Lab 4 Fluorescence Spectroscopy I: Hg2+ Detection using Carbon Quantum Dots PDF
Document Details
Uploaded by HumourousLongBeach
Kasetsart University
Tags
Summary
This document details a laboratory experiment on fluorescence spectroscopy, focusing on detecting Hg2+ ions using carbon quantum dots. It explains the principles of fluorescence spectroscopy and describes the experimental setup and procedures for preparing standard curves and analyzing samples.
Full Transcript
04201332 Laboratory in Instrumental Analysis ปฏิบัติการที่ 4 Fluorescence spectroscopy I การวิเคราะห์ปริมาณ Hg2+ โดยอาศัยการลดลงของสัญญาณฟลูออเรสเซนต์ ของคาร์บอนควอนตัมดอทในน...
04201332 Laboratory in Instrumental Analysis ปฏิบัติการที่ 4 Fluorescence spectroscopy I การวิเคราะห์ปริมาณ Hg2+ โดยอาศัยการลดลงของสัญญาณฟลูออเรสเซนต์ ของคาร์บอนควอนตัมดอทในน้า วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาหาความยาวคลื่นในการกระตุ้น (ex) และการคายแสงฟลูออเรสเซนต์ (em) ของคาร์บอน ควอนตัมดอท 2. ประยุกต์คาร์บอนควอนตัมดอทเป็นฟลูออเรสเซนส์เซนเซอร์ในการตรวจวัดปริมาณ Hg2+ ในน้า บทน้า ฟลูออเรสเซนต์สเปกโตรสโคปี (Fluorescence spectroscopy) เป็นเทคนิคที่ใช้วิเคราะห์คุณสมบัติ ของสารโดยการอาศัยการดูดกลืนรังสียูวีที่ส่งผลให้โมเลกุลถูกกระตุ้นและมีการสั่นภายในโมเลกุลจากระดับขัน พลังงานสถานะพืน (ground state) ไปสู่ระดับขันพลังงานที่สูงขึน (excited state) เรียกว่า การดูดพลังงาน (excite energy) โมเลกุล ที่มีการเคลื่อนที่ไปอยู่ในระดับของชันพลังงานที่สู งจะไม่มีความเสถียร จึงมีการ ปลดปล่อยพลังงานและตกลงมาในชันระดับพลังงานที่ต่้ากว่า พลังงานที่โมเลกุลปลดปล่ อยจากระดั บชัน พลังงานกระตุ้นชันที่หนึ่งสู่ระดับชันพลังงานสถานะพืนที่จะท้าให้เกิดการคายโฟตอน (emission of photon) ท้าให้เกิดสเปกตรัมในช่วงฟลูออเรสเซนต์ ณ ค่าพลังงานที่กระตุ้นที่จ้าเพาะของสารแต่ละชนิด ข้อดีของเทคนิคนีคือให้ขีดต่้าสุดในการวัด (detection limit) ดีกว่าเทคนิคยูวี-วิสิเบิลสเปกโทรโฟโต มิทรี และยังมีความจ้าเพาะเจาะจง (selectivity) ต่อโมเลกุลที่จะวิเคราะห์มากกว่าอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ใน ด้านหลักการของเครื่องมือนัน เครื่องสเปกโทรฟลูออโรมิเตอร์ (spectrofluorometer) จะมีความซับซ้อน มากกว่าเครื่องยูวี-วิสิเบิล สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ (UV-Vis spectrophotometer) โมเลกุลส่วนใหญ่สามารถวัด ด้วยเทคนิค UV-Vis spectrophotometry ได้ แต่บางโมเลกุลเท่านันที่จะแสดงสมบัติการเกิดฟลูออเรสเซนต์ ดังนันเทคนิค fluorescence spectrometry จะเหมาะต่อการวิเคราะห์โมเลกุลบางประเภทเท่านัน แต่จะมี ความจ้าเพาะต่อโมเลกุลที่วิเคราะห์มาก เพราะเทคนิคนีต้องมีการเลือกทัง ความยาวคลื่นในการกระตุ้น (ex) อิเล็กตรอน และความยาวคลื่น ในการคายแสงฟลูออเรสเซนต์ (em) ของแต่ละโมเลกุลให้เหมาะสม ดังนัน โมเลกุลอื่นที่ถูกเร้าและเกิดฟลูออเรสเซนต์ที่คนละความยาวคลื่นก็จะไม่รบกวน องค์ประกอบภายในเครื่องสเปกโทรฟลูออโรมิเตอร์ แสดงดังรูปที่ 1 รูปที่ 1 ส่วนประกอบของเครื่อง Spectrofluorometer 12 04201332 Laboratory in Instrumental Analysis 1. แหล่งก้าเนิดแสง (light source) แหล่งก้าเนิดแสงภายในเครื่องสเปกโทรฟลูออโรมิเตอร์จะต้องมีความเข้มแสงสูงเนื่องจากความเข้ม ของแสงมีผลต่อการกระตุ้นจ้านวนโมเลกุลให้ขึนไปที่สภาวะเร้าในปัจจุบันแหล่งก้าเนิดแสงที่นิยมใช้ในเครื่อง สเปกโทรฟลูออโรมิเตอร์จะเป็นเลเซอร์ซึ่งสามารถให้ความยาวคลื่นแสงได้ตังแต่ 300-600 nm 2. ส่วนแยกความยาวคลื่น (excitation and emission monochromator) ส่วนแยกความยาวคลื่นที่ใช้ในการกระตุ้น (Excitation monochromator) มีหน้าที่เลือก ความยาว คลื่นที่เราต้องการใช้ส้าหรับการกระตุ้นโมเลกุลให้ขึนไปอยู่ในสภาวะเร้า ส่ ว นแยกความยาวคลื่ น แสงฟลู อ อเรสเซนต์ ที่ โ มเลกุ ล ของสารคายแสงออกมา (Emission monochromator) มีหน้าที่เลือกเฉพาะความยาวคลื่นแสงฟลูออเรสเซนต์ที่เราต้องการจะวัด 3. ภาชนะใส่สารละลาย (cell หรือ cuvette) เป็นคิวเวตที่ท้าจากควอตซ์และมีด้านใสทังสี่ด้าน เพื่อให้แสงกระตุ้นผ่านเข้ามาแล้ววัดแสงฟลู ออเรส เซนต์ที่ออกมาในแนวตังฉาก เนื่องจากแสงฟลูออเรสเซนต์ที่ออกมาที่มุม 90oC มีค่าสูงสุด 4. ตัวตรวจวัดหรือดีเทคเตอร์ (detector) แสงฟลูออเรสเซนต์ที่โมเลกุลของสารคายออกมาจะอยู่ในช่วงอัลตราไวโอเลตหรือช่วงแสงที่เห็นได้อยู่ แล้วดังนันตัวตรวจวัดจึงใช้แบบเดียวกับในเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ได้เลยแต่แสงฟลูออเรสเซนต์จะมีความ เข้มต่้ามาก ดังนันจ้าเป็นต้องมีตัวขยายสัญญาณ (Amplifier) จ้านวนมาก 5. ตัวบันทึกสัญญาณ (recorder) ท้าหน้าที่แปรผลสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ให้ออกมาอยู่ในรูปตัวเลขหรือดิจิทัล ลักษณะทั่วไปของคาร์บอนควอนตัมดอท คาร์บอนควอนตัมดอท เป็นอนุภาคนาโนที่มีรูปร่างค่อนข้างเป็นทรงกลมโดยโครงสร้างภายในแกนกลาง อาจมีรูปร่างเป็น ได้ตังแต่อะมอร์ ฟัส ไปจนถึงผลึ กของ graphitic หรือ turbostratic carbon (sp2 carbon) หรือแกรฟีนและแผ่นแกรฟีนออกไซด์หลอมโดยมีโครงสร้างคล้ายเพชรจากการไฮบริไดเซชันแบบ sp3 ของ คาร์บอนดังรูปที่ 2 จากรูปจะเห็นได้ว่าพืนผิวของคาร์บอนดอทจะมีหมู่คาร์บอกซิลเป็นจ้านวนมาก ซึ่งทังนีก็ ขึนกับ วิธีการสั งเคราะห์ โดยปกติป ริ มาณออกซิเจนในคาร์บอนดอทจะมีอยู่ในช่ว ง 5-50% (โดยน้าหนัก) นอกจากนียังพบว่าในโครงสร้างของคาร์บอนดอทมีหมู่คาร์บอกซิล จ้านวนมากซึ่งหมู่นีเป็นส่วนส้าคัญที่ท้าให้ คาร์บอนดอทละลายน้าได้และสามารถที่จะปรับแต่งพืนผิวของคาร์บอนดอทให้มีหมู่ฟังก์ชันที่หลากหลายได้ และขณะเดียวกันก็สามารถที่จะปรับพืนผิวคาร์บอนดอทให้มีหมู่อื่นได้ เช่น สารอินทรีย์ โพลิเมอร์ สารอนินท รีย์หรือวัสดุชีวภาพ ซึ่งการปรับพืนผิวด้วยโมเลกุลต่างๆ เหล่านีสามารถท้าให้ประสิทธิภาพในการคายแสง ฟลูออเรสเซนส์เพิ่มขึน รูปที่ 2 โครงสร้างของคาร์บอนควอนตัมดอท 13 04201332 Laboratory in Instrumental Analysis คุณสมบัติเชิงแสงฟลูออเรสเซนส์ของคาร์บอนคอนตัมดอท ปัจจุบันคาร์บอนดอทได้รับความสนใจเนื่องจากเป็น อนุภาคนาโนที่มีคุณสมบัติการวาวแสง ท้า ให้มี การศึกษาสมบัติเชิงแสงเพื่อใช้ในการอธิบายกลไกการวาวแสงที่เกิดขึนของคาร์บอนดอท ในปี ค.ศ. 2015 Zhu และคณะ ได้อธิบายไว้ว่าการวาวแสงของคาร์บอนดอทนันเกิดจาก กลไก 4 แบบ ดังนี 1. ปรากฏการณ์ควอนตัมคอนไฟน์เมนต์ (the quantum confinement) เป็นปรากฏการณ์ที่การวาว แสงถูกก้าหนดโดยขนาดของคาร์บอนดอท เมื่อขนาด อนุภาคยิ่งเล็กลง แบนด์แก็พ (band gap) จะยิ่งขยาย กว้าง มากขึน ท้าให้ส่งผลต่อความยาวคลื่นการกระตุ้นและการ วาวแสงของคาร์บอนดอต 2. ปรากฏการณ์สถานะบนพืนผิว (the surface state) เป็นปรากฏการณ์ที่การวาวแสงถูกก้าหนด โดยหมู่ฟังก์ชันหรือธาตุบนพืนผิวของคาร์บอนดอท เนื่องจากหมู่ฟังก์ชันจะส่งผลให้การวาวแสงเปลี่ยนไป ท้า ให้สามารถควบคุมคุณสมบัติของคาร์บอนดอตด้วยการดัดแปลงพืนผิวอนุภาคได้ 3. ปรากฏการณ์สถานะโมเลกุล (the molecule state) เป็นปรากฏการณ์ที่การวาวแสงถูกก้าหนด โดย โมเลกุลทีเ่ ชื่อมต่ออยู่บนพืนผิวหรือภายในคาร์บอนดอท เนื่องจากมีการอธิบายไว้ว่าเพียงแค่หมู่ฟังก์ชันบน พืนผิวไม่น่าจะมีการวาวแสงที่เข้มและเป็นเอกลักษณ์ได้อย่างเพียงพอ 4. ปรากฏการณ์จากการคายพลังงานเมื่อเกิดการเชื่อมขวาง (the crosslink-enhanced emission; CEE) เป็ น ปรากฏการณ์ที่การวาวแสงถูกก้าหนดโดยการเชื่อมกันของพอลิ เมอร์ที่ใช้เป็นสารตังต้นในการ สั ง เคราะห์ ค าร์ บ อนดอท ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ จ ะพบในคาร์ บ อนดอทประเภทพอลิ เ มอร์ ด อท เช่ น PEI (Polyethylenimine) โดยลักษณะสเปกตรัมการคายแสงที่ได้ของคาร์บอนดอทแสดงดังรูปที่ 3 รูปที่ 3 แสดงสเปกตรัมการดูดกลืนแสง () และสเปกตรัมการกระตุ้นแสง () และการคายแสง ฟลูออเรสเซนส์ () ของคาร์บอนดอท และมุมขวา รูปถ่ายของคาร์บอนดอทภายใต้แสงยูวี ในการทดลองนี จึงได้ท้าการศึกษาสมบัติการคายแสงฟลูออเรสเซนส์ของคาร์บอนควอนตัมดอท และ ประยุกต์ใช้คาร์บอนควอนตัมดอทเป็นฟลูออเรสเซนเซอร์ในการตรวจวัด Hg2+ ในน้า โดยเมื่อท้าการเติม Hg2+ ลงไปในสารละลายคาร์บอนควอนตัมดอท จะท้าให้ความเข้มแสงฟลูออเรสเซนส์ลดลง ความเข้มแสงฟลูออเรส เซนส์ที่ลดลงจะแปรผันกับความเข้มข้นของ Hg2+ ดังแสดงในรูปที่ 4 14 04201332 Laboratory in Instrumental Analysis Hg2+ Concentration of Hg2+ (mM) รูปที่ 4 แสดงความเข้มแสงฟลูออเรสเซนส์ที่ลดลงจะแปรผันตรงกับความเข้มข้นของ Hg2+ สร้างกราฟมาตรฐานระหว่าง F (แกน y) กับความเข้มข้นของ quencher [Hg2+] (แกน x) เมื่อวัด สัญญาณการคายแสงฟลู ออเรสเซนส์ ของคาร์บอนควอนตัมดอท ที่มีตัวอย่าง Hg2+ น้าไปเทียบกับสมการ เส้นตรงแล้วน้าไปค้านวณหาความเข้มข้นของ Hg2+ ในตัวอย่างได้ สารเคมีและอุปกรณ์ 1. สารละลายคาร์บอนดอท (สังเคราะห์ไว้แล้ว) 2. HgCl2 (MW 271.496 g/mol) 3. ขวดวัดปริมาตรขนาด 10 mL จ้านวน 20 ใบ 4. ขวดฉีดน้ากลั่น จ้านวน 1 ขวด 5. บีกเกอร์ขนาด 250 mL จ้านวน 3 ใบ 6. บีกเกอร์ขนาด 100 mL จ้านวน 2 ใบ 7. บีกเกอร์ขนาด 50 mL จ้านวน 2 ใบ 8. ขวด vial ขนาด 10 mL จ้านวน 3 ขวด 9. หลอดหยดสาร จ้านวน 2 อัน 10. ช้อนตักสาร จ้านวน 1 อัน 11. ไมโครปิเปต ขนาด 20-200 L จ้านวน 1 อัน 12. Tip ส้าหรับไมโครปิเปต ขนาด 20-200 L 13. น้า RO 14. เครื่อง Fluorescence spectrometer พร้อม cuvette วิธีทดลอง ตอนที่ 1 เตรียมสารละลาย stock Hg2+ 10 mM ในน้า RO ปริมาตร 10.00 mL ชั่ง HgCl2 0.xxxx g (นิสิตค้านวณเอง) ละลายด้วยน้า RO แล้วปรับปริมาตรเป็น 10.00 mL ถ่ายเท ใส่ในขวด vial และติดฉลากให้เรียบร้อย 15 04201332 Laboratory in Instrumental Analysis ตอนที่ 2 เตรียมสารละลาย working Hg2+ 1.0 mM ในน้า RO ปริมาตร 10.00 mL ปิ เ ปต Hg2+ 10 mM มา xx mL ใส่ ใ นขวดวั ด ปริ ม าตรขนาด 10.00 mL เจื อ จางให้ ถึ ง ขี ด บอก ปริมาตรด้วยน้า RO ถ่ายเทใส่ขวด vial และติดฉลากให้เรียบร้อย ตอนที่ 3 เตรียมสารละลายเพื่อสร้างกราฟมาตรฐานของการวิเคราะห์ Hg2+ ปิ เปตสารละลายคาร์ บ อนดอท มา 250 L ใส่ ล งในขวดวัดปริมาตรขนาด 10.00 mL จ้านวน 8 ใบ จากนันท้าการปิเปตสารละลาย 1 mM Hg2+ ลงไป 0, 50, 100, 200, 300, 400, 500 และ 800 L ตามล้าดับ ท้าการปรับปริมาตรให้ถึงขีดบอกปริมาตรด้วยน้า RO จากนันน้าไปวัดสเปกตรัมการคายแสงฟลูออเรสเซนส์ โดยท้าการกระตุ้นแสงที่ความยาวคลื่น 360 nm (ท้าการสแกนหาความยาวคลื่นในการกระตุ้นแสงอีกครัง) ใบที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 คาร์บอนดอท (L) 250 250 250 250 250 250 250 250 2+ ปริมาตรสารละลาย 1 mM Hg (L) 0 50 100 200 300 400 500 800 ตอนที่ 4 เตรียมสารเพื่อวิเคราะห์ตัวอย่าง Hg2+ ปิ เปตสารละลายคาร์ บ อนดอท มา 250 L ใส่ ล งในขวดวัดปริมาตรขนาด 10.00 mL จ้านวน 4 ใบ จากนันท้าการปิเปตสารละลายตัวอย่าง Hg2+ ลงไป 150 L ลงในขวดวัดปริมาตรใบที่ 2-4 ตามล้าดับ ท้าการ ปรับปริมาตรให้ถึงขีดบอกปริมาตรด้วยน้า RO จากนันน้าไปวัดสเปกตรัมการคายแสงฟลูออเรสเซนส์ ตอนที่ 5 วัดความเข้มแสงฟลูออเรสเซนส์ของสารละลายคาร์บอนดอทที่ไม่มีและมี Hg2+ 5.1 ศึกษาหาความยาวคลื่นที่ใช้ในการกระตุ้น (ex) และความยาวคลื่นที่ใช้ในการคายแสง (em) ที่ เหมาะสมของคาร์บอนดอท โดยเปิดช่อง slit width excitation และ emission เป็น 5/5 nm 5.2 ศึกษาผลของ Hg2+ ต่อความเข้มแสงฟลูออเรสเซนส์ของคาร์บอนดอท โดยใช้สารละลายที่เตรียมได้ ในตอนที่ 3 แล้วน้าข้อมูลความเข้มแสงกับความเข้มเข้นของ Hg2+ ไปสร้างกราฟมาตรฐานระหว่าง ความเข้ม แสงฟลูออเรสเซนส์ที่ความยาวคลื่นในการคายแสงสูงสุด (em) (แกน y) กับความเข้มข้น Hg2+ ในหน่วย nM (แกน x) 5.3 วัดความเข้มแสงฟลูออเรสเซนส์ของสารละลายตัวอย่าง และค้านวณหาความเข้มข้นของ Hg2+ ใน ตัวอย่าง การรายงาน 1. ค้านวณความเข้มข้นจริงของสารละลาย Hg2+ ที่เตรียมได้ในตอนที่ 1 และ 2 2. พล็อตสเปกตรัมการกระตุ้นแสง และการคายแสงของสารละลายคาร์บอนดอท 3. พล็อตสเปกตรัมการคายแสงของคาร์บอนดอทในสภาวะที่มี Hg2+ ความเข้มข้นแตกต่างกัน 4. พล๊อตกราฟมาตรฐานของ Hg2+ (ใช้ความเข้มข้นจริงที่เตรียมได้) โดยท้าการพล็อตกราฟระหว่าง F (แกน y) กับ [Hg2+] (nM) (แกน x) 5. ค้านวณหาความเข้มข้นของ Hg2+ ในตัวอย่าง หาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของปริมาณ Hg2+ ในตัวอย่างที่วิเคราะห์ได้ 16