พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 PDF

Summary

This document is a Thai law, specifically the 'พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539'. It details the procedures for administrative actions by government officials. It discusses various aspects of administrative processes and decision-making.

Full Transcript

: ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com พระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ภูมิพลอดุลยเด...

: ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com พระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ เปนปที่ ๕๑ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่สมควรมีกฎหมายวาดวยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกำหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันถัดจากวันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา ๓ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายตาง ๆ ใหเปนไปตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้ เวน แตในกรณีที่กฎหมายใดกำหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเรื่องใดไวโดยเฉพาะและมีหลักเกณฑที่ประกันความเปน ธรรมหรือมีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการไมต่ำกวาหลักเกณฑที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้ ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับกับขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณหรือโตแยงที่กำหนดในกฎหมาย มาตรา ๔ พระราชบัญญัตินี้มิใหใชบังคับแก (๑) รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี (๒) องคกรที่ใชอำนาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ (๓) การพิจารณาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีในงานทางนโยบายโดยตรง (๔) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดาเนินงานของเจาหนาที่ในกระบวนการพิจารณาคดี การบังคับ คดี และการวางทรัพย (๕) การพิจารณาวินิจฉัยเรื่องรองทุกขและการสั่งการตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกา (๖) การดำเนินงานเกี่ยวกับนโยบายการตางประเทศ (๗) การดำเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารหรือเจาหนาที่ซึ่งปฏิบัติหนาที่ทางยุทธการรวมกับทหารในการปองกัน และรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ (๘) การดำเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (๙) การดำเนินกิจการขององคการทางศาสนา 1 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com การยกเวนไมใหนำบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้มาใชบังคับแกการดำเนินกิจการใดหรือกับหนวยงานใด นอกจากที่กำหนดไวในวรรคหนึ่ง ใหตราเปนพระราชกฤษฎีกาตามขอเสนอของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทาง ปกครอง มาตรา ๕ ในพระรำชบัญญัตินี้ “วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” หมายความวา การเตรียมการและการดำเนินการของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมี คำสั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึงการดำเนินการใด ๆ ในทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้ “การพิจารณาทางปกครอง” หมายความวา การเตรียมการและการดำเนินการของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคำสั่ง ทางปกครอง “คำสั่งทางปกครอง” หมายความวา (๑) การใชอำนาจตามกฎหมายของเจาหนาที่ที่มีผลเปนการสรางนิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคลในอันที่จะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาที่ของบุคคล ไมวาจะเปนการถาวรหรือ ชั่ วคราว เช น การสั่ งการ การอนุ ญ าต การอนุ มั ติ การวินิ จฉัย อุ ท ธรณ การรับ รอง และการรับ จดทะเบี ยน แต ไม หมายความรวมถึงการออกกฎ (๒) การอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง “กฎ” หมายความวา พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอบัญญัติทองถิ่น ระเบียบ ขอบังคับ หรือบทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเปนการทั่วไป โดยไมมุงหมายใหใชบังคับแกกรณีใดหรือบุคคลใดเปนการเฉพาะ “คณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท” หมายความวา คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มีการจัดองคกรและ วิธีพิจารณาสำหรับการวินิจฉัยชี้ขาดสิทธิและหนาที่ตามกฎหมาย “เจาหนาที่” หมายความวา บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใชอำนาจหรือไดรับมอบใหใชอำนาจทาง ปกครองของรัฐในการดำเนินการอยางหนึ่งอยางใดตามกฎหมาย ไมวาจะเปนการจัดตั้งขึ้นในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการอื่นของรัฐหรือไมก็ตาม “คูกรณี” หมายความวา ผูยื่นคำขอหรือผูคัดคานคำขอ ผูอยูในบังคับหรือจะอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครอง และผูซึ่งไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเนื่องจากสิทธิของผูนั้นจะถูกกระทบกระเทือนจากผลของคำสั่ง ทางปกครอง มาตรา ๖ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอำนาจออกกฎกระทรวงและประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับได หมวด ๑ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง มาตรา ๗ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” ประกอบดวย ประธานกรรมการคนหนึ่ง ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เลขาธิการ 2 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com คณะกรรมการขาราชการพลเรือน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาและผูทรงคุณวุฒิอีกไมนอยกวาหาคนแตไมเกินเกา คนเปนกรรมการ ใหคณะรัฐมนตรีแตงตั้งประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณ วุฒิ โดยแตงตั้งจากผูซึ่งมีความเชี่ยวชาญ ในทางนิติศาสตร รัฐประศาสนศาสตร รัฐศาสตร สังคมศาสตร หรือการบริหารราชการแผนดิน แตผูนั้นตองไมเปนผู ดำรงตำแหนงทางการเมือง ใหเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาแตงตั้งขาราชการของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเปนเลขานุการ และผูชวยเลขานุการ มาตรา ๘ ใหกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระดำรงตำแหนงคราวละสามป กรรมการซึ่งพนจากตำแหนง อาจไดรับแตงตั้งอีกได ในกรณีที่กรรมการพนจากตำแหนงตามวาระ แตยังมิไดแตงตั้งกรรมการใหม ใหกรรมการนั้นปฏิบัติหนาที่ไป พลางกอนจนกวาจะไดแตงตั้งกรรมการใหม มาตรา ๙ นอกจากการพนจากตำแหนงตามวาระตามมาตรา ๘ กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งพนจาก ตำแหนงเมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติใหออกหรือเมื่อมีเหตุหนึ่งเหตุใดตามมาตรา ๗๖ มาตรา ๑๐ ใหสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาทำหนาที่เปนสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธี ปฏิบัติราชการทางปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม การศึกษาหาขอมูลและกิจการตาง ๆ ที่เกี่ยวกับงานของ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง มาตรา ๑๑ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมีอำนาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) สอดสองดูแลและใหคำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงานของเจาหนาที่ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) ใหคำปรึกษาแกเจาหนาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ตามที่บุคคลดังกลาวรองขอ ทั้งนี้ ตาม หลักเกณฑที่คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองกำหนด (๓) มีหนังสือเรียกใหเจาหนาที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความเห็นประกอบการพิจารณาได (๔) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรือประกาศตามพระราชบัญญัตินี้ (๕) จัดทำรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เสนอคณะรัฐมนตรีเปนครั้งคราวตามความเหมาะสม แตอยางนอยปละหนึ่งครั้ง เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติราชการทางปกครองใหเปนไปโดยมีความเปนธรรมและมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (๖) เรื่องอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย 3 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com หมวด ๒ คําสัง่ ทางปกครอง ส่วนที่ ๑ เจ้าหน้าที่ มาตรา ๑๒ คำสั่งทางปกครองจะตองกระทำโดยเจาหนาที่ซึ่งมีอำนาจหนาที่ในเรื่องนั้น มาตรา ๑๓ เจาหนาที่ดังตอไปนี้จะทำการพิจารณาทางปกครองไมได (๑) เปนคูกรณีเอง (๒) เปนคูหมั้นหรือคูสมรสของคูกรณี (๓) เปนญาติของคูกรณี คือ เปนบุพการีหรือผูสืบสันดานไมวาชั้นใด ๆ หรือเปนพี่นองหรือลูกพี่ลูกนองนับได เพียงภายในสามชั้น หรือเปนญาติเกี่ยวพันทางแตงงานนับไดเพียงสองชั้น (๔) เปหรือเคยเปนผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูพิทักษหรือผูแทนหรือตัวแทนของคูกรณี (๕) เปนเจาหนี้หรือลูกหนี้ หรือเปนนายจางของคูกรณี (๖) กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๔ เมื่อมี กรณี ตามมาตรา ๑๓ หรือคูกรณี คัดคานวาเจาหนาที่ผูใดเปนบุคคลตามมาตรา ๑๓ ให เจาหนาที่ผูนั้นหยุดการพิจารณาเรื่องไวกอน และแจงใหผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งทราบ เพื่อที่ผูบังคับบัญชา ดังกลาวจะไดมีคำสั่งตอไป การยื่นคำคัดคาน การพิจารณาคำคัดคาน และการสั่งใหเจาหนาที่อื่นเขาปฏิบัติหนาที่แทนผูที่ถูกคัดคานให เปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๕ เมื่อมีกรณีตามมาตรา ๑๓ หรือคูกรณีคัดคานวากรรมการในคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทาง ปกครองคณะใดมีลักษณะดังกลาว ใหประธานกรรมการเรียกประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาเหตุคัดคานนั้น ในการ ประชุมดังกลาวกรรมการผูถูกคัดคานเมื่อไดชี้แจงขอเท็จจริงและตอบขอซักถำมแลวตองออกจากที่ประชุม ถาคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมีผูถูกคัดคานในระหวางที่กรรมการผูถูกคัดคานตอง ออกจากที่ประชุม ใหถือวาคณะกรรมการคณะนั้นประกอบดวยกรรมการทุกคนที่ไมถูกคัดคาน ถาที่ ป ระชุ ม มี ม ติ ให ก รรมการผู ถู ก คั ด ค านปฏิ บั ติ ห น าที่ ต อ ไปดวยคะแนนเสี ยงไม น อ ยกวาสองในสามของ กรรมการที่ไมถูกคัดคาน ก็ใหกรรมการผูนั้นปฏิบัติหนาที่ตอไปได มติดังกลาวใหกระทำโดยวิธีลงคะแนนลับและใหเปน ที่สุด การยื่นคำคัดคานและการพิจารณาคำคัดคานใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีกำรที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๖ ในกรณี มี เหตุ อื่ น ใดนอกจากที่ บั ญ ญั ติ ไว ในมาตรา ๑๓ เกี่ ย วกั บ เจ าหน าที่ ห รื อ กรรมการใน คณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองซึ่งมีสภาพรายแรงอันอาจทำใหการพิจารณาทางปกครองไมเปนกลาง เจาหนาที่หรือกรรมการผูนั้นจะทำการพิจารณาทางปกครองในเรื่องนั้นไมได 4 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหดำเนินการดังนี้ (๑) ถาผูนั้นเห็นเองวาตนมีกรณีดังกลาว ใหผูนั้นหยุดการพิจารณาเรื่องไวกอนและแจงใหผูบังคับบัญชาเหนือ ตนขึ้นไปชั้นหนึ่งหรือประธานกรรมการทราบ แลวแตกรณี (๒) ถามีคู กรณี คัดคานวาผูนั้นมี เหตุ ดังกลาว หากผูนั้นเห็นวาตนไมมีเหตุตามที่คัดค านนั้น ผูนั้นจะทำการ พิจารณาเรื่องตอไปก็ไดแตตองแจงใหผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งหรือประธานกรรมการทราบ แลวแตกรณี (๓) ใหผูบังคับบัญชาของผูนั้นหรือคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองซึ่งผูนั้นเปนกรรมการอยูมี คำสั่งหรือมีมติโดยไมชักช้ำ แลวแตกรณี วาผูนั้นมีอำนาจในการพิจารณาทางปกครองในเรื่องนั้นหรือไม ใหนำบทบัญญัติมาตรา ๑๔ วรรคสอง และมาตรา ๑๕ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่มาใชบังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๗ การกระทำใด ๆ ของเจาหนาที่หรือกรรมการในคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทาปกครองที่ได กระทำไปกอนหยุดการพิจารณาตามมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๖ ยอมไมเสียไป เวนแตเจาหนาที่ผูเขาปฏิบัติหนาที่แทน ผูถูกคัดคานหรือคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครอง แลวแตกรณี จะเห็นสมควรดำเนินการสวนหนึ่งสวนใด เสียใหมก็ได มาตรา ๑๘ บทบัญญัติมาตรา ๑๓ ถึงมาตรา ๑๖ ไมใหนำมาใชบังคับกับกรณีที่มีความจำเปนเรงดวน หาก ปล อยให ล าช าไปจะเสี ย หายต อ ประโยชน ส าธารณะหรือ สิ ท ธิข องบุ ค คลจะเสี ยหายโดยไม มี ท างแกไขได หรือไม มี เจาหนาที่อื่นปฏิบัติหนาที่แทนผูนั้นได มาตรา ๑๙ ถาปรากฏภายหลังวาเจาหนาที่หรือกรรมการในคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองใด ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามหรือการแตงตั้งไมชอบดวยกฎหมาย อันเปนเหตุใหผูนั้นตองพนจากตำแหนง การ พนจากตำแหนงเชนวานี้ไมกระทบกระเทือนถึงการใดที่ผูนั้นไดปฏิบัติไปตามอำนาจหนาที่ มาตรา ๒๐ ผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งตามมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๖ ใหหมายความรวมถึง ผูซึ่ง กฎหมายกำหนดให มี อ ำนาจกำกั บ หรื อ ควบคุ ม ดู แ ลสำหรับ กรณี ข องเจ าหน าที่ ที่ ไม มี ผู บั งคั บ บั ญ ชาโดยตรง และ นายกรัฐมนตรีสำหรับกรณีที่เจาหนาที่ผูนั้นเปนรัฐมนตรี ส่วนที่ ๒ คู่กรณี มาตรา ๒๑ บุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือนิติบุคคล อาจเปนคูกรณี ในการพิจารณาทางปกครองไดตาม ขอบเขตที่สิทธิของตนถูกกระทบกระเทือนหรืออาจถูกกระทบกระเทือนโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได มาตรา ๒๒ ผูมีความสามารถกระทำการในกระบวนการพิจารณาทางปกครองได จะตองเปน (๑) ผูซึ่งบรรลุนิติภาวะ (๒) ผูซึ่งมีบทกฎหมายเฉพาะกำหนดใหมีความสามารถกระทำการในเรื่องที่กำหนดได แมผูนั้นจะยังไมบรรลุนิติ ภาวะหรือความสามารถถูกจำกัดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 5 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com (๓) นิติบุคคลหรือคณะบุคคลตามมาตรา ๒๑ โดยผูแทนหรือตัวแทน แลวแตกรณี (๔) ผูซึ่งมีประกาศของนายกรัฐมนตรีห รือผูซึ่งนายกรัฐมนตรีม อบหมายในราชกิจจานุเบกษากำหนดให มี ความสามารถกระทำการในเรื่องที่กำหนดได แมผูนั้นจะยังไมบรรลุนิติภาวะหรือความสามารถถูกจำกัดตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๓ ในการพิ จ ารณาทำงปกครองที่ คู ก รณี ต อ งมาปรากฏตั ว ต อ หน า เจ า หน า ที่ คู ก รณี มี สิ ท ธิ น ำ ทนายความหรือที่ปรึกษาของตนเขามาในการพิจารณาทางปกครองได การใดที่ทนายความหรือที่ปรึกษาไดทำลงตอหนาคูกรณีใหถือวาเปนการกระทำของคูกรณี เวนแตคูกรณีจะได คัดคานเสียแตในขณะนั้น มาตรา ๒๔ คูกรณีอาจมีหนังสือแตงตั้งใหบุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งบรรลุนิติภาวะกระทำการอยางหนึ่งอยางใด ตามที่กำหนดแทนตนในกระบวนการพิจารณาทางปกครองใด ๆ ได ในการนี้ เจาหนาที่จะดำเนินกระบวนพิจารณาทาง ปกครองกับตัวคูกรณีไดเฉพาะเมื่อเปนเรื่องที่ผูนั้นมีหนาที่โดยตรงที่จะตองทำการนั้นดวยตนเองและตองแจงใหผูไดรับ การแตงตั้งใหกระทำการแทนทราบดวย หากปรากฏวาผูไดรับการแตงตั้งใหกระทำการแทนผูใดไมทราบขอเท็จจริงในเรื่องนั้นเพียงพอหรือมีเหตุไมควร ไววางใจในความสามารถของบุคคลดังกลาวใหเจาหนาที่แจงใหคูกรณีทราบโดยไมชักช้ำ การแตงตั้งใหกระทำการแทนไมถือวาสิ้นสุดลงเพราะความตายของคูกรณีหรือการที่ความสามาถหรือความเปน ผูแทนของคูกรณีเปลี่ยนแปลงไป เวนแตผูสืบสิทธิตามกฎหมายของคูกรณีหรือคูกรณีจะถอนการแตงตั้งดังกลาว มาตรา ๒๕ ในกรณีที่มีการยื่นคำขอโดยมีผูลงชื่อรวมกันเกินหาสิบคนหรือมีคูกรณีเกินหาสิบคนยื่นคำขอที่มี ขอความอยางเดียวกันหรือทำนองเดียวกัน ถาในคำขอมี การระบุ ใหบุคคลใดเป นตัวแทนของบุคคลดังกลาวหรือมี ขอความเปนปริยายใหเขาใจไดเชนนั้น ใหถือวาผูที่ถูกระบุชื่อดังกลาวเปนตัวแทนรวมของคูกรณีเหลานั้น ในกรณีที่มีคูกรณีเกินหาสิบคนยื่นคำขอใหมีคำสั่งทางปกครองในเรื่องเดียวกัน โดยไมมีการกำหนดใหบุคคลใด เปนตัวแทนรวมของตนตามวรรคหนึ่ง ใหเจาหนาที่ในเรื่องนั้นแตงตั้งบุคคลที่คูกรณีฝายขางมากเห็นชอบเปนตัวแทนรวม ของบุคคลดังกลาว ในกรณีนี้ใหนำมาตรา ๒๔ วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบังคับโดยอนุโลม ตัวแทนรวมตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองตองเปนบุคคลธรรมดา คูกรณีจะบอกเลิกการใหตัวแทนรวมดำเนินการแทนตนเมื่อใดก็ไดแตตองมีหนังสือแจงใหเจาหนาที่ทราบและ ดำเนินการใด ๆ ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองตอไปดวยตนเอง ตัวแทนรวมจะบอกเลิกการเปนตัวแทนเมื่อใดก็ได แตตองมีหนังสือแจงใหเจาหนาที่ทราบกับตองแจงใหคูกรณี ทุกรายทราบดวย ส่วนที่ ๓ การพิจารณา 6 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com มาตรา ๒๖ เอกสารที่ยื่นตอเจาหนาที่ใหจัดทำเปนภาษาไทย ถาเปนเอกสารที่ทำขึ้นเปนภาษาตางประเทศ ให คูกรณีจัดทำคำแปลเปนภาษาไทยที่มีการรับรองความถูกตองมาใหภายในระยะเวลาที่เจาหนาที่กำหนด ในกรณีนี้ใหถือ วาเอกสารดังกลาวไดยื่นตอเจาหนาที่ในวันที่เจาหนาที่ไดรับคำแปลนั้น เวนแตเจาหนาที่จะยอมรับเอกสารที่ทำขึ้นเปน ภาษาตางประเทศ และในกรณีนี้ใหถือวาวันที่ไดยื่นเอกสารฉบับที่ทำขึ้นเปนภาษาตางประเทศเปนวันที่เจาหนาที่ไดรับ เอกสารดังกลาว การรับรองความถูกตองของคำแปลเปนภาษาไทยหรือการยอมรับเอกสารที่ทำขึ้นเปนภาษาตางประเทศ ให เปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๗ ใหเจาหนาที่แจงสิทธิและหนาที่ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองใหคูกรณีทราบตามความ จำเปนแกกรณี ถาคำขอหรือคำแถลงมีขอบกพรองหรือมีขอความที่อานไมเขาใจหรือผิดหลงอันเห็นไดชัดวาเกิดจากความไมรู หรือความเลินเลอของคูกรณี ใหเจาหนาที่แนะนำใหคูกรณีแกไขเพิ่มเติมใหถูกตอง มาตรา ๒๘ ในการพิจารณาทางปกครอง เจาหนาที่อาจตรวจสอบขอเท็จจริงไดตามความเหมาะสมในเรื่องนั้น ๆ โดยไมตองผูกพันอยูกับคำขอหรือพยานหลักฐานของคูกรณี มาตรา ๒๙ เจาหนาที่ตองพิจารณาพยานหลักฐานที่ตนเห็นวาจำเปนแกการพิสูจนขอเท็จจริง ในการนี้ ให รวมถึงการดำเนินการดังตอไปนี้ (๑) แสวงหาพยานหลักฐานทุกอยางที่เกี่ยวของ (๒) รับฟงพยานหลักฐาน คำชี้แจง หรือความเห็นของคูกรณีหรือของพยานบุคคลหรือพยานผูเชี่ยวชาญที่คูกรณี กลาวอาง เวนแตเจาหนาที่เห็นวาเปนการกลาวอางที่ไมจำเปน ฟุมเฟอยหรือเพื่อประวิงเวลา (๓) ขอขอเท็จจริงหรือความเห็นจากคูกรณี พยานบุคคล หรือพยานผูเชี่ยวชาญ (๔) ขอใหผูครอบครองเอกสารสงเอกสารที่เกี่ยวของ (๕) ออกไปตรวจสถานที่ คูกรณีตองใหความรวมมือกับเจาหนาที่ในการพิสูจนขอเท็จจริง และมีหนาที่แจงพยานหลักฐานที่ตนทราบแก เจาหนาที่ พยานหรื อ พยานผู เชี่ ย วชาญที่ เจ าหน าที่ เรีย กมาให ถ อ ยคาหรือ ทำความเห็ น มี สิ ท ธิ ได รับ ค า ป วยการตาม หลักเกณฑและวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๐ ในกรณีที่คำสั่งทำงปกครองอาจกระทบถึงสิทธิของคูกรณี เจาหนาที่ตองใหคูกรณีมีโอกาสที่จะได ทราบขอเท็จจริงอยางเพียงพอและมีโอกาสไดโตแยงและแสดงพยานหลักฐานของตน ความในวรรคหนึ่งมิใหนำมาใชบังคับในกรณีดังตอไปนี้ เวนแตเจาหนาที่จะเห็นสมควรปฏิบัติเปนอยางอื่น (๑) เมื่อมีความจำเปนรีบดวนหากปลอยใหเนิ่นชาไปจะกอใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงแกผูหนึ่งผูใดหรือ จะกระทบตอประโยชนสาธารณะ (๒) เมื่อจะมีผลทำใหระยะเวลาที่กฎหมายหรือกฎกำหนดไวในการทำคำสั่งทางปกครองตองลาชาออกไป (๓) เมื่อเปนขอเท็จจริงที่คูกรณีนั้นเองไดใหไวในคำขอ คำใหการหรือคำแถลง (๔) เมื่อโดยสภาพเห็นไดชัดในตัววาการใหโอกาสดังกลาวไมอาจกระทำได 7 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com (๕) เมื่อเปนมาตราการบังคับทางปกครอง (๖) กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง หามมิใหเจาหนาที่ใหโอกาสตามวรรคหนึ่ง ถาจะกอใหเกิดผลเสียหายอยางรายแรงตอประโยชนสาธารณะ มาตรา ๓๑ คูกรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสารที่จำเปนตองรูเพื่อการโตแยงหรือชี้แจงหรือปองกันสิทธิของตนได แตถายังไมไดทำคำสั่งทางปกครองในเรื่องนั้น คูกรณีไมมีสิทธิขอตรวจดูเอกสารอันเปนตนรางคำวินิจฉัย การตรวจดูเอกสาร คาใชจายในการตรวจดูเอกสาร หรือการจัดทำสำเนาเอกสารใหเปนไปตามหลักเกณฑและ วิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๒ เจาหนาที่อาจไมอนุญาตใหตรวจดูเอกสารหรือพยานหลักฐานได ถาเปนกรณีที่ตองรักษาไวเปน ความลับ มาตรา ๓๓ เพื่อประโยชนในการอำนวยความสะดวกแกประชาชน ความประหยัดและความมีประสิทธิภาพใน การดำเนินงานของรัฐ ใหคณะรัฐมนตรีวางระเบียบกำหนดหลักเกณฑและวิธีการเพื่อใหเจาหนาที่กำหนดเวลาสำหรับ การพิจารณาทางปกครองขึ้นไวตามความเหมาะสมแกกรณี ทั้งนี้ เทาที่ไมขัดหรือแยงกับกฎหมายหรือกฎในเรื่องนั้น ในกรณีที่การดำเนินงานในเรื่องใดจะตองผานการพิจารณาของเจาหนาที่มากกวาหนึ่งราย เจาหนาที่ที่เกี่ยวของ มีหนาที่ตองประสานงานกันในการกำหนดเวลาเพื่อการดำเนินงานในเรื่องนั้น ส่วนที่ ๔ รูปแบบและผลของคําสัง่ ทางปกครอง มาตรา ๓๔ คำสั่งทางปกครองอาจทำเปนหนังสือหรือวาจาหรือโดยการสื่อความหมายในรูปแบบอื่นก็ได แต ตองมีขอความหรือความหมายที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเขาใจได มาตรา ๓๕ ในกรณีที่คำสั่งทางปกครองเปนคำสั่งดวยวาจา ถาผูรับคำสั่งนั้นรองขอและการรองขอไดกระทำ โดยมีเหตุอันสมควรภายในเจ็ดวันนับแตวันที่มีคำสั่งดังกลาว เจาหนาที่ผูออกคำสั่งตองยืนยันคำสั่งนั้นเปนหนังสือ มาตรา ๓๖ คำสั่งทางปกครองที่ทำเปนหนังสืออยางนอยตองระบุ วัน เดือน และปที่ทำคำสั่ง ชื่อและตำแหนง ของเจาหนาที่ผูทำคำสั่ง พรอมทั้งมีลายมือชื่อของเจาหนาที่ผูทำคำสั่งนั้น มาตรา ๓๗ คำสั่งทางปกครองที่ทำเปนหนังสือและการยืนยันคำสั่งทางปกครองเปนหนังสือตองจัดใหมีเหตุผล ไวดวย และเหตุผลนั้นอยางนอยตองประกอบดวย (๑) ขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญ (๒) ขอกฎหมายที่อางอิง (๓) ขอพิจารณาและขอสนับสนุนในการใชดุลพินิจ นายกรัฐมนตรีหรือผูซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดใหคำสั่งทางปกครอง กรณีหนึ่งกรณีใดตองระบุเหตุผลไวในคำสั่งนั้นเองหรือในเอกสารแนบทายคำสั่งนั้นก็ได บทบัญญัติตามวรรคหนึ่งไมใชบังคับกับกรณีดังตอไปนี้ 8 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com (๑) เปนกรณีที่มีผลตรงตามคำขอและไมกระทบสิทธิและหนาที่ของบุคคลอื่น (๒) เหตุผลนั้นเปนที่รูกันอยูแลวโดยไมจำตองระบุอีก (๓) เปนกรณีที่ตองรักษาไวเปนความลับตามมาตรา ๓๒ (๔) เปนการออกคำสั่งทางปกครองดวยวาจาหรือเปนกรณีเรงดวน แตตองใหเหตุผลเปลายลักษณอักษรในเวลา อันควรหากผูอยูในบังคับของคำสั่งนั้นรองขอ มาตรา ๓๘ บทบัญญัติตามมาตรา ๓๖ และมาตรา ๓๗ วรรคหนึ่ง มิใหใชบังคับกับคำสั่งทางปกครองที่กำหนด ในกฎกระทรวง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๙ การออกคำสั่ งทางปกครองเจ าหน าที่ อ าจกำหนดเงื่อ นไขใด ๆ ได เท าที่ จ ำเป น เพื่ อ ให บ รรลุ วัตถุประสงคของกฎหมาย เวนแตกฎหมายจะกำหนดขอจำกัดดุลพินิจเปนอยางอื่น การกำหนดเงื่อนไขตามวรรคหนึ่ ง ให ห มายความรวมถึงการกำหนดเงื่อ นไขในกรณี ดั งต อไปนี้ ตามความ เหมาะสมแกกรณีดวย (๑) การกำหนดใหสิทธิหรือภาระหนาที่เริ่มมีผลหรือสิ้นผล ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง (๒) การกำหนดใหการเริ่มมีผลหรือสิ้นผลของสิท ธิห รือภาระหนาที่ตองขึ้นอยูกับเหตุการณ ในอนาคตที่ไม แนนอน (๓) ขอสงวนสิทธิที่จะยกเลิกคำสั่งทางปกครอง (๔) การกำหนดใหผูไดรับประโยชนตองกระทำหรืองดเวนกระทำหรือตองมีภาระหนาที่หรือยอมรับภาระหนาที่ หรือความรับผิดชอบบางประการ หรือการกำหนดขอความในการจัดใหมี เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มขอกำหนดดังกลาว มาตรา ๔๐ คำสั่งทางปกครองที่อาจอุทธรณหรือโตแยงตอไปไดใหระบุกรณีที่อาจอุทธรณหรือโตแยง การยื่น คำอุทธรณหรือคำโตแยง และระยะเวลาสำหรับการอุทธรณหรือการโตแยงดังกลาวไวดวย ในกรณีที่มีการฝาฝนบทบัญญัติตามวรรคหนึ่ง ใหระยะเวลาสำหรับการอุทธรณหรือการโตแยงเริ่มนับใหมตั้งแต วันที่ไดรับแจงหลักเกณฑตามวรรคหนึ่ง แตถาไมมีการแจงใหมและระยะเวลาดังกลาวมีระยะเวลาสั้นกวาหนึ่งป ใหขยาย เปนหนึ่งปนับแตวันที่ไดรับคำสั่งทางปกครอง มาตรา ๔๑ คำสั่งทางปกครองที่ออกโดยการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ ไมเปนเหตุใหคำสั่ง ทางปกครองนั้นไมสมบูรณ (๑) การออกคำสั่งทางปกครองโดยยังไมมีผูยื่นคำขอในกรณีที่เจาหนาที่จะดำเนินการเองไมไดนอกจากจะมีผูยื่น คำขอ ถาตอมาในภายหลังไดมีการยื่นคำขอเชนนั้นแลว (๒) คำสั่งทางปกครองที่ตองจัดใหมีเหตุผลตามมาตรา ๓๗ วรรคหนึ่ง ถาไดมีการจัดใหมีเหตุผลดังกลาวใน ภายหลัง (๓) การรับฟงคูกรณีที่จำเปนตองกระทำไดดำเนินการมาโดยไมสมบูรณ ถาไดมีการรับฟงใหสมบูรณในภายหลัง (๔) คำสั่งทางปกครองที่ตองใหเจาหนาที่อื่นใหความเห็นชอบกอน ถาเจาหนาที่นั้นไดใหความเห็ นชอบใน ภายหลัง 9 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com เมื่อมีการดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) แลว และเจาหนาที่ผูมีคำสั่งทางปกครอง ประสงคใหผลเปนไปตามคำสั่งเดิมใหเจาหนาที่ผูนั้นบันทึกขอเท็จจริงและความสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประสงคของตนไวในหรือแนบไวกับคำสั่งเดิมและตองมีหนังสือแจงความประสงคของตนใหคูกรณีทราบดวย กรณีตาม (๒) (๓) และ (๔) จะตองกระทำกอนสิ้นสุดกระบวนการพิจารณาอุทธรณตามสวนที่ ๕ ของหมวดนี้ หรือตามกฎหมายเฉพาะวาดวยการนั้น หรือถาเปนกรณีที่ไมตองมีการอุทธรณดังกลาวก็ตองกอนมีการนำคำสั่งทาง ปกครองไปสูการพิจารณาของผูมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยความถูกตองของคำสั่งทางปกครองนั้น มาตรา ๔๒ คำสั่งทางปกครองใหมีผลใชยันตอบุคคลตั้งแตขณะที่ผูนั้นไดรับแจงเปนตนไป คำสั่งทางปกครองยอมมีผลตราบเทาที่ยังไมมีการเพิกถอนหรือสิ้นผลลงโดยเงื่อนเวลาหรือโดยเหตุอื่น เมื่อคำสั่งทางปกครองสิ้นผลลง ใหเจาหนาที่มีอำนาจเรียกผูซึ่งครอบครองเอกสารหรือวัตถุอื่นใดที่ไดจัดทำขึ้น เนื่องในการมีคำสั่งทางปกครองดังกลาว ซึ่งมีขอความหรือเครื่องหมายแสดงถึงการมีอยูของคำสั่งทางปกครองนั้น ให สงคืนสิ่งนั้นหรือใหนำสิ่งของดังกลาวอันเปนกรรมสิทธิ์ของผูนั้นมาใหเจาหนาที่จัดทำเครื่องหมายแสดงการสิ้นผลของ คำสั่งทางปกครองดังกลาวได มาตรา ๔๓ คำสั่งทางปกครองที่มีขอผิดพลาดเล็กนอยหรือผิดหลงเล็กนอยนั้น เจาหนาที่อาจแกไขเพิ่มเติมได เสมอ ในการแกไขเพิ่มเติมคำสั่งทางปกครองตามวรรคหนึ่งใหแจงใหผูที่เกี่ยวของทราบตามควรแกกรณี ในการนี้ เจาหนาที่อาจเรียกใหผูที่เกี่ยวของจัดสงคำสั่งทางปกครอง เอกสารหรือวัตถุอื่นใดที่ไดจัดทำขึ้นเนื่องในการมีคำสั่งทาง ปกครองดังกลาวมาเพื่อการแกไขเพิ่มเติมได ส่วนที่ ๕ การอุทธรณ์คาํ สัง่ ทางปกครอง มาตรา ๔๔ ภายใตบังคับมาตรา ๔๘ ในกรณีที่คำสั่งทางปกครองใดไมไดออกโดยรัฐมนตรี และไมมีกฎหมาย กำหนดขั้นตอนอุทธรณภายในฝายปกครองไวเปนการเฉพาะ ใหคูกรณีอุทธรณคำสั่งทางปกครองนั้นโดยยื่นตอเจาหนาที่ ผูทำคำสั่งทางปกครองภายในสิบหาวันนับแตวันที่ตนไดรับแจงคำสั่งดังกลาว คำอุทธรณตองทำเปนหนังสือโดยระบุขอโตแยงและขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายที่อางอิงประกอบดวย การอุทธรณไมเปนเหตุใหทุเลาการบังคับตามคำสั่งทางปกครอง เวนแตจะมีการสั่งใหทุเลาการบังคับตามมาตรา ๕๖ วรรคหนึ่ง มาตรา ๔๕ ใหเจาหนาที่ตามมาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง พิจารณาคำอุทธรณและแจงผูอุทธรณโดยไมชักชา แตตอง ไมเกินสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับอุทธรณ ในกรณีที่เห็นดวยกับคำอุทธรณ ไมวาทั้งหมดหรือบางสวนก็ใหดำเนินการ เปลี่ยนแปลงคำสั่งทางปกครองตามความเห็นของตนภายในกาหนดเวลาดังกลาวดวย ถาเจาหนาที่ตามมาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง ไมเห็นดวยกับคำอุทธรณ ไมวาทั้งหมดหรือบางสวนก็ใหเรงรายงาน ความเห็นพรอมเหตุผลไปยังผูมีอำนาจพิจารณาคำอุทธรณภายในกำหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ใหผูมีอำนาจพิจารณาคำ 10 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com อุทธรณพิจารณาใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่ตนไดรับรายงาน ถามีเหตุจำเปนไมอาจพิจารณาใหแลวเสร็จ ภายในระยะเวลาดังกลาว ใหผูมีอำนาจพิจารณาอุทธรณมีหนังสือแจงใหผูอุทธรณทราบกอนครบกำหนดเวลาดังกลาว ในการนี้ ใหขยายระยะเวลาพิจารณาอุทธรณออกไปไดไมเกินสามสิบวันนับแตวันที่ครบกำหนดเวลาดังกลาว เจาหนาที่ผูใดจะเปนผูมีอำนาจพิจารณาอุทธรณตามวรรคสองใหเปนไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง บทบัญญัติมาตรานี้ไมใชกับกรณีที่มีกฎหมายเฉพาะกำหนดไวเปนอยางอื่น มาตรา ๔๖ ในการพิจารณาอุทธรณ ใหเจาหนาที่พิจารณาทบทวนคำสั่งทางปกครองไดไมวาจะเปนปญหา ขอเท็จจริง ขอกฎหมาย หรือความเหมาะสมของการทำคำสั่งทางปกครอง และอาจมีคำสั่งเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง เดิมหรือเปลี่ยนแปลงคำสั่งนั้นไปในทางใด ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการเพิ่มภาระหรือลดภาระหรือใชดุลพินิจแทนในเรื่องความ เหมาะสมของการทำคำสั่งทางปกครองหรือมีขอกำหนดเปนเงื่อนไขอยางไรก็ได มาตรา ๔๗ การใดที่กฎหมายกำหนดใหอุทธรณตอเจาหนาที่ซึ่งเปนคณะกรรมการ ขอบเขตการพิจารณา อุทธรณใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการนั้น สำหรับกระบวนการพิจารณาใหปฏิบัติตามบทบัญญัติ หมวด ๒ นี้ เทาที่ ไมขัดหรือแยงกับกฎหมายดังกลาว มาตรา ๔๘ คำสั่งทางปกครองของบรรดาคณะกรรมการตาง ๆ ไมวาจะจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายหรือไม ให คูกรณี มี สิท ธิโตแยงตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุ กขตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎี กาไดทั้งในปญ หา ข อ เท็ จ จริ ง และข อ กฎหมาย ภายในเก า สิ บ วั น นั บ แต วั น ที่ ได รั บ แจ ง คำสั่ ง นั้ น แต ถ า คณะกรรมการดั ง กล า วเป น คณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท สิทธิการอุทธรณและกำหนดเวลาอุทธรณ ใหเปนไปตามที่บัญญัติในกฎหมายวาดวย คณะกรรมการกฤษฎีกา ส่วนที่ ๖ การเพิกถอนคําสัง่ ทางปกครอง มาตรา ๔๙ เจาหนาที่หรือผูบังคับบัญชาของเจาหนาที่อาจเพิกถอนคำสั่งทางปกครองไดตามหลักเกณฑใน มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ และมาตรา ๕๓ ไมวาจะพนขั้นตอนการกำหนดใหอุทธรณหรือใหโตแยงตามกฎหมายนี้หรือ กฎหมายอื่นมาแลวหรือไม การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่มีลักษณะเปนการใหประโยชนตองกระทำภายในเกาสิบวันนับแตไดรูถึงเหตุที่ จะใหเพิกถอนคำสั่งทางปกครองนั้น เวนแตคำสั่งทางปกครองจะไดทำขึ้น เพราะการแสดงขอความอันเปนเท็จหรือ ปกปดขอความจริงซึ่งควรบอกใหแจงหรือการขมขูหรือการชักจูงใจโดยการใหทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดที่มิชอบ ดวยฎหมาย มาตรา ๕๐ คำสั่งทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายอาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางสวน โดยจะใหมีผล ยอนหลังหรือไมยอนหลังหรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำหนดได แตถาคำสั่งนั้นเปนคำสั่งซึ่งเปนการ ใหประโยชนแกผูรับ การเพิกถอนตองเปนไปตามบทบัญญัติมาตรา ๕๑ และมาตรา ๕๒ 11 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com มาตรา ๕๑ การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการใหเงิน หรือใหทรัพยสินหรือให ประโยชนที่อาจแบงแยกได ใหคำนึงถึงความเชื่อโดยสุจริตของผูรับประโยชนในความคงอยูของคำสั่งทางปกครองนั้นกับ ประโยชนสาธารณะประกอบกัน ความเชื่อโดยสุจริตตามวรรคหนึ่งจะไดรับความคุมครองตอเมื่อผูรับคำสั่งทางปกครองไดใชประโยชนอันเกิด จากคำสั่งทางปกครองหรือไดดำเนินการเกี่ยวกับทรัพยสินไปแลวโดยไมอาจแกไขเปลี่ยนแปลงไดหรือการเปลี่ยนแปลง จะทำใหผูนั้นตองเสียหายเกินควรแกกรณี ในกรณีดังตอไปนี้ ผูรับคำสั่งทางปกครองจะอางความเชื่อโดยสุจริตไมได (๑) ผูนั้นไดแสดงขอความอันเปนเท็จหรือปกปดขอความจริงซึ่งควรบอกใหแจง หรือขมขู หรือชักจูงใจโดยการ ใหทรัพยสินหรือใหประโยชนอื่นใดที่มิชอบดวยกฎหมาย (๒) ผูนั้นไดใหขอความซึ่งไมถูกตองหรือไมครบถวนในสาระสำคัญ (๓) ผูนั้นไดรูถึงความไมชอบดวยกฎหมายของคำสั่งทางปกครองในขณะไดรับคำสั่งทางปกครองหรือการไมรูนั้น เปนไปโดยความประมาทเลินเลออยางรายแรง ในกรณีที่เพิกถอนโดยใหมีผลยอนหลัง การคืนเงิน ทรัพยสินหรือประโยชนที่ผูรับคำสั่งทางปกครองไดไป ใหนำ บทบัญญัติวาดวยลาภมิควรไดในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาใชบังคับโดยอนุโลม โดยถาเมื่อใดผูรับคำสั่งทาง ปกครองไดรูถึงความไมชอบดวยกฎหมายของคำสั่งทางปกครองหรือควรไดรูเชนนั้นหากผูนั้นมิไดประมาทเลินเลออยาง รายแรงใหถือวาผูนั้นตกอยูในฐานะไมสุจริตตั้งแตเวลานั้นเปนตนไป และในกรณีตามวรรคสาม ผูนั้นตองรับผิดในการคืน เงิน ทรัพยสินหรือประโยชนที่ไดรับไปเต็มจำนวน มาตรา ๕๒ คำสั่งทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายและไมอยูในบังคับของมาตรา ๕๑ อาจถูกเพิกถอน ทั้งหมดหรือบางสวนได แตผูไดรับผลกระทบจากการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองดังกลาวมีสิทธิไดรับคาทดแทนความ เสียหายเนื่องจากความเชื่อโดยสุจริตในความคงอยูของคำสั่งทางปกครองได และใหนำความในมาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบังคับโดยอนุโลม แตตองรองขอคาทดแทนภายในหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตไดรับแจงให ทราบถึงการเพิกถอนนั้น คาทดแทนความเสียหายตามมาตรานี้จะตองไมสูงกวาประโยชนที่ผูนั้นอาจไดรับหากคำสั่งทางปกครองดังกลาว ไมถูกเพิกถอน มาตรา ๕๓ คำสั่งทางปกครองที่ชอบดวยกฎหมายซึ่งไมเปนการใหประโยชนแกผูรับคำสั่งทางปกครองอาจถูก เพิกถอนทั้งหมดหรือบางสวนโดยใหมีผลตั้งแตขณะที่เพิกถอนหรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำหนดได เวนแตเปนกรณี ที่คงตองทำคำสั่งทางปกครองที่มีเนื้อหาทำนองเดียวกันนั้นอีก หรือเปนกรณี ที่การเพิกถอนไมอาจ กระทำไดเพราะเหตุอื่น ทั้งนี้ ใหคำนึงถึงประโยชนของบุคคลภายนอกประอบดวย คำสั่งทางปกครองที่ชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการใหประโยชนแกผูรับคำสั่งทางปกครองอาจถูกเพิกถอนทั้งหมด หรือบางสวนโดยใหมีผลตั้งแตขณะที่เพิกถอน หรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำหนดไดเฉพาะเมื่อมี กรณีดังตอไปนี้ (๑) มีกฎหมายกำหนดใหเพิกถอนไดหรือมีขอสงวนสิทธิใหเพิกถอนไดในคำสั่งทางปกครองนั้นเอง (๒) คำสั่งทางปกครองนั้นมีขอกำหนดใหผูรับประโยชนตองปฏิบัติ แตไมมีการปฏิบัติภายในเวลาที่กำหนด 12 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com (๓) ขอเท็จจริงและพฤติการณเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากมีขอเท็จจริงและพฤติการณเชนนี้ในขณะทำคำสั่งทาง ปกครองแลวเจาหนาที่คงจะไมทำคำสั่งทางปกครองนั้น และหากไมเพิกถอนจะกอใหเกิดความเสียหายตอประโยชน สาธารณะได (๔) บทกฎหมายเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหา กมีบทกฎหมายเชนนี้ในขณะทำคำสั่งทางปกครองแลวเจาหนาที่คงจะ ไมทำคำสั่งทางปกครองนั้น แตการเพิกถอนในกรณีนี้ใหกระทำไดเทาที่ผูรับประโยชนยังไมไดใชประโยชน หรือยังไมได รับประโยชนตามคำสั่งทางปกครองดังกลาว และหากไมเพิกถอนจะกอใหเกิดความเสียหายตอประโยชนสาธารณะได (๕) อาจเกิดความเสียหายอยางรายแรงตอประโยชนสาธารณะหรือตอประชาชนอันจำเปนตองปองกันหรือขจัด เหตุดังกลาว ในกรณีที่มีการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองเพราะเหตุตามวรรคสอง (๓) (๔) และ (๕) ผูไดรับประโยชนมีสิทธิ ไดรับคาทดแทนความเสียหายอันเกิดจากความเชื่อโดยสุจริตในความคงอยูของคำสั่งทางปกครองได และใหนำมาตรา ๕๒ มาใชบังคับโดยอนุโลม คำสั่งทางปกคองที่ชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการใหเงินหรือใหทรัพยสินหรือใหประโยชนที่อาจแบงแยกได อาจ ถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางสวนโดยใหมีผลยอนหลังหรือไมมีผลยอนหลังหรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่ง ตามที่กำหนดไดในกรณีดังตอไปนี้ (๑) มิไดปฏิบัติหรือปฏิบัติลาชาในอันที่จะดำเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคของคำสั่งทางปกครอง (๒) ผูไดรับประโยชนมิไดปฏิบัติหรือปฏิบัติลาชาในอันที่จะดำเนินการให เปนไปตามเงื่อนไขของคำสั่งทาง ปกครอง ทั้งนี้ ใหนำความในมาตรา ๕๑ มาใชบังคับโดยอนุโลม ส่วนที่ ๗ การขอให้พจิ ารณาใหม่ มาตรา ๕๔ เมื่อคูกรณีมีคำขอ เจาหนาที่อาจเพิกถอนหรือแกไขเพิ่มเติมคำสั่งทางปกครองที่พนกำหนดอุทธรณ ตามสวนที่ ๕ ไดในกรณีดังตอไปนี้ (๑) มีพยานหลักฐานใหม อันอาจทำใหขอเท็จจริงที่ฟงเปนยุติแลวนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสำคัญ (๒) คูกรณีที่แทจริงมิไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองหรือไดเขามาในกระบวนการพิจารณาครั้ง กอนแลวแตถูกตัดโอกาสโดยไมเปนธรรมในการมีสวนรวมในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง (๓) เจาหนาที่ไมมีอำนาจที่จะทำคำสั่งทางปกครองในเรื่องนั้น (๔) ถาคำสั่งทางปกครองไดออกโดยอาศัยขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายใดและตอมาขอเท็จจริงหรือขอกฎหมาย นั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสำคัญในทางที่จะเปนประโยชนแกคูกรณี การยื่นคำขอตามวรรคหนึ่ ง (๑) (๒) หรือ (๓) ให กระทำได เฉพาะเมื่อคูกรณี ไมอาจทราบถึงเหตุนั้นในการ พิจารณาครั้งที่แลวมากอนโดยไมใชความผิดของผูนั้น 13 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com การยื่นคำขอใหพิจารณาใหมตองกระทำภายในเกาสิบวันนับแตผูนั้นไดรูถึงเหตุซึ่งอาจขอใหพิจารณาใหมได ส่วนที่ ๘ การบังคับทางปกครอง มาตรา ๕๕ การบังคับทางปกครองไมใชกับเจาหนาที่ดวยกัน เวนแตจะมีกฎหมายกำหนดไวเปนอยางอื่น มาตรา ๕๖ เจาหนาที่ผูทำคำสั่งทางปกครองมีอำนาจที่จะพิจารณาใชมาตรการบังคับทางปกครองเพื่อให เปนไปตามคำสั่งของตนไดตามบทบัญญัติในสวนนี้ เวนแตจะมีการสั่งใหทุเลาการบังคับไวกอนโดยเจาหนาที่ผูทำคำสั่ง นั้นเอง ผูมีอานาจพิจารณาคำอุทธรณหรือผูมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยความถูกตองของคำสั่งทางปกครองดังกลาว เจาหนาที่ตามวรรคหนึ่งจะมอบอำนาจใหเจาหนาที่ซึ่งอยูใตบังคับบัญชาหรือเจาหนาที่อื่นเปนผูดำเนินการก็ได ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง ใหเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองใชมาตรการบังคับทางปกครองเพียงเทาที่จำเปนเพื่อใหบรรลุตาม วัตถุประสงคของคำสั่งทางปกครอง โดยกระทบกระเทือนผูอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครองนอยที่สุด มาตรา ๕๗ คำสั่งทางปกครองที่กำหนดใหผูใดชำระเงิน ถาถึงกำหนดแลวไมมีการชำระโดยถูกตองครบถวน ใหเจาหนาที่มีหนังสือเตือนใหผูนั้นชำระภายในระยะเวลาที่กำหนดแตตองไมนอยกวาเจ็ดวัน ถาไมมีการปฏิบัติตามคำ เตือน เจาหนาที่อาจใชมาตรการบังคับทางปกครองโดยยึดหรืออายัดทรัพยสินของผูนั้นและขายทอดตลาดเพื่อชำระเงิน ใหครบถวน วิธีการยึด การอายัดและการขายทอดตลาดทรัพยสินใหปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงโดย อนุโลม สวนผูมีอำนาจสั่งยึดหรืออายัดหรือขายทอดตลาดใหเปนไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๘ คำสั่งทางปกครองที่กำหนดใหกระทำหรือละเวนกระทำ ถาผูอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครองฝา ฝนหรือไมปฏิบัติตาม เจาหนาที่อาจใชมาตรการบังคับทางปกคองอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ (๑) เจาหนาที่เขาดำเนินการดวยตนเองหรือมอบหมายใหบุคคลอื่นกระทำการแทนโดยผูอยูในบังคับของคำสั่ง ทางปกครองจะตองชดใชคาใชจายและเงินเพิ่มในอัตรารอยละยี่สิบหาตอปของคาใชจายดังกลาวแกเจาหนาที่ (๒) ใหมีการชำระคาปรับทางปกครองตามจำนวนที่สมควรแกเหตุแตตองไมเกินสองหมื่นบาทตอวัน เจาหนาที่ระดับใดมีอำนาจกำหนดคาปรับทางปกครองจำนวนเทาใดสำหรับในกรณีใด ใหเปนไปตามที่กำหนด ในกฎกระทรวง ในกรณีที่มีความจำเปนที่จะตองบังคับการโดยเรงดวนเพื่อปองกันมิใหมีการกระทำที่ขัดตอกฎหมายที่มีโทษทาง อาญาหรือมิใหเกิดความเสียหายตอประโยชนสาธารณะ เจาหนาที่อาจใชมาตรการบังคับทางปกครองโดยไมตองออก คำสั่งทางปกครองใหกระทำหรือละเวนกระทำกอนก็ได แตทั้งนี้ตองกระทำโดยสมควรแกเหตุและภายในขอบเขตอำนาจ หนาที่ของตน 14 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com มาตรา ๕๙ กอนใชมาตรการบังคับทางปกครองตามมาตรา ๕๘ เจาหนาที่จะตองมีคำเตือนเปนหนังสือใหมี การกระทำหรือละเวนกระทำตามคำสั่งทางปกครองภายในระยะเวลาที่กำหนดตามสมควรแกกรณี คำเตือนดังกลาวจะ กำหนดไปพรอมกับคำสั่งทางปกครองก็ได คำเตือนนั้นจะตองระบุ (๑) มาตรการบังคับทางปกครองที่จะใชใหชัดแจง แตจะกำหนดมากกวาหนึ่งมาตรการในคราวเดียวกันไมได (๒) คาใชจายในการที่เจาหนาที่เขาดำเนินการดวยตนเองหรือมอบหมายใหบุคคลอื่นกระทำการแทน หรือ จำนวนคาปรับทางปกครอง แลวแตกรณี การกำหนดคาใชจายในคำเตือน ไมเปนการตัดสิทธิที่จะเรียกคาใชจายเพิ่มขึ้น หากจะตองเสียคาใชจายจริง มากกวาที่ไดกำหนดไว มาตรา ๖๐ เจาหนาที่จะตองใชมาตรการบังคับทางปกครองตามที่กำหนดไวในคำเตือนตามมาตรา ๕๙ การ

Use Quizgecko on...
Browser
Browser