PDF การประเมินสมรรถนะครู: คู่มือครู

Summary

เอกสารนี้เป็นคู่มือการประเมินสมรรถนะครูในประเทศไทย โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับวิธีการประเมินสมรรถนะของครูผู้สอน รวมถึงเครื่องมือและเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน ซึ่งครอบคลุมสมรรถนะหลักและสมรรถนะตามสายงาน

Full Transcript

T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู 4. ผู้ใช้แบบประเมินสมรรถนะครู แบบประเมินสมรรถนะครูฉบับนี้ สาหรับครูผู้สอนทาการประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานตาม สภาพจริง เพื่ อจะได้ท ราบข้อมูล เกี่ยวกับสมรรถนะของครูผู้ ส อน และนาผ...

T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู 4. ผู้ใช้แบบประเมินสมรรถนะครู แบบประเมินสมรรถนะครูฉบับนี้ สาหรับครูผู้สอนทาการประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานตาม สภาพจริง เพื่ อจะได้ท ราบข้อมูล เกี่ยวกับสมรรถนะของครูผู้ ส อน และนาผลการประเมินไปใช้ในการ กาหนดกรอบการพัฒนาสมรรถนะครูให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อการพัฒ นาผู้เรียน สถานศึกษา และวิชาชีพ ผู้ใช้แบบประเมินสมรรถนะครู ดังนี้ 1. ครูผู้สอน : ประเมินตนเอง 2. เพื่อนครูผู้สอนในสถานศึกษาเดียวกัน : ประเมินครูผู้สอน 3. ผู้บริหารสถานศึกษา : ประเมินครูผู้สอน 5. เครื่องมือที่ใช้ในกำรประเมิน แบบประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้ส อนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนื้อหาของ แบบประเมินนี้มีจานวน 2 ตอน ประกอบด้วยตอนที่ 1 คือ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ และตอนที่ 2 แบบวัด สมรรถนะในการปฏิบั ติงานของครูผู้ ส อน มีจานวน 11 สมรรถนะ รวมทั้งสิ้น 100 ข้อรายการ โดยมี ลักษณะเป็นแบบมาตรวัดประมาณค่า 5 ระดับ คือ ปฏิบัติน้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มาก และมากที่สุด โดยเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละข้อรายการ มีดังนี้ คือ ปฏิบัติน้อยที่สุด ได้คะแนน 1 คะแนน ปฏิบัติน้อย ได้คะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติปานกลาง ได้คะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติมากได้คะแนน 4 คะแนน และปฏิบัติ มากที่สุด ได้คะแนน 5 คะแนน รายละเอียดของโครงสร้างเครื่องมือวิจัยฉบับนี้แสดงดังตารางต่อไปนี้ 49 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู ตำรำง โครงสร้างแบบประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ลักษณะ จำนวน เนื้อหำหลัก เนื้อหำย่อย เครื่องมือ ข้อ ตอนที่ 1 เพศ ตาแหน่ง ระดับการศึกษาสูงสุด อายุราชการ และ เลือกตอบ 5 กลุ่มสาระการเรียนที่มีความถนัดหรือเชี่ยวชาญ ข้อมูลทั่วไป และ ปลายเปิด ตอนที่ 2 1. สมรรถนะหลัก(Core competency) แบบวัดชนิด มาตรประมาณ สมรรถนะใน 1.1 การมุ่งมั่นผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน 9 ค่า 5 ระดับ การ 1.2 การบริการที่ดี 7 ปฏิบัติงาน (100 ข้อ) ของครูผู้สอน 1.3 การพัฒนาตนเอง 7 1.4 การทางานเป็นทีม 8 1.5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู 10 50 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู ตาราง โครงสร้างแบบประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ลักษณะ จำนวน เนื้อหำหลัก เนื้อหำย่อย เครื่องมือ ข้อ 2. สมรรถนะตามสายงาน (Functional competency) แบบวัดชนิด มาตรประมาณ 2.1 การบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 12 ค่า 5 ระดับ 2.2 การพัฒนาผู้เรียน 11 2.3 การบริหารจัดการชั้นเรียน 8 2.4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน 8 2.5 ภาวะผู้นาครู 12 2.6 สร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการ 8 จัดการเรียนรู้ 6. กำรสร้ำงและตรวจสอบคุณภำพเครื่องมือในกำรประเมินสมรรถนะครู 6.1 กำรสร้ำงเครื่องมือประเมิน แบบประเมินสมรรถนะครูที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม (questionnaire) ซึ่ง ผู้ทรงคุณวุฒิและคณะทางาน ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานพัฒ นาขึ้นโดยใช้กรอบ แนวคิดสมรรถนะครูที่ได้จากการประชุมเชิงปฏิบัติการกาหนดกรอบการพัฒนาสมรรถนะข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ศึกษาวิเคราะห์เอกสาร และผลงานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง แล้วนาไปทดลองใช้ กับครูผู้สอนในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดเทศบาลนครนนทบุรี จานวน 120 คน ที่ไม่ได้ เป็นกลุ่มตัวอย่าง แต่มีลักษณะใกล้เคียงกับประชากร/กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ เพื่อตรวจสอบหา คุณภาพของเครื่องมือ 51 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู ตัวอย่างแบบประเมินสมรรถนะครู ระดับกำรปฏิบัติ รำยกำรพฤติกรรม น้อยที่สุด น้อย ปำน มำก มำกที่สุด กลำง สมรรถนะการมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการ ปฏิบัติงาน 1. วิเคราะห์ภารกิจงานเพื่อวางแผนการ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ 2. กาหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงาน ในทุกภาคเรียน 6.2 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือประเมิน การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือประเมินในครั้งนี้ ดาเนินดังต่อไปนี้ 1) การตรวจสอบหาค่าอานาจจาแนก โดยทาการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่ม สูง(กลุ่ม 33% บน) กับกลุ่มต่า (กลุ่ม 33% ล่าง) ด้วยการวิเคราะห์ค่าสถิติ t-test ซึ่งถ้าค่าแตกต่างของ ค่าเฉลี่ยมีนัยสาคัญทางสถิติถือว่าข้อรายการมีอานาจจาแนก ซึ่งจากการทดสอบข้อรายการส่วนใหญ่มีค่า อานาจจาแนกผ่านเกณฑ์ 2) การตรวจสอบหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอ นบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ของแบบประเมินรายสมรรถนะและสมรรถนะรวม และทา การปรั บ ปรุ งแก้ ไขโดยพิ จ ารณาจากค่ า ความเชื่ อ มั่ น ซึ่ งจากผลการทดสอบพบว่ า ค่ า ความเชื่ อ มั่ น (Reliability) ทั้ งฉบั บ ที ค่ า เท่ า กั บ 0.99 โดยในแต่ ล ะสมรรถนะมี ค่ าความเชื่ อ มั่ น (Reliability) อยู่ ระหว่าง 0.83 – 0.97 3) การตรวจสอบความเป็นปรนัย โดยการสนทนากลุ่ ม (Focus Group) กับครูผู้ สอนใน สถานศึกษาระดับ การศึกษาขั้น พื้ น ฐาน สั งกัด เทศบาลนครนนทบุรี จานวน 10 คนที่ท ดลองท าแบบ ประเมินเกี่ยวกับความเป็นปรนัย และความถูกต้องของสานวนภาษาและคาชี้แจงต่างๆ และข้อเสนอแนะ อื่นๆ 52 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู 4) การตรวจสอบความตรงด้ านเนื้ อ หา (Content Validity) ด้ ว ยการตรวจสอบค่ าการ ตรวจสอบความสอดคล้องและเหมาะสมของประเด็นย่อยกับสมรรถนะที่ ต้องการวัดจากผู้ เชี่ยวชาญ จานวน 10 ท่าน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ค่า IOC จากผลการตรวจสอบ พบว่า ข้อรายการมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.8 – 1.00 5) การตรวจสอบความตรงด้า นโครงสร้าง (Construct Validity) โดยการตรวจสอบความ สอดคล้องระหว่างโครงสร้างองค์ประกอบของสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนที่สังเคราะห์ขึ้นกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน 2 ระดับ (Second-order Confirmatory Factor Analysis) ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป LISREL version 8.30 ซึ่งจากผลการตรวจสอบความ ตรงเชิงโครงสร้างของตัวแปรในโมเดลสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครูผู้ สอนในระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน สรุปได้ว่าองค์ประกอบและตัวแปรที่มุ่งวัดสมรรถนะในการปฏิบัติงานมีความตรงเชิงโครงสร้าง (construct validity) โดยสรุป แสดงให้ เห็ น ว่าตัว แปรแฝงต่าง ๆ ดังกล่ าวสามารถวัด ได้ด้ ว ยตัว แปร สังเกตได้หรือองค์ประกอบในแต่ละโมเดลได้จริง โดยรายละเอียดของการวิเคราะห์ความตรงเชิงโครงสร้าง ของเครื่องมือ นาเสนอ ดังแผนภาพ โดยรายละเอียดของการวิเคราะห์อยู่ในภาคผนวก แผนภาพ ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันโมเดลโครงสร้างสมรรถนะ ในการปฏิบัติงานของครูผู้สอน 53 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู 7. กำรให้คะแนนและกำรแปลผลกำรประเมินสมรรถนะครู 7.1 กำรให้คะแนนกำรประเมินสมรรถนะครู 1. การให้ ค ะแนนในแต่ล ะข้อรายการจะมี ระดั บ คุณ ภาพของสภาพการปฏิ บั ติงาน 5 ระดับ ได้แก่ ปฏิบั ติน้ อยที่สุ ด ปฏิบั ติน้อย ปฏิบัติปานกลาง ปฏิบัติมาก และปฏิบัติมากที่สุด โดย กาหนดค่าคะแนนเป็น 1, 2, 3, 4 และ 5 ตามลาดับ 2. การประมวลผลในแต่ล ะข้อรายการ ให้ นาคะแนนที่ประเมินจากครูผู้ ส อนประเมิน ตนเอง เพื่อนครูประเมิน และผู้บริหารประเมิน มาคานวณหาค่าฐานนิยม (Mode) หรือค่ามัธยฐาน (Median) ในทางปฏิบัติให้กรอกคะแนนที่ครูผู้สอนประเมินตนเอง เพื่อนครูประเมิน และผู้บริหาร ประเมิน(ประมวลผลข้อมูลด้วยโปรแกรมวิเคราะห์สมรรถนะครู ของ สพฐ.) 3. การประมวลผลในแต่ ล ะสมรรถนะ ให้ น าค่ า ฐานนิ ย ม (Mode) หรื อ ค่ ามั ธ ยฐาน (Median) ในแต่ละข้อรายการ (ที่ไ ด้จากข้อ 2) มาคานวณหาค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) แล้ วนา เทียบกับเกณฑ์ในการแปลผลการประเมินเพื่อสรุปเป็นผลการประเมินรายสมรรถนะ (ประมวลผล ข้อมูลด้วยโปรแกรมวิเคราะห์สมรรถนะครู ของ สพฐ.) 7.2 เกณฑ์ในกำรแปลผลกำรประเมินรำยสมรรถนะ การนาคะแนนเฉลี่ยที่คานวณได้ในแต่ ละสมรรถนะมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ในการแปลผลที่กาหนดไว้ ดังนี้ ค่ำคะแนนเฉลี่ย ระดับคุณภำพ 4.01-5.00 สูง 3.01-4.00 ปานกลาง ตั้งแต่ 3.00 ลงมา ต่า 54 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู ตัวอย่าง การประมวลผลและการแปลผลการประเมินสมรรถนะการบริการที่ดี ผลกำรประเมิน คะแนน รำยกำรพฤติกรรม ตนเอง เพื่อน ผู้บริหำร ฐำนนิยม ครู 1. วิเคราะห์ภารกิจงานเพื่อวางแผนการแก้ปัญหาอย่างเป็น 2 3 2 2 ระบบ 2. กาหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานทุกภาคเรียน 4 4 5 4 3. กาหนดแผนการปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอน 5 5 5 5 4. ใฝ่เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ 5 4 5 5 คะแนนเฉลี่ย (16/4) (ผลรวมของคะแนนฐานนิยม / จานวนรายการพฤติกรรม) 4.00 ระดับคุณภาพ ปานกลาง สรุป สมรรถนะการบริการที่ดี มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 และมีสมรรถนะอยู่ในระดับปาน กลาง (ประมวลผลข้อมูลด้วยโปรแกรมวิเคราะห์สมรรถนะครู ของ สพฐ.) 55 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู 8. กำรนำเสนอผลกำรประเมินสมรรถนะครู การนาเสนอผลการประเมินให้นาคะแนนเฉลี่ยและระดับคุณภาพในแต่ละสมรรถนะมากรอก ลงในแบบสรุปผลการประเมินสมรรถนะของครูผู้สอนในตอนท้ายของแบบประเมิน แล้วจึงรายงานผล การประเมินให้ผู้บริหารหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนาไปเป็นแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะครูต่อไป ตัวอย่ำง ผลกำรประเมินสมรรถนะครู สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ชื่อ นายสมศักดิ์ รักงานดี ตาแหน่ง ครู คศ. 2 วิทยฐานะ ชานาญการ โรงเรียน บ้านหนองเสือดุ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครบุรีรมย์ เขต 1 สมรรถนะ คะแนนเฉลี่ย ระดับคุณภาพ สมรรถนะหลัก (Core Competency) 000. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน 1.66 ต่า 001. การบริการที่ดี 4.00 ปานกลาง 003. การพัฒนาตนเอง 2.72 ต่า 004. การทางานเป็นทีม 3.42 ต่า 005. จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ 4.32 สูง สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) 001. การบริหารจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 4.66 สูง 002. การพัฒนาผู้เรียน 2.39 ต่า 003. การบริหารจัดการชั้นเรียน 2.75 ต่า 004. การวิเคราะห์ สังเคราะห์และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน 1.68 ต่า 005. ภาวะผู้นาครู 1.20 ต่า 006. การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชน 3.85 ปานกลาง สรุปผล สมรรถนะระดับสูง จานวน....2.....สมรรถนะ สมรรถนะระดับปานกลาง จานวน....2.....สมรรถนะ สมรรถนะระดับต่า จานวน....7.....สมรรถนะ 56 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู หลักกำรวิเครำะห์สมรรถนะที่จำเป็นต้องพัฒนำและไม่จำเป็นต้องพัฒนำ สมรรถนะที่จำเป็นต้องพัฒนำ 1. สมรรถนะ หรือความสามารถที่มีผลการประเมินของผู้ประเมินฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง (ตนเอง หรือครู/ผู้บริหารสถานศึกษา) หรือทั้ง 2 ฝ่าย อยู่ในระดับคุณภาพ 1 2. สมรรถนะ หรือความสามารถที่มีผลการประเมินของผู้ประเมินทั้ง 2 ฝ่าย อยู่ในระดับ คุณภาพ 2 สมรรถนะที่ไม่จำเป็นต้องพัฒนำ สมรรถนะ หรือความสามารถที่มีผลการประเมินของผู้ประเมินฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอยู่ใน ระดับ คุณภาพตั้งแต่ 3 ขึ้นไป และอีกฝ่ายหนึ่งอยู่ในระดับคุณภาพตั้งแต่ 2 ขึ้นไป สรุป การประเมินสมรรถนะเป็นวิธีที่ใช้เครื่องมือในการวัดสมรรถนะประจาสายงานและสมรรถนะ หลักในการปฏิบัติงานของครู เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูล ในการกาหนดกรอบการพัฒนาคุณภาพของครู โดยใช้วิธีการประเมินด้วยตนเอง การประเมินจากผู้ร่วมงาน และการประเมินจากผู้บริหาร หลังจำกศึกษำเนื้อหำสำระเรื่องที่ 4 แล้ว โปรดปฏิบัติใบงำนที่ 4 57 | ห น้ า T E P E - 0 2 1 3 7 ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ป ร ะ จา ส า ย ง า น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ห ลั ก สา ห รั บ ค รู ตอนที่ 5 กำรพัฒนำสมรรถนะครูสู่มำตรฐำนสำกล เรื่องที่ 5.1 กำรพัฒนำสมรรถนะครูสู่มำตรฐำนสำกล การพัฒนาคุณภาพของครูผู้สอนให้มีความรู้และความสามารถในการจัดการเรียนการสอนให้ได้ มาตรฐานตามนโยบายการจัดการศึกษาที่มีความก้าวหน้าได้ ทัดเทียมกับนานาประเทศและเป็นไปตาม มาตรฐานสากล ซึ่งมีเป้าหมายในการจัดทามาตรฐานครู มีดังนี้ 1. เพื่ อ ให้ ค รู ไ ด้ มี แ นวทางการพั ฒ นาตนเองและพั ฒ นางานให้ เ ข้ า สู่ ม าตรฐานสากล 2. เพื่อให้สถานศึกษาได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาครูให้มีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐาน ทีก่ าหนด การวิเคราะห์รายการประเมิน กาหนดตัวชี้บ่งและเทียบเคียงกับกรอบการประเมินสมรรถภาพ ของครูที่เป็นพื้น ฐานสาคัญและจาเป็นสาหรับสังคมไทย ทั้งนี้เพื่อต้องการให้ ครูมีความรู้ความสามารถ ทัดเทียมกับนานาประเทศและเป็นไปตามมาตรฐานสากล มาตรฐานครู มุ่งเน้นให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการเรียนรู้ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ตามาตรฐานที่สอดคล้อง กับสังคมไทยและทัดเทียมกับนานาชาติ ผลการประเมินมาตรฐานครูจะสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพการจัด การศึกษาของสถานศึกษา ทั้งด้านผลผลิต ด้านกระบวนการ และด้านปัจจัยตามระบบประกันคุณภาพ การศึกษา และช่วยให้ สถานศึกษาได้รับรู้จุดเด่น จุดด้อยของตนเองที่จะใช้เป็นแนวทางในการพัฒ นา สถานศึกษาต่อไป เรื่องที่ 5.1 ที่มำของควำมเป็นครูตำมมำตรฐำนสำกล สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (Association of South East Asian Nations หรือ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพฯ (The Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศสมาชิกเริ่มแรก 5 ประเทศ ประกอบด้วย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย มี จุ ด ประสงค์ ในการรวมตั ว เริ่ ม แรกเพื่ อ ความมั่ น คงในภู มิ ภ าคที่ ต้ อ งการขจั ด ป้ องกั น ภั ย คุ ก คามจาก คอมมิวนิสต์โดยตรง ต่อมาบรูไนดารุสซาลาม ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกในวันที่ 8 มกราคม 2527 เวียดนามได้ เข้าร่วมเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2537 ลาวและพม่าเข้าร่วมเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2540 และกัมพูชา เมื่อวัน ที่ 30 เมษายน 2542 อาเซียนมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย หม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม วัตถุประสงค์หลักของการก่อตั้งอาเซียนคือ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒ นธรรม เทคโนโลยี และการบริหาร ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ นโยบาย การดาเนินงาน ของอาเซียนจะเป็นผลจากการประชุมหารือเพื่อกาหนดแนวนโยบายในภาพรวม และเป็นโอกาสที่ป ระเทศ สมาชิกจะได้ร่วมกันประกาศเป้าหมายและแผนงานของอาเซียนในระยะยาว โดยการจัดทาเอกสารใน รู ป แบบของแผนปฏิ บั ติ ก าร (Action Plan) แถลงการณ์ ร่ ว ม (Joint Declaration) ความตกลง (Agreement) หรืออนุ สัญ ญา (Convention) เช่น Hanoi (Declaration, Hanoi Plan of Action และ ASEAN Convention on Counter Terrorism เป็นต้น 58 | ห น้ า

Use Quizgecko on...
Browser
Browser