถนะสายครู
Document Details

Uploaded by InvaluableNovaculite413
Mahamakut Buddhist University
Tags
Summary
เอกสารนี้เกี่ยวกับการพัฒนาสมรรถนะประจำสายงานและสมรรถนะหลักสำหรับครู โดยกล่าวถึงเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของอาเซียนและประเทศไทย พร้อมทั้งแนวทางการบริหารการศึกษาในยุคใหม่ รวมถึงแผนการดำเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน.
Full Transcript
T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู ในปี 2546 ผู้นาอาเซียนต่างเห็นพ้องกันว่า ถึงเวลาแล้วที่อาเซียนควรจะรวมมือกันให้เหนียวแน่น เข้มแข็ง และมั่นคงยิ่งขึ้น จึงกาหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนที่ประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก...
T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู ในปี 2546 ผู้นาอาเซียนต่างเห็นพ้องกันว่า ถึงเวลาแล้วที่อาเซียนควรจะรวมมือกันให้เหนียวแน่น เข้มแข็ง และมั่นคงยิ่งขึ้น จึงกาหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนที่ประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community) ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซี ย น (ASEAN Economic Community) และประชาคมสั ง คมและวั ฒ นธรรมอาเซี ย น (ASEAN Sociocultural Community) ต่อ มารั ฐ บาลไทยได้เสนอแนวคิ ดให้ อ าเซี ยนผลั กดั น การเชื่ อมโยงระหว่ างกัน โดยได้ รับ การ สนับสนุนอย่างเต็มที่จากประเทศสมาชิกอาเซียน และในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 15 เมื่อวันที่ 23 – 25 ตุลาคม 2552 ที่ชะอา-หัวหิน ประเทศไทย ได้ตั้งคณะทางานระดับสูงของอาเซียนขึ้นเพื่อยกร่าง แผนแม่บทว่าด้วย ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนขึ้น ดังรูปภาพวิสัยทัศน์และเป้าหมายของการ เชื่อมโยงอาเซียนนี้ 59 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู วิสัยทัศน์และเป้ำหมำยของกำรเชื่อมโยงอำเซียน อาเซียนเชื่อมโยง : หนึ่งประชาคม หลากหลายโอกาส ประชาคมอาเซียนที่รวมตัวและมีพลวัตในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มี วิสัยทัศน์ สันติภาพและรุ่งเรื อง และตังอยู ้ ท่ ศี่ นู ย์กลางของโครงสร้ างการรวมตัวของภูมิภาคที่มี วิวฒ ั นาการ - ความร่วมมือและการรวมตัวของภูมิภาคเพิม่ พูน - ความสามารถในการแข่งขันระดับโลกสูงขึ ้น มีเครื อข่ายการผลิตของภูมิภาคทีเ่ ข้ มแข็ง เป้ าหมาย - สภาพความเป็ นอยูแ่ ละวิถีชีวติ ของประชากรอาเซียนดีขึ ้น - กฎระเบียบและธรรมาภิบาลดีขึ ้น - เชื่อมต่อกับศูนย์กลางทางเศรษฐกิจมากขึ ้น ลดช่องว่างของการพัฒนา ความร่วมมือ การประสานงานและ ส่งเสริ มความเชื่อมโยงภายใน บรรทัดฐานโลก แนวโน้ ม ความเป็ นหุ้นส่วนกับประเทศคูเ่ จรจา อาเซียนเอเชียตะวันออก และกฎระเบียบที่กระทบต่อ และภาคีภายนอกอื่นๆ ในการขยาย ซึง่ เชื่อมต่อกับตลาดโลกที่ ความเชื่อมโยง ความเชื่อมโยงไปนอกอาเซียน สาคัญ แหล่งที่มาและรูปแบบการระดมทุน : สนับสนุนระบบการควบคุม ระดับชาติ ทวิภาคี อนุภมู ิภาค ความเชื่อมโยงในอาเซียน ในรูปกฎระเบียบและที่ไม่ใช่ อาเซียน ประเทศคูเ่ จรจา ภาคเอกชน ที่เพิ่มพูน กฎระเบียบ รวมถึงสภาพแวดล้ อม ฯลฯ ที่เอื ้ออานวย แผนงานขององค์กรรายสาขา ข้ อริ เริ่ มสาหรับอนุภมู ิภาคและ กลไกการดาเนินการ (เทคโนโลยีสารสนเทศ และ เครื อข่ายโครงสร้ างพื ้นฐาน การสือ่ สาร การคมนาคม ระดับชาติ รวมถึงยุทธศาสตร์ การท่องเที่ยว พลังงาน การคลัง ฯลฯ) คณะทางานระดับสูงของอาเซียนว่าด้ วย ที่เกี่ยวกับความเชื่อมโยง แผนแม่ ความเชื บทว่าด้ วยความเชื ่อมโยงระหว่ ่อมโยงยน างกันในอาเซี ระหว่างกันของอาเซียน ที่มา : ดัดแปลงจากเอกสารของประเทศไทย เรื่อง “แนวทางที่เป็นไปได้ในการก้าวสู่ความเชื่อมโยง ของภูมิภาคเพิ่มพูน : ทัศนะเบื้องต้น” ผู้นาอาเซียนได้ให้การรับรองแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนในระหว่าง การประชุมสุดยอดครั้งที่ 17 เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2553 กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม แผนแม่บทนี้มี 60 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู เจตนารมณ์ที่จะเร่งรัดการลงทุนทั้งภายในและภายนอกอาเซียน ให้เกิดการเชื่อมโยงประเทศสมาชิกทั้ ง 10 ประเทศ ให้ เป็ น หนึ่ งเดียวกัน ทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านกฎระเบียบ และด้านประชาชนซึ่ง เป็นไปตามวิสัยทัศน์อาเซียนที่จะดาเนินการร่วมกันเพื่อบรรลุการเป็นประชาคมอาเซียนที่ประชาชนอยู่ดี กินดีอย่างทัดเทียมกันภายในปี 2558 กำรก้ำวสู่ประชำคมอำเซียนของสถำนศึก ษำ ตามแนวทางการบริหารการศึกษาสู่ประชาคม อาเซียนของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้มีการกาหนดนโยบายในการขับเคลื่อนการดาเนินงานด้านการศึกษา ตามปฏิญญาอาเซียน ด้านการศึกษาของประเทศไทยดังนี้ ปี 2558 ประเทศไทยจะเข้าร่วมประชาคมอาเซียน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้เตรียมพัฒนาศักยภาพและผลักดันให้สถานศึกษาในสังกัด จัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างเยาวชนไทยสู่ สังคมอาเซียน โดยได้จั ดทาโครงการโรงเรียนในรูปแบบต่าง ๆ กัน เพื่อพัฒ นาและเตรียมความพร้อม ผู้เรียน ดังนี้ 1. โครงการพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาค (Education Hub) มี 14 โรงเรียน โดยมีรูปแบบห้องเรียนพิเศษ 3 รูปแบบ คือ 1) โปรแกรมนานาชาติ ได้แก่ 1.1 โรงเรียนที่ใช้หลักสูตรของประเทศอังกฤษ ได้แก่ โรงเรียนโยธินบูรณะ กรุงเทพมหานคร 1.2 โรงเรียนที่ใช้หลักสูตรของประเทศไทยและปรับใช้กับหลักสูตรของต่างประเทศ ได้แก่ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ โรงเรียนสตรีภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต โรงเรียนนารีนุกูล จังหวัด อุบ ลราชธานี โรงเรีย นปทุม เทพวิท ยาคาร จังหวัดหนองคาย โรงเรียนพิชัย รัตนาคาร จังหวัดระนอง โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ จังหวัดสงขลา 2) โปรแกรมพหุภาษา ได้แก่ โรงเรียนแม่สายประสิทธิศาสตร์ จังหวัดเชียงราย โรงเรียน สรรพวิทยาคม จังหวัดตาก โรงเรียนประสาทวิทยา จังหวัดสุรินทร์ โรงเรียนกันทรลักษณ์วิทยา จังหวัดศรี สะเกษ 3) โปรแกรมวิ ท ย์ -คณิ ต สองภาษา ได้ แ ก่ โรงเรี ย นจุ ฬ าภรณราชวิท ยาลั ย มุ ก ดาหาร โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล 2. โครงการ Spirit of ASEAN จานวน 54 โรง โดยมี 2 รูปแบบคือ 1) กลุ่ม Sister School จานวน 30 โรงเรียน 2) กลุ่ม Buffer School จานวน 24 โรงเรียน 3. โครงการ ASEAN Focus สรุป การพัฒนาคุณภาพของครูผู้สอนให้มีความรู้และความสามารถในการจัดการเรียนการสอนให้ได้ มาตรฐานตามนโยบายการจัดการศึกษาที่มีความก้าวหน้าได้ทัดเทียมกับนานาประเทศและเป็นไปตาม มาตรฐานสากล เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 61 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู เรื่องที่ 5.2 คุณลักษณะของความเป็นครูตามมาตรฐานสากล ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์ระดับภูมิภาคว่าด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ของซีมีโอ (SEAMEO INNOTECH) ครั้งที่ 52 ที่จัดขึ้นในระหว่างวันที่ 29 กันยายน – 1 ตุลาคม 2552 โดยมีนางศรีวิการ์ เมฆธวัชชัยกุล รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน ได้เห็นชอบกรอบสมรรถนะของ ครู แ ห่ ง เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ โดย Dr.Erlinda C. Pefianco ผู้ อ านวยการศู น ย์ ซี มี โ อ อิ น โนเทค ได้ แ จ้ งว่ า ศู น ย์ ซี มี โออิ น โนเทคได้ ศึ ก ษาวิจั ย เกี่ ย วกั บ มาตรฐานสมรรถนะของครู ในบริ บ ทของเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งกาหนดเกณฑ์การวัดและพัฒนาสมรรถนะดังกล่าวแก่ครูผู้สอน ซึ่งเป็นปัจจัย สาคัญในการการพัฒนาเยาวชนให้เติบโตเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ สาหรับผลจากการวิจัยพบว่าสมรรถนะหลัก (Competency) ของครูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้ ว ย 11 ด้ า น คื อ การเตรีย มแผนการสอนที่ ส อดคล้ อ งกั บ วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละพั น ธกิ จ การสร้า ง สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ การพัฒ นาและการใช้ทรัพยากรสาหรับการเรียนการสอน การพัฒนาทักษะ การจัดลาดับความคิดในระดับสูง การอานวยความสะดวกในการเรียนรู้ การส่งเสริมค่านิยมด้านศีลธรรม และจริยธรรม การวัดและประเมินพฤติกรรมของผู้เ รียน การพัฒนาด้านวิชาชีพ การสร้างเครือข่ายกับ ผู้เกี่ยวข้อง และการจัดสวัสดิการสาหรับนักเรียน ทั้งนี้ในแต่ละด้านยังประกอบด้วยความสามารถและ ภาระงานเฉพาะอีก รวม 64 เรื่อง กรอบสมรรถนะของครูดังกล่าวจะเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพครูในภูมิภาคให้ มีความรู้ ความสามารถ และให้ ความส าคั ญ แก่ก ระบวนการเรียนการสอนควบคู่ กั บ การปลู กฝั งด้ านคุณ ธรรม จริ ย ธรรม และทั กษะวิช าชีพ รวมถึงการประเมิน ผลในทุ กมิติ โดยสมาชิกซีมีโอสามารถนาไปใช้เป็ น แนวทางในการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาในประเทศของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ แหล่งที่มา : http://www.kroobannok.com/news.file/p48510540830.pdf เรื่องที่ 5.3 วิธกี ารพัฒนาความเป็นครูสู่มาตรฐานสากล จากความเปลี่ยนแปลงของโลกและการก้าวสู่ประชาคมอาเซียนของสถานศึกษากระทรวงศึกษาธิการ จึงได้ประกาศทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ในระดับมัธยมศึกษา (พ.ศ. 2553 – 2561) ดังนี้ ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 – 2561) การนาประเทศเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และการกาหนดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานั้น เพื่อให้ การจัดการศึกษามัธยมศึกษามีคุณ ภาพ และบรรลุผ ลส าเร็จตามเป้ า หมาย ส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอประกาศทิศทางการพัฒนาคุณภาพการมัธยมศึกษายุคใหม่ (พ.ศ. 2553 – 2561) ดังต่อไปนี้ วิสัยทัศน์ การมัธยมศึกษาสร้างคุณภาพคนไทยยุคใหม่ให้เป็นคนดีของสังคมโลก เป้าประสงค์ ผู้เรียนเป็นคนไทยยุคใหม่ มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากลมีความเป็นพลโลก ประเด็น ยุทธศาสตร์ พลิกระบบการจัดการมัธยมศึกษา และระบบการเรียนรู้ใหม่สู่ คุณ ภาพ มาตรฐานระดับสากล 62 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู เป้ำหมำยกำรดำเนินงำนตำมประเด็นยุทธศำสตร์ ด้ำนคุณภำพผู้เรียน 1. ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ และมีคุณภาพได้มาตรฐานระดับสากล ตัวบ่งชี้และค่ำเป้ำหมำย 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบระดับชาติ มีคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า ร้อยละ 50 1.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และการอ่าน ไม่ต่ากว่าค่าเฉลี่ย นานาชาติ (ผลทดสอบ PISA) 1.3 ผู้เรียนทุกคนผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ความสามารถตามสาระการเรียนรู้สากล 1.4 ผู้ เรี ย นมี ทั ก ษะด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร (ICT) เพิ่ ม ขึ้ น ไม่ ต่ ากว่ า ร้อยละ 3 ต่อปี จากฐานเดิมของโรงเรียน 1.5 ผู้เรียนไม่ต่ากว่าร้อยละ 90 มีทักษะในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง รักการอ่านและ เรียนรู้ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 1.6 ผู้เรียนทุกคนมีทักษะในการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ 1.7 ผู้ เรีย นแสดงความรู้ ความสามารถ ความถนัดเฉพาะทาง ปรากฏเป็นที่ ประจักษ์ ใน ระดับชาติและนานาชาติ เพิ่มขึ้นไม่ต่ากว่าร้อยละ 5 ต่อปี 2. ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศอื่น ๆ รวมถึงการสื่อสารภาษาสัญลักษณ์และภาษาดิจิทัล (Digital Literacy) อย่างมีประสิทธิผล ตัวบ่งชี้และค่ำเป้ำหมำย 2.1 ผู้เรียนไม่ต่ากว่าร้อยละ 75 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้ภาษาไทยอยู่ใน ระดับดี 2.2 ผู้เรียนมีความสามารถด้านภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น ไม่ต่ากว่าร้อยละ 3 ต่อปี 2.3 ผู้เรียนไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 ผ่านการทดสอบความรู้และทักษะภาษาต่างประเทศที่สอง จากสถาบันที่ได้รับการรับรอง 2.4 ผู้เรียนมีความสามารถด้านภาษาต่างประเทศที่สองเพิ่มขึ้น ไม่ต่ากว่าร้อยละ 3 ต่อปี 2.5 ผู้เรียนไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 ผ่านการทดสอบความรู้และทักษะภาษาต่างประเทศที่สอง จากสถาบันที่ได้รับการรับรอง 2.6 ผู้เรียนทุกคนผ่านเกณฑ์การประเมินความสามารถในการสื่อสาร ภาษาสัญลักษณ์และ ภาษาดิจิทัล (Digital Literacy) 3. ผู้ เรี ย นมี ทั ก ษะการคิ ด มี วิ จ ารณญาณ สามารถไตร่ ต รอง วิ เคราะห์ สั ง เคราะห์ ริ เริ่ ม สร้างสรรค์ แก้ปัญหา และกล้าตัดสินใจ 63 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู ตัวบ่งชี้และค่ำเป้ำหมำย 3.1 ผู้เรียนทุกคนมีกิจกรรม ผลงาน/โครงงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่แสดงถึงการคิดตัดสินใจ แก้ปัญหา 3.2 ผู้เรียนไม่ต่ากว่ าร้อยละ 70 มีผ ลการประเมินในสาระการเรียนรู้สากลตามหลักสูตร มาตรฐานสากล (ทฤษฎีความรู้ โลกศึกษา ความเรียงขั้นสูง กิจกรรมสร้างสรรค์) ในระดับดีขึ้นไป 3.3 ผู้เรียนไม่ต่ากว่าร้อยละ 75 มีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถใช้ความคิดในระดับสูง มีเหตุผล 4. ผู้ เรีย นสามารถคิดค้น ออกแบบ พั ฒ นา ชิ้นงาน สิ่ งประดิษฐ์ นวัตกรรม โดยใช้เครื่องมือ เทคโนโลยี ที่เหมาะสม มีทั กษะการวางแผน จัดการ ทางานเป็นที ม และเห็ น ช่องทางสร้างงานอาชีพ ในระบบเศรษฐกิจยุคใหม่ (New Economy) ตัวบ่งชี้และค่ำเป้ำหมำย 4.1 ผู้ เรีย นทุกคนมีความรู้ ความสามารถด้านทั ศนภาพ (ภาษภาพ สั ญ ลั กษณ์ สั ญ รูป ) เพื่อการตีความ สื่อสาร สร้างสรรค์ 4.2 ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ แสวงหา สังเคราะห์ และประเมินโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศ และนาเทคโนโลยีมาใช้ดาเนินการ 4.3 ผู้เรียนมีผลงานการประดิษฐ์ สร้างสรรค์และออกแบบ นาเสนอ เผยแพร่ในเวทีระดับชาติ หรือนานาชาติเพิ่มขึ้น ไม่ต่ากว่าร้อยละ 5 ต่อปี จากฐานเดิมของโรงเรียน 4.4 ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ ออกแบบ สร้างสรรค์งาน ทั้งด้านวิชาการและ อาชี พ โดยมี ก ารน าเสนอ สื่ อ สารเผยแพร่ และแลกเปลี่ ย นผลงานระดั บ ชาติ ห รื อ นานาชาติ เพิ่ ม ขึ้ น ไม่ต่ากว่าร้อยละ 5 ต่อปี 4.5 ผู้เรียนไม่ต่าว่าร้อยละ 80 สามารถสร้างและประเมินทางเลือกในการวางแผนตัดสินใจ ประกอบอาชีพตามศักยภาพและความต้องการของตนเองและสังคม 5. ผู้เรียน ใฝ่ดี มีคุณธรรม และมีความเป็นไทย ภูมิใจในถิ่นฐาน มีจิตสาธารณะ และจิตใจบริการ มีความเป็นพลเมือง ตามวัฒนธรรมประชาธิปไตย มีทักษะการดารงชีวิต และมีจิตสานึกรับผิดชอบต่อ สังคมโลก เป็นสมาชิกที่เข้มแข็งของประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก ตัวบ่งชี้และค่ำเป้ำหมำย 5.1 ผู้เรียนทุกคนมีศีลธรรม จริยธรรม จิตสานึกในความเป็นไทย รับผิดชอบต่อสังคม และมี ความเป็นพลเมืองในวิถีประชาธิปไตย 5.2 ผู้เรียนไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 มีความตระหนัก รอบรู้ สามารถวิเคราะห์สภาพการณ์ทาง ระบบนิเวศธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคม ภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ ภาษา วัฒนธรรม อัตลักษณ์ของชุมชนที่เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยเพื่อการพัฒนา 5.3 ผู้เรียนทุกคนพัฒนาทักษะเพื่อการดารงชีวิต ในด้านการจัดการตนเอง การบริโภค การ เรียนรู้ ทักษะทางสังคม และการจัดการสร้างงานอาชีพ 5.4 ผู้เรียนไม่ต่ากว่าร้อยละ 75 มี ความตระหนักรู้ในภาวการณ์ของโลก ความหลากหลาย ทางเชื้อชาติ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยม วิถีชีวิต 5.5 ผู้เรียนไม่ต่าร้อยละ 80 มีความสามารถวิเคราะห์ประเด็นทางเศรษฐศาสตร์ ผลกระทบ ของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและนโยบายสาธารณะ 64 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู 5.6 ผู้เรียนไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 สามารถควบคุม จัดการกับความซับซ้อนในสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อประโยชน์สาธารณะ การปกป้องคุ้มครองสังคม สิ่งแวดล้อม และอุดมการณ์ประชาธิปไตย 5.7 ผู้เรียนไม่ต่ากว่าร้อยละ 90 ปฏิบัติกิจกรรมบริการเพื่อประโยชน์สาธารณะด้วยจิตอาสา 5.8 ผู้เรียนไม่ต่ากว่าร้ อยละ 65 มีส่วนร่วมปฏิบัติกิจกรรมในฐานะสมาชิกของประชาคม อาเซียนและประชาคมโลก ด้ำนระบบกำรเรียนรู้ 6. โรงเรี ย นพัฒ นาหลั กสู ต ร การเรีย นการสอนอิงมาตรฐานสากล (World-Class Standard Curriculum and Instruction) 7. โรงเรียนจัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ 8. โรงเรียนจัดการเรียนรู้เรื่องภาษาดิจิทัล (Digital Literacy) และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT) เพื่อการเรียนรู้อย่างทั่วถึงมีคุณภาพ 9. โรงเรียนจัดกระบวนการเรียนรู้อิงถิ่นฐาน ให้เชื่อมประสานกับการศึกษา ประชาคมอาเซี ยน และประชาคมโลก 10. ครูพัฒนาความรู้ ความสามารถ มี่ความเชี่ยวชาญและจรรยาบรรณทางวิชาชีพครูยุคใหม่ ด้านระบบการบริหารจัดการ 11. โรงเรียนบริหารจัดการได้คุณภาพ ระดับมาตรฐานสากล 12. โรงเรียนส่งเสริม สนับสนุน แนะแนว ช่วยเหลือผู้เรียนเป็นรายบุคคล ให้ได้พัฒนาตนเต็มตาม ศักยภาพ 13. โรงเรี ย นมี ภ าคีร่ วมพัฒ นาคุณ ภาพการศึ กษาหรือแลกเปลี่ ยนเรีย นรู้ ทั้ งในระดั บท้ องถิ่ น ระดับประเทศ และระหว่างประเทศ ด้ำนคุณภำพแหล่งเรียนรู้ 14. โรงเรี ย นพั ฒ นาและจั ด บริ ก ารแหล่ งเรี ย นรู้ ใหม่ ให้ มี คุ ณ ภาพเอื้ อ ต่ อ การเรี ย นรู้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพทั่วถึงและคุ้มค่า 15. โรงเรียนใช้ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ มีสถาบัน และองค์กรต่าง ๆ ทุกภาคส่วน เป็นเครือข่าย ร่วมส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จึ งก าหนดให้ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา มัธยมศึกษา สถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง ใช้ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการมัธยมศึกษายุคใหม่ (พ.ศ. 2553–2561) เป็นแนวทางในการดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาแผนปฏิบัติการ และการกาหนดเป้าหมายเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุผลสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม สรุป ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโดยเน้นการพัฒนาผู้ ตามเป้ าหมาย ตัวบ่งชี้และประเด็นยุทธศาสตร์ด้านคุณภาพผู้เรียน ด้านระบบการเรียนรู้ ด้าน คุณภาพแหล่งเรียนรู้ หลังจำกศึกษำเนื้อหำสำระเรื่องที่ 5 แล้ว โปรดปฏิบัติใบงำนที่ 5 65 | ห น้ า