พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 PDF
Document Details
Uploaded by MerryTrumpet9566
2539
ภูมิพลอดุลยเดช
Tags
Related
- พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ PDF
- พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 PDF
- พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ PDF
- พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 PDF
- Thai Government Administrative Procedures Act 2534 PDF
- Thai Government Administration - PDF
Summary
This document is a Thai law, specifying procedures for administrative actions. It outlines the Thai administrative procedures act of 2539, mentioning various articles and sections. It's focused on administrative law and government procedures.
Full Transcript
: ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com พระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ภูมิพลอดุลยเด...
: ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com พระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๙ เปนปที่ ๕๑ ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่สมควรมีกฎหมายวาดวยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกำหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันถัดจากวันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา ๓ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายตาง ๆ ใหเปนไปตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้ เวน แตในกรณีที่กฎหมายใดกำหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเรื่องใดไวโดยเฉพาะและมีหลักเกณฑที่ประกันความเปน ธรรมหรือมีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการไมต่ำกวาหลักเกณฑที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้ ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับกับขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณหรือโตแยงที่กำหนดในกฎหมาย มาตรา ๔ พระราชบัญญัตินี้มิใหใชบังคับแก (๑) รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี (๒) องคกรที่ใชอำนาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ (๓) การพิจารณาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีในงานทางนโยบายโดยตรง (๔) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดาเนินงานของเจาหนาที่ในกระบวนการพิจารณาคดี การบังคับ คดี และการวางทรัพย (๕) การพิจารณาวินิจฉัยเรื่องรองทุกขและการสั่งการตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกา (๖) การดำเนินงานเกี่ยวกับนโยบายการตางประเทศ (๗) การดำเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารหรือเจาหนาที่ซึ่งปฏิบัติหนาที่ทางยุทธการรวมกับทหารในการปองกัน และรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ (๘) การดำเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (๙) การดำเนินกิจการขององคการทางศาสนา 1 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com การยกเวนไมใหนำบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้มาใชบังคับแกการดำเนินกิจการใดหรือกับหนวยงานใด นอกจากที่กำหนดไวในวรรคหนึ่ง ใหตราเปนพระราชกฤษฎีกาตามขอเสนอของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทาง ปกครอง มาตรา ๕ ในพระรำชบัญญัตินี้ “วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” หมายความวา การเตรียมการและการดำเนินการของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมี คำสั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึงการดำเนินการใด ๆ ในทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้ “การพิจารณาทางปกครอง” หมายความวา การเตรียมการและการดำเนินการของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคำสั่ง ทางปกครอง “คำสั่งทางปกครอง” หมายความวา (๑) การใชอำนาจตามกฎหมายของเจาหนาที่ที่มีผลเปนการสรางนิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคลในอันที่จะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาที่ของบุคคล ไมวาจะเปนการถาวรหรือ ชั่ วคราว เช น การสั่ งการ การอนุ ญ าต การอนุ มั ติ การวินิ จฉัย อุ ท ธรณ การรับ รอง และการรับ จดทะเบี ยน แต ไม หมายความรวมถึงการออกกฎ (๒) การอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง “กฎ” หมายความวา พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอบัญญัติทองถิ่น ระเบียบ ขอบังคับ หรือบทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเปนการทั่วไป โดยไมมุงหมายใหใชบังคับแกกรณีใดหรือบุคคลใดเปนการเฉพาะ “คณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท” หมายความวา คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มีการจัดองคกรและ วิธีพิจารณาสำหรับการวินิจฉัยชี้ขาดสิทธิและหนาที่ตามกฎหมาย “เจาหนาที่” หมายความวา บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใชอำนาจหรือไดรับมอบใหใชอำนาจทาง ปกครองของรัฐในการดำเนินการอยางหนึ่งอยางใดตามกฎหมาย ไมวาจะเปนการจัดตั้งขึ้นในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือกิจการอื่นของรัฐหรือไมก็ตาม “คูกรณี” หมายความวา ผูยื่นคำขอหรือผูคัดคานคำขอ ผูอยูในบังคับหรือจะอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครอง และผูซึ่งไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเนื่องจากสิทธิของผูนั้นจะถูกกระทบกระเทือนจากผลของคำสั่ง ทางปกครอง มาตรา ๖ ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอำนาจออกกฎกระทรวงและประกาศ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับได หมวด ๑ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง มาตรา ๗ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” ประกอบดวย ประธานกรรมการคนหนึ่ง ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เลขาธิการ 2 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com คณะกรรมการขาราชการพลเรือน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาและผูทรงคุณวุฒิอีกไมนอยกวาหาคนแตไมเกินเกา คนเปนกรรมการ ใหคณะรัฐมนตรีแตงตั้งประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณ วุฒิ โดยแตงตั้งจากผูซึ่งมีความเชี่ยวชาญ ในทางนิติศาสตร รัฐประศาสนศาสตร รัฐศาสตร สังคมศาสตร หรือการบริหารราชการแผนดิน แตผูนั้นตองไมเปนผู ดำรงตำแหนงทางการเมือง ใหเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาแตงตั้งขาราชการของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเปนเลขานุการ และผูชวยเลขานุการ มาตรา ๘ ใหกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีวาระดำรงตำแหนงคราวละสามป กรรมการซึ่งพนจากตำแหนง อาจไดรับแตงตั้งอีกได ในกรณีที่กรรมการพนจากตำแหนงตามวาระ แตยังมิไดแตงตั้งกรรมการใหม ใหกรรมการนั้นปฏิบัติหนาที่ไป พลางกอนจนกวาจะไดแตงตั้งกรรมการใหม มาตรา ๙ นอกจากการพนจากตำแหนงตามวาระตามมาตรา ๘ กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งพนจาก ตำแหนงเมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติใหออกหรือเมื่อมีเหตุหนึ่งเหตุใดตามมาตรา ๗๖ มาตรา ๑๐ ใหสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาทำหนาที่เปนสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธี ปฏิบัติราชการทางปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม การศึกษาหาขอมูลและกิจการตาง ๆ ที่เกี่ยวกับงานของ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง มาตรา ๑๑ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมีอำนาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) สอดสองดูแลและใหคำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงานของเจาหนาที่ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) ใหคำปรึกษาแกเจาหนาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ตามที่บุคคลดังกลาวรองขอ ทั้งนี้ ตาม หลักเกณฑที่คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองกำหนด (๓) มีหนังสือเรียกใหเจาหนาที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความเห็นประกอบการพิจารณาได (๔) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรือประกาศตามพระราชบัญญัตินี้ (๕) จัดทำรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เสนอคณะรัฐมนตรีเปนครั้งคราวตามความเหมาะสม แตอยางนอยปละหนึ่งครั้ง เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติราชการทางปกครองใหเปนไปโดยมีความเปนธรรมและมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (๖) เรื่องอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย 3 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com หมวด ๒ คําสัง่ ทางปกครอง ส่วนที่ ๑ เจ้าหน้าที่ มาตรา ๑๒ คำสั่งทางปกครองจะตองกระทำโดยเจาหนาที่ซึ่งมีอำนาจหนาที่ในเรื่องนั้น มาตรา ๑๓ เจาหนาที่ดังตอไปนี้จะทำการพิจารณาทางปกครองไมได (๑) เปนคูกรณีเอง (๒) เปนคูหมั้นหรือคูสมรสของคูกรณี (๓) เปนญาติของคูกรณี คือ เปนบุพการีหรือผูสืบสันดานไมวาชั้นใด ๆ หรือเปนพี่นองหรือลูกพี่ลูกนองนับได เพียงภายในสามชั้น หรือเปนญาติเกี่ยวพันทางแตงงานนับไดเพียงสองชั้น (๔) เปหรือเคยเปนผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูพิทักษหรือผูแทนหรือตัวแทนของคูกรณี (๕) เปนเจาหนี้หรือลูกหนี้ หรือเปนนายจางของคูกรณี (๖) กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๔ เมื่อมี กรณี ตามมาตรา ๑๓ หรือคูกรณี คัดคานวาเจาหนาที่ผูใดเปนบุคคลตามมาตรา ๑๓ ให เจาหนาที่ผูนั้นหยุดการพิจารณาเรื่องไวกอน และแจงใหผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งทราบ เพื่อที่ผูบังคับบัญชา ดังกลาวจะไดมีคำสั่งตอไป การยื่นคำคัดคาน การพิจารณาคำคัดคาน และการสั่งใหเจาหนาที่อื่นเขาปฏิบัติหนาที่แทนผูที่ถูกคัดคานให เปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๕ เมื่อมีกรณีตามมาตรา ๑๓ หรือคูกรณีคัดคานวากรรมการในคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทาง ปกครองคณะใดมีลักษณะดังกลาว ใหประธานกรรมการเรียกประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาเหตุคัดคานนั้น ในการ ประชุมดังกลาวกรรมการผูถูกคัดคานเมื่อไดชี้แจงขอเท็จจริงและตอบขอซักถำมแลวตองออกจากที่ประชุม ถาคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมีผูถูกคัดคานในระหวางที่กรรมการผูถูกคัดคานตอง ออกจากที่ประชุม ใหถือวาคณะกรรมการคณะนั้นประกอบดวยกรรมการทุกคนที่ไมถูกคัดคาน ถาที่ ป ระชุ ม มี ม ติ ให ก รรมการผู ถู ก คั ด ค านปฏิ บั ติ ห น าที่ ต อ ไปดวยคะแนนเสี ยงไม น อ ยกวาสองในสามของ กรรมการที่ไมถูกคัดคาน ก็ใหกรรมการผูนั้นปฏิบัติหนาที่ตอไปได มติดังกลาวใหกระทำโดยวิธีลงคะแนนลับและใหเปน ที่สุด การยื่นคำคัดคานและการพิจารณาคำคัดคานใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีกำรที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๖ ในกรณี มี เหตุ อื่ น ใดนอกจากที่ บั ญ ญั ติ ไว ในมาตรา ๑๓ เกี่ ย วกั บ เจ าหน าที่ ห รื อ กรรมการใน คณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองซึ่งมีสภาพรายแรงอันอาจทำใหการพิจารณาทางปกครองไมเปนกลาง เจาหนาที่หรือกรรมการผูนั้นจะทำการพิจารณาทางปกครองในเรื่องนั้นไมได 4 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหดำเนินการดังนี้ (๑) ถาผูนั้นเห็นเองวาตนมีกรณีดังกลาว ใหผูนั้นหยุดการพิจารณาเรื่องไวกอนและแจงใหผูบังคับบัญชาเหนือ ตนขึ้นไปชั้นหนึ่งหรือประธานกรรมการทราบ แลวแตกรณี (๒) ถามีคู กรณี คัดคานวาผูนั้นมี เหตุ ดังกลาว หากผูนั้นเห็นวาตนไมมีเหตุตามที่คัดค านนั้น ผูนั้นจะทำการ พิจารณาเรื่องตอไปก็ไดแตตองแจงใหผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งหรือประธานกรรมการทราบ แลวแตกรณี (๓) ใหผูบังคับบัญชาของผูนั้นหรือคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองซึ่งผูนั้นเปนกรรมการอยูมี คำสั่งหรือมีมติโดยไมชักช้ำ แลวแตกรณี วาผูนั้นมีอำนาจในการพิจารณาทางปกครองในเรื่องนั้นหรือไม ใหนำบทบัญญัติมาตรา ๑๔ วรรคสอง และมาตรา ๑๕ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่มาใชบังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๗ การกระทำใด ๆ ของเจาหนาที่หรือกรรมการในคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทาปกครองที่ได กระทำไปกอนหยุดการพิจารณาตามมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๖ ยอมไมเสียไป เวนแตเจาหนาที่ผูเขาปฏิบัติหนาที่แทน ผูถูกคัดคานหรือคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครอง แลวแตกรณี จะเห็นสมควรดำเนินการสวนหนึ่งสวนใด เสียใหมก็ได มาตรา ๑๘ บทบัญญัติมาตรา ๑๓ ถึงมาตรา ๑๖ ไมใหนำมาใชบังคับกับกรณีที่มีความจำเปนเรงดวน หาก ปล อยให ล าช าไปจะเสี ย หายต อ ประโยชน ส าธารณะหรือ สิ ท ธิข องบุ ค คลจะเสี ยหายโดยไม มี ท างแกไขได หรือไม มี เจาหนาที่อื่นปฏิบัติหนาที่แทนผูนั้นได มาตรา ๑๙ ถาปรากฏภายหลังวาเจาหนาที่หรือกรรมการในคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองใด ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามหรือการแตงตั้งไมชอบดวยกฎหมาย อันเปนเหตุใหผูนั้นตองพนจากตำแหนง การ พนจากตำแหนงเชนวานี้ไมกระทบกระเทือนถึงการใดที่ผูนั้นไดปฏิบัติไปตามอำนาจหนาที่ มาตรา ๒๐ ผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งตามมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๖ ใหหมายความรวมถึง ผูซึ่ง กฎหมายกำหนดให มี อ ำนาจกำกั บ หรื อ ควบคุ ม ดู แ ลสำหรับ กรณี ข องเจ าหน าที่ ที่ ไม มี ผู บั งคั บ บั ญ ชาโดยตรง และ นายกรัฐมนตรีสำหรับกรณีที่เจาหนาที่ผูนั้นเปนรัฐมนตรี ส่วนที่ ๒ คู่กรณี มาตรา ๒๑ บุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือนิติบุคคล อาจเปนคูกรณี ในการพิจารณาทางปกครองไดตาม ขอบเขตที่สิทธิของตนถูกกระทบกระเทือนหรืออาจถูกกระทบกระเทือนโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได มาตรา ๒๒ ผูมีความสามารถกระทำการในกระบวนการพิจารณาทางปกครองได จะตองเปน (๑) ผูซึ่งบรรลุนิติภาวะ (๒) ผูซึ่งมีบทกฎหมายเฉพาะกำหนดใหมีความสามารถกระทำการในเรื่องที่กำหนดได แมผูนั้นจะยังไมบรรลุนิติ ภาวะหรือความสามารถถูกจำกัดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 5 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com (๓) นิติบุคคลหรือคณะบุคคลตามมาตรา ๒๑ โดยผูแทนหรือตัวแทน แลวแตกรณี (๔) ผูซึ่งมีประกาศของนายกรัฐมนตรีห รือผูซึ่งนายกรัฐมนตรีม อบหมายในราชกิจจานุเบกษากำหนดให มี ความสามารถกระทำการในเรื่องที่กำหนดได แมผูนั้นจะยังไมบรรลุนิติภาวะหรือความสามารถถูกจำกัดตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๒๓ ในการพิ จ ารณาทำงปกครองที่ คู ก รณี ต อ งมาปรากฏตั ว ต อ หน า เจ า หน า ที่ คู ก รณี มี สิ ท ธิ น ำ ทนายความหรือที่ปรึกษาของตนเขามาในการพิจารณาทางปกครองได การใดที่ทนายความหรือที่ปรึกษาไดทำลงตอหนาคูกรณีใหถือวาเปนการกระทำของคูกรณี เวนแตคูกรณีจะได คัดคานเสียแตในขณะนั้น มาตรา ๒๔ คูกรณีอาจมีหนังสือแตงตั้งใหบุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งบรรลุนิติภาวะกระทำการอยางหนึ่งอยางใด ตามที่กำหนดแทนตนในกระบวนการพิจารณาทางปกครองใด ๆ ได ในการนี้ เจาหนาที่จะดำเนินกระบวนพิจารณาทาง ปกครองกับตัวคูกรณีไดเฉพาะเมื่อเปนเรื่องที่ผูนั้นมีหนาที่โดยตรงที่จะตองทำการนั้นดวยตนเองและตองแจงใหผูไดรับ การแตงตั้งใหกระทำการแทนทราบดวย หากปรากฏวาผูไดรับการแตงตั้งใหกระทำการแทนผูใดไมทราบขอเท็จจริงในเรื่องนั้นเพียงพอหรือมีเหตุไมควร ไววางใจในความสามารถของบุคคลดังกลาวใหเจาหนาที่แจงใหคูกรณีทราบโดยไมชักช้ำ การแตงตั้งใหกระทำการแทนไมถือวาสิ้นสุดลงเพราะความตายของคูกรณีหรือการที่ความสามาถหรือความเปน ผูแทนของคูกรณีเปลี่ยนแปลงไป เวนแตผูสืบสิทธิตามกฎหมายของคูกรณีหรือคูกรณีจะถอนการแตงตั้งดังกลาว มาตรา ๒๕ ในกรณีที่มีการยื่นคำขอโดยมีผูลงชื่อรวมกันเกินหาสิบคนหรือมีคูกรณีเกินหาสิบคนยื่นคำขอที่มี ขอความอยางเดียวกันหรือทำนองเดียวกัน ถาในคำขอมี การระบุ ใหบุคคลใดเป นตัวแทนของบุคคลดังกลาวหรือมี ขอความเปนปริยายใหเขาใจไดเชนนั้น ใหถือวาผูที่ถูกระบุชื่อดังกลาวเปนตัวแทนรวมของคูกรณีเหลานั้น ในกรณีที่มีคูกรณีเกินหาสิบคนยื่นคำขอใหมีคำสั่งทางปกครองในเรื่องเดียวกัน โดยไมมีการกำหนดใหบุคคลใด เปนตัวแทนรวมของตนตามวรรคหนึ่ง ใหเจาหนาที่ในเรื่องนั้นแตงตั้งบุคคลที่คูกรณีฝายขางมากเห็นชอบเปนตัวแทนรวม ของบุคคลดังกลาว ในกรณีนี้ใหนำมาตรา ๒๔ วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบังคับโดยอนุโลม ตัวแทนรวมตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองตองเปนบุคคลธรรมดา คูกรณีจะบอกเลิกการใหตัวแทนรวมดำเนินการแทนตนเมื่อใดก็ไดแตตองมีหนังสือแจงใหเจาหนาที่ทราบและ ดำเนินการใด ๆ ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองตอไปดวยตนเอง ตัวแทนรวมจะบอกเลิกการเปนตัวแทนเมื่อใดก็ได แตตองมีหนังสือแจงใหเจาหนาที่ทราบกับตองแจงใหคูกรณี ทุกรายทราบดวย ส่วนที่ ๓ การพิจารณา 6 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com มาตรา ๒๖ เอกสารที่ยื่นตอเจาหนาที่ใหจัดทำเปนภาษาไทย ถาเปนเอกสารที่ทำขึ้นเปนภาษาตางประเทศ ให คูกรณีจัดทำคำแปลเปนภาษาไทยที่มีการรับรองความถูกตองมาใหภายในระยะเวลาที่เจาหนาที่กำหนด ในกรณีนี้ใหถือ วาเอกสารดังกลาวไดยื่นตอเจาหนาที่ในวันที่เจาหนาที่ไดรับคำแปลนั้น เวนแตเจาหนาที่จะยอมรับเอกสารที่ทำขึ้นเปน ภาษาตางประเทศ และในกรณีนี้ใหถือวาวันที่ไดยื่นเอกสารฉบับที่ทำขึ้นเปนภาษาตางประเทศเปนวันที่เจาหนาที่ไดรับ เอกสารดังกลาว การรับรองความถูกตองของคำแปลเปนภาษาไทยหรือการยอมรับเอกสารที่ทำขึ้นเปนภาษาตางประเทศ ให เปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๗ ใหเจาหนาที่แจงสิทธิและหนาที่ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองใหคูกรณีทราบตามความ จำเปนแกกรณี ถาคำขอหรือคำแถลงมีขอบกพรองหรือมีขอความที่อานไมเขาใจหรือผิดหลงอันเห็นไดชัดวาเกิดจากความไมรู หรือความเลินเลอของคูกรณี ใหเจาหนาที่แนะนำใหคูกรณีแกไขเพิ่มเติมใหถูกตอง มาตรา ๒๘ ในการพิจารณาทางปกครอง เจาหนาที่อาจตรวจสอบขอเท็จจริงไดตามความเหมาะสมในเรื่องนั้น ๆ โดยไมตองผูกพันอยูกับคำขอหรือพยานหลักฐานของคูกรณี มาตรา ๒๙ เจาหนาที่ตองพิจารณาพยานหลักฐานที่ตนเห็นวาจำเปนแกการพิสูจนขอเท็จจริง ในการนี้ ให รวมถึงการดำเนินการดังตอไปนี้ (๑) แสวงหาพยานหลักฐานทุกอยางที่เกี่ยวของ (๒) รับฟงพยานหลักฐาน คำชี้แจง หรือความเห็นของคูกรณีหรือของพยานบุคคลหรือพยานผูเชี่ยวชาญที่คูกรณี กลาวอาง เวนแตเจาหนาที่เห็นวาเปนการกลาวอางที่ไมจำเปน ฟุมเฟอยหรือเพื่อประวิงเวลา (๓) ขอขอเท็จจริงหรือความเห็นจากคูกรณี พยานบุคคล หรือพยานผูเชี่ยวชาญ (๔) ขอใหผูครอบครองเอกสารสงเอกสารที่เกี่ยวของ (๕) ออกไปตรวจสถานที่ คูกรณีตองใหความรวมมือกับเจาหนาที่ในการพิสูจนขอเท็จจริง และมีหนาที่แจงพยานหลักฐานที่ตนทราบแก เจาหนาที่ พยานหรื อ พยานผู เชี่ ย วชาญที่ เจ าหน าที่ เรีย กมาให ถ อ ยคาหรือ ทำความเห็ น มี สิ ท ธิ ได รับ ค า ป วยการตาม หลักเกณฑและวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๐ ในกรณีที่คำสั่งทำงปกครองอาจกระทบถึงสิทธิของคูกรณี เจาหนาที่ตองใหคูกรณีมีโอกาสที่จะได ทราบขอเท็จจริงอยางเพียงพอและมีโอกาสไดโตแยงและแสดงพยานหลักฐานของตน ความในวรรคหนึ่งมิใหนำมาใชบังคับในกรณีดังตอไปนี้ เวนแตเจาหนาที่จะเห็นสมควรปฏิบัติเปนอยางอื่น (๑) เมื่อมีความจำเปนรีบดวนหากปลอยใหเนิ่นชาไปจะกอใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงแกผูหนึ่งผูใดหรือ จะกระทบตอประโยชนสาธารณะ (๒) เมื่อจะมีผลทำใหระยะเวลาที่กฎหมายหรือกฎกำหนดไวในการทำคำสั่งทางปกครองตองลาชาออกไป (๓) เมื่อเปนขอเท็จจริงที่คูกรณีนั้นเองไดใหไวในคำขอ คำใหการหรือคำแถลง (๔) เมื่อโดยสภาพเห็นไดชัดในตัววาการใหโอกาสดังกลาวไมอาจกระทำได 7 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com (๕) เมื่อเปนมาตราการบังคับทางปกครอง (๖) กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง หามมิใหเจาหนาที่ใหโอกาสตามวรรคหนึ่ง ถาจะกอใหเกิดผลเสียหายอยางรายแรงตอประโยชนสาธารณะ มาตรา ๓๑ คูกรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสารที่จำเปนตองรูเพื่อการโตแยงหรือชี้แจงหรือปองกันสิทธิของตนได แตถายังไมไดทำคำสั่งทางปกครองในเรื่องนั้น คูกรณีไมมีสิทธิขอตรวจดูเอกสารอันเปนตนรางคำวินิจฉัย การตรวจดูเอกสาร คาใชจายในการตรวจดูเอกสาร หรือการจัดทำสำเนาเอกสารใหเปนไปตามหลักเกณฑและ วิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๒ เจาหนาที่อาจไมอนุญาตใหตรวจดูเอกสารหรือพยานหลักฐานได ถาเปนกรณีที่ตองรักษาไวเปน ความลับ มาตรา ๓๓ เพื่อประโยชนในการอำนวยความสะดวกแกประชาชน ความประหยัดและความมีประสิทธิภาพใน การดำเนินงานของรัฐ ใหคณะรัฐมนตรีวางระเบียบกำหนดหลักเกณฑและวิธีการเพื่อใหเจาหนาที่กำหนดเวลาสำหรับ การพิจารณาทางปกครองขึ้นไวตามความเหมาะสมแกกรณี ทั้งนี้ เทาที่ไมขัดหรือแยงกับกฎหมายหรือกฎในเรื่องนั้น ในกรณีที่การดำเนินงานในเรื่องใดจะตองผานการพิจารณาของเจาหนาที่มากกวาหนึ่งราย เจาหนาที่ที่เกี่ยวของ มีหนาที่ตองประสานงานกันในการกำหนดเวลาเพื่อการดำเนินงานในเรื่องนั้น ส่วนที่ ๔ รูปแบบและผลของคําสัง่ ทางปกครอง มาตรา ๓๔ คำสั่งทางปกครองอาจทำเปนหนังสือหรือวาจาหรือโดยการสื่อความหมายในรูปแบบอื่นก็ได แต ตองมีขอความหรือความหมายที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเขาใจได มาตรา ๓๕ ในกรณีที่คำสั่งทางปกครองเปนคำสั่งดวยวาจา ถาผูรับคำสั่งนั้นรองขอและการรองขอไดกระทำ โดยมีเหตุอันสมควรภายในเจ็ดวันนับแตวันที่มีคำสั่งดังกลาว เจาหนาที่ผูออกคำสั่งตองยืนยันคำสั่งนั้นเปนหนังสือ มาตรา ๓๖ คำสั่งทางปกครองที่ทำเปนหนังสืออยางนอยตองระบุ วัน เดือน และปที่ทำคำสั่ง ชื่อและตำแหนง ของเจาหนาที่ผูทำคำสั่ง พรอมทั้งมีลายมือชื่อของเจาหนาที่ผูทำคำสั่งนั้น มาตรา ๓๗ คำสั่งทางปกครองที่ทำเปนหนังสือและการยืนยันคำสั่งทางปกครองเปนหนังสือตองจัดใหมีเหตุผล ไวดวย และเหตุผลนั้นอยางนอยตองประกอบดวย (๑) ขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญ (๒) ขอกฎหมายที่อางอิง (๓) ขอพิจารณาและขอสนับสนุนในการใชดุลพินิจ นายกรัฐมนตรีหรือผูซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดใหคำสั่งทางปกครอง กรณีหนึ่งกรณีใดตองระบุเหตุผลไวในคำสั่งนั้นเองหรือในเอกสารแนบทายคำสั่งนั้นก็ได บทบัญญัติตามวรรคหนึ่งไมใชบังคับกับกรณีดังตอไปนี้ 8 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com (๑) เปนกรณีที่มีผลตรงตามคำขอและไมกระทบสิทธิและหนาที่ของบุคคลอื่น (๒) เหตุผลนั้นเปนที่รูกันอยูแลวโดยไมจำตองระบุอีก (๓) เปนกรณีที่ตองรักษาไวเปนความลับตามมาตรา ๓๒ (๔) เปนการออกคำสั่งทางปกครองดวยวาจาหรือเปนกรณีเรงดวน แตตองใหเหตุผลเปลายลักษณอักษรในเวลา อันควรหากผูอยูในบังคับของคำสั่งนั้นรองขอ มาตรา ๓๘ บทบัญญัติตามมาตรา ๓๖ และมาตรา ๓๗ วรรคหนึ่ง มิใหใชบังคับกับคำสั่งทางปกครองที่กำหนด ในกฎกระทรวง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๙ การออกคำสั่ งทางปกครองเจ าหน าที่ อ าจกำหนดเงื่อ นไขใด ๆ ได เท าที่ จ ำเป น เพื่ อ ให บ รรลุ วัตถุประสงคของกฎหมาย เวนแตกฎหมายจะกำหนดขอจำกัดดุลพินิจเปนอยางอื่น การกำหนดเงื่อนไขตามวรรคหนึ่ ง ให ห มายความรวมถึงการกำหนดเงื่อ นไขในกรณี ดั งต อไปนี้ ตามความ เหมาะสมแกกรณีดวย (๑) การกำหนดใหสิทธิหรือภาระหนาที่เริ่มมีผลหรือสิ้นผล ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง (๒) การกำหนดใหการเริ่มมีผลหรือสิ้นผลของสิท ธิห รือภาระหนาที่ตองขึ้นอยูกับเหตุการณ ในอนาคตที่ไม แนนอน (๓) ขอสงวนสิทธิที่จะยกเลิกคำสั่งทางปกครอง (๔) การกำหนดใหผูไดรับประโยชนตองกระทำหรืองดเวนกระทำหรือตองมีภาระหนาที่หรือยอมรับภาระหนาที่ หรือความรับผิดชอบบางประการ หรือการกำหนดขอความในการจัดใหมี เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มขอกำหนดดังกลาว มาตรา ๔๐ คำสั่งทางปกครองที่อาจอุทธรณหรือโตแยงตอไปไดใหระบุกรณีที่อาจอุทธรณหรือโตแยง การยื่น คำอุทธรณหรือคำโตแยง และระยะเวลาสำหรับการอุทธรณหรือการโตแยงดังกลาวไวดวย ในกรณีที่มีการฝาฝนบทบัญญัติตามวรรคหนึ่ง ใหระยะเวลาสำหรับการอุทธรณหรือการโตแยงเริ่มนับใหมตั้งแต วันที่ไดรับแจงหลักเกณฑตามวรรคหนึ่ง แตถาไมมีการแจงใหมและระยะเวลาดังกลาวมีระยะเวลาสั้นกวาหนึ่งป ใหขยาย เปนหนึ่งปนับแตวันที่ไดรับคำสั่งทางปกครอง มาตรา ๔๑ คำสั่งทางปกครองที่ออกโดยการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ ไมเปนเหตุใหคำสั่ง ทางปกครองนั้นไมสมบูรณ (๑) การออกคำสั่งทางปกครองโดยยังไมมีผูยื่นคำขอในกรณีที่เจาหนาที่จะดำเนินการเองไมไดนอกจากจะมีผูยื่น คำขอ ถาตอมาในภายหลังไดมีการยื่นคำขอเชนนั้นแลว (๒) คำสั่งทางปกครองที่ตองจัดใหมีเหตุผลตามมาตรา ๓๗ วรรคหนึ่ง ถาไดมีการจัดใหมีเหตุผลดังกลาวใน ภายหลัง (๓) การรับฟงคูกรณีที่จำเปนตองกระทำไดดำเนินการมาโดยไมสมบูรณ ถาไดมีการรับฟงใหสมบูรณในภายหลัง (๔) คำสั่งทางปกครองที่ตองใหเจาหนาที่อื่นใหความเห็นชอบกอน ถาเจาหนาที่นั้นไดใหความเห็ นชอบใน ภายหลัง 9 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com เมื่อมีการดำเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) แลว และเจาหนาที่ผูมีคำสั่งทางปกครอง ประสงคใหผลเปนไปตามคำสั่งเดิมใหเจาหนาที่ผูนั้นบันทึกขอเท็จจริงและความสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประสงคของตนไวในหรือแนบไวกับคำสั่งเดิมและตองมีหนังสือแจงความประสงคของตนใหคูกรณีทราบดวย กรณีตาม (๒) (๓) และ (๔) จะตองกระทำกอนสิ้นสุดกระบวนการพิจารณาอุทธรณตามสวนที่ ๕ ของหมวดนี้ หรือตามกฎหมายเฉพาะวาดวยการนั้น หรือถาเปนกรณีที่ไมตองมีการอุทธรณดังกลาวก็ตองกอนมีการนำคำสั่งทาง ปกครองไปสูการพิจารณาของผูมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยความถูกตองของคำสั่งทางปกครองนั้น มาตรา ๔๒ คำสั่งทางปกครองใหมีผลใชยันตอบุคคลตั้งแตขณะที่ผูนั้นไดรับแจงเปนตนไป คำสั่งทางปกครองยอมมีผลตราบเทาที่ยังไมมีการเพิกถอนหรือสิ้นผลลงโดยเงื่อนเวลาหรือโดยเหตุอื่น เมื่อคำสั่งทางปกครองสิ้นผลลง ใหเจาหนาที่มีอำนาจเรียกผูซึ่งครอบครองเอกสารหรือวัตถุอื่นใดที่ไดจัดทำขึ้น เนื่องในการมีคำสั่งทางปกครองดังกลาว ซึ่งมีขอความหรือเครื่องหมายแสดงถึงการมีอยูของคำสั่งทางปกครองนั้น ให สงคืนสิ่งนั้นหรือใหนำสิ่งของดังกลาวอันเปนกรรมสิทธิ์ของผูนั้นมาใหเจาหนาที่จัดทำเครื่องหมายแสดงการสิ้นผลของ คำสั่งทางปกครองดังกลาวได มาตรา ๔๓ คำสั่งทางปกครองที่มีขอผิดพลาดเล็กนอยหรือผิดหลงเล็กนอยนั้น เจาหนาที่อาจแกไขเพิ่มเติมได เสมอ ในการแกไขเพิ่มเติมคำสั่งทางปกครองตามวรรคหนึ่งใหแจงใหผูที่เกี่ยวของทราบตามควรแกกรณี ในการนี้ เจาหนาที่อาจเรียกใหผูที่เกี่ยวของจัดสงคำสั่งทางปกครอง เอกสารหรือวัตถุอื่นใดที่ไดจัดทำขึ้นเนื่องในการมีคำสั่งทาง ปกครองดังกลาวมาเพื่อการแกไขเพิ่มเติมได ส่วนที่ ๕ การอุทธรณ์คาํ สัง่ ทางปกครอง มาตรา ๔๔ ภายใตบังคับมาตรา ๔๘ ในกรณีที่คำสั่งทางปกครองใดไมไดออกโดยรัฐมนตรี และไมมีกฎหมาย กำหนดขั้นตอนอุทธรณภายในฝายปกครองไวเปนการเฉพาะ ใหคูกรณีอุทธรณคำสั่งทางปกครองนั้นโดยยื่นตอเจาหนาที่ ผูทำคำสั่งทางปกครองภายในสิบหาวันนับแตวันที่ตนไดรับแจงคำสั่งดังกลาว คำอุทธรณตองทำเปนหนังสือโดยระบุขอโตแยงและขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายที่อางอิงประกอบดวย การอุทธรณไมเปนเหตุใหทุเลาการบังคับตามคำสั่งทางปกครอง เวนแตจะมีการสั่งใหทุเลาการบังคับตามมาตรา ๕๖ วรรคหนึ่ง มาตรา ๔๕ ใหเจาหนาที่ตามมาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง พิจารณาคำอุทธรณและแจงผูอุทธรณโดยไมชักชา แตตอง ไมเกินสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับอุทธรณ ในกรณีที่เห็นดวยกับคำอุทธรณ ไมวาทั้งหมดหรือบางสวนก็ใหดำเนินการ เปลี่ยนแปลงคำสั่งทางปกครองตามความเห็นของตนภายในกาหนดเวลาดังกลาวดวย ถาเจาหนาที่ตามมาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง ไมเห็นดวยกับคำอุทธรณ ไมวาทั้งหมดหรือบางสวนก็ใหเรงรายงาน ความเห็นพรอมเหตุผลไปยังผูมีอำนาจพิจารณาคำอุทธรณภายในกำหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ใหผูมีอำนาจพิจารณาคำ 10 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com อุทธรณพิจารณาใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่ตนไดรับรายงาน ถามีเหตุจำเปนไมอาจพิจารณาใหแลวเสร็จ ภายในระยะเวลาดังกลาว ใหผูมีอำนาจพิจารณาอุทธรณมีหนังสือแจงใหผูอุทธรณทราบกอนครบกำหนดเวลาดังกลาว ในการนี้ ใหขยายระยะเวลาพิจารณาอุทธรณออกไปไดไมเกินสามสิบวันนับแตวันที่ครบกำหนดเวลาดังกลาว เจาหนาที่ผูใดจะเปนผูมีอำนาจพิจารณาอุทธรณตามวรรคสองใหเปนไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง บทบัญญัติมาตรานี้ไมใชกับกรณีที่มีกฎหมายเฉพาะกำหนดไวเปนอยางอื่น มาตรา ๔๖ ในการพิจารณาอุทธรณ ใหเจาหนาที่พิจารณาทบทวนคำสั่งทางปกครองไดไมวาจะเปนปญหา ขอเท็จจริง ขอกฎหมาย หรือความเหมาะสมของการทำคำสั่งทางปกครอง และอาจมีคำสั่งเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง เดิมหรือเปลี่ยนแปลงคำสั่งนั้นไปในทางใด ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการเพิ่มภาระหรือลดภาระหรือใชดุลพินิจแทนในเรื่องความ เหมาะสมของการทำคำสั่งทางปกครองหรือมีขอกำหนดเปนเงื่อนไขอยางไรก็ได มาตรา ๔๗ การใดที่กฎหมายกำหนดใหอุทธรณตอเจาหนาที่ซึ่งเปนคณะกรรมการ ขอบเขตการพิจารณา อุทธรณใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการนั้น สำหรับกระบวนการพิจารณาใหปฏิบัติตามบทบัญญัติ หมวด ๒ นี้ เทาที่ ไมขัดหรือแยงกับกฎหมายดังกลาว มาตรา ๔๘ คำสั่งทางปกครองของบรรดาคณะกรรมการตาง ๆ ไมวาจะจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายหรือไม ให คูกรณี มี สิท ธิโตแยงตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุ กขตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎี กาไดทั้งในปญ หา ข อ เท็ จ จริ ง และข อ กฎหมาย ภายในเก า สิ บ วั น นั บ แต วั น ที่ ได รั บ แจ ง คำสั่ ง นั้ น แต ถ า คณะกรรมการดั ง กล า วเป น คณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท สิทธิการอุทธรณและกำหนดเวลาอุทธรณ ใหเปนไปตามที่บัญญัติในกฎหมายวาดวย คณะกรรมการกฤษฎีกา ส่วนที่ ๖ การเพิกถอนคําสัง่ ทางปกครอง มาตรา ๔๙ เจาหนาที่หรือผูบังคับบัญชาของเจาหนาที่อาจเพิกถอนคำสั่งทางปกครองไดตามหลักเกณฑใน มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ และมาตรา ๕๓ ไมวาจะพนขั้นตอนการกำหนดใหอุทธรณหรือใหโตแยงตามกฎหมายนี้หรือ กฎหมายอื่นมาแลวหรือไม การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่มีลักษณะเปนการใหประโยชนตองกระทำภายในเกาสิบวันนับแตไดรูถึงเหตุที่ จะใหเพิกถอนคำสั่งทางปกครองนั้น เวนแตคำสั่งทางปกครองจะไดทำขึ้น เพราะการแสดงขอความอันเปนเท็จหรือ ปกปดขอความจริงซึ่งควรบอกใหแจงหรือการขมขูหรือการชักจูงใจโดยการใหทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดที่มิชอบ ดวยฎหมาย มาตรา ๕๐ คำสั่งทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายอาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางสวน โดยจะใหมีผล ยอนหลังหรือไมยอนหลังหรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำหนดได แตถาคำสั่งนั้นเปนคำสั่งซึ่งเปนการ ใหประโยชนแกผูรับ การเพิกถอนตองเปนไปตามบทบัญญัติมาตรา ๕๑ และมาตรา ๕๒ 11 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com มาตรา ๕๑ การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการใหเงิน หรือใหทรัพยสินหรือให ประโยชนที่อาจแบงแยกได ใหคำนึงถึงความเชื่อโดยสุจริตของผูรับประโยชนในความคงอยูของคำสั่งทางปกครองนั้นกับ ประโยชนสาธารณะประกอบกัน ความเชื่อโดยสุจริตตามวรรคหนึ่งจะไดรับความคุมครองตอเมื่อผูรับคำสั่งทางปกครองไดใชประโยชนอันเกิด จากคำสั่งทางปกครองหรือไดดำเนินการเกี่ยวกับทรัพยสินไปแลวโดยไมอาจแกไขเปลี่ยนแปลงไดหรือการเปลี่ยนแปลง จะทำใหผูนั้นตองเสียหายเกินควรแกกรณี ในกรณีดังตอไปนี้ ผูรับคำสั่งทางปกครองจะอางความเชื่อโดยสุจริตไมได (๑) ผูนั้นไดแสดงขอความอันเปนเท็จหรือปกปดขอความจริงซึ่งควรบอกใหแจง หรือขมขู หรือชักจูงใจโดยการ ใหทรัพยสินหรือใหประโยชนอื่นใดที่มิชอบดวยกฎหมาย (๒) ผูนั้นไดใหขอความซึ่งไมถูกตองหรือไมครบถวนในสาระสำคัญ (๓) ผูนั้นไดรูถึงความไมชอบดวยกฎหมายของคำสั่งทางปกครองในขณะไดรับคำสั่งทางปกครองหรือการไมรูนั้น เปนไปโดยความประมาทเลินเลออยางรายแรง ในกรณีที่เพิกถอนโดยใหมีผลยอนหลัง การคืนเงิน ทรัพยสินหรือประโยชนที่ผูรับคำสั่งทางปกครองไดไป ใหนำ บทบัญญัติวาดวยลาภมิควรไดในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาใชบังคับโดยอนุโลม โดยถาเมื่อใดผูรับคำสั่งทาง ปกครองไดรูถึงความไมชอบดวยกฎหมายของคำสั่งทางปกครองหรือควรไดรูเชนนั้นหากผูนั้นมิไดประมาทเลินเลออยาง รายแรงใหถือวาผูนั้นตกอยูในฐานะไมสุจริตตั้งแตเวลานั้นเปนตนไป และในกรณีตามวรรคสาม ผูนั้นตองรับผิดในการคืน เงิน ทรัพยสินหรือประโยชนที่ไดรับไปเต็มจำนวน มาตรา ๕๒ คำสั่งทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายและไมอยูในบังคับของมาตรา ๕๑ อาจถูกเพิกถอน ทั้งหมดหรือบางสวนได แตผูไดรับผลกระทบจากการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองดังกลาวมีสิทธิไดรับคาทดแทนความ เสียหายเนื่องจากความเชื่อโดยสุจริตในความคงอยูของคำสั่งทางปกครองได และใหนำความในมาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบังคับโดยอนุโลม แตตองรองขอคาทดแทนภายในหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตไดรับแจงให ทราบถึงการเพิกถอนนั้น คาทดแทนความเสียหายตามมาตรานี้จะตองไมสูงกวาประโยชนที่ผูนั้นอาจไดรับหากคำสั่งทางปกครองดังกลาว ไมถูกเพิกถอน มาตรา ๕๓ คำสั่งทางปกครองที่ชอบดวยกฎหมายซึ่งไมเปนการใหประโยชนแกผูรับคำสั่งทางปกครองอาจถูก เพิกถอนทั้งหมดหรือบางสวนโดยใหมีผลตั้งแตขณะที่เพิกถอนหรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำหนดได เวนแตเปนกรณี ที่คงตองทำคำสั่งทางปกครองที่มีเนื้อหาทำนองเดียวกันนั้นอีก หรือเปนกรณี ที่การเพิกถอนไมอาจ กระทำไดเพราะเหตุอื่น ทั้งนี้ ใหคำนึงถึงประโยชนของบุคคลภายนอกประอบดวย คำสั่งทางปกครองที่ชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการใหประโยชนแกผูรับคำสั่งทางปกครองอาจถูกเพิกถอนทั้งหมด หรือบางสวนโดยใหมีผลตั้งแตขณะที่เพิกถอน หรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำหนดไดเฉพาะเมื่อมี กรณีดังตอไปนี้ (๑) มีกฎหมายกำหนดใหเพิกถอนไดหรือมีขอสงวนสิทธิใหเพิกถอนไดในคำสั่งทางปกครองนั้นเอง (๒) คำสั่งทางปกครองนั้นมีขอกำหนดใหผูรับประโยชนตองปฏิบัติ แตไมมีการปฏิบัติภายในเวลาที่กำหนด 12 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com (๓) ขอเท็จจริงและพฤติการณเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากมีขอเท็จจริงและพฤติการณเชนนี้ในขณะทำคำสั่งทาง ปกครองแลวเจาหนาที่คงจะไมทำคำสั่งทางปกครองนั้น และหากไมเพิกถอนจะกอใหเกิดความเสียหายตอประโยชน สาธารณะได (๔) บทกฎหมายเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหา กมีบทกฎหมายเชนนี้ในขณะทำคำสั่งทางปกครองแลวเจาหนาที่คงจะ ไมทำคำสั่งทางปกครองนั้น แตการเพิกถอนในกรณีนี้ใหกระทำไดเทาที่ผูรับประโยชนยังไมไดใชประโยชน หรือยังไมได รับประโยชนตามคำสั่งทางปกครองดังกลาว และหากไมเพิกถอนจะกอใหเกิดความเสียหายตอประโยชนสาธารณะได (๕) อาจเกิดความเสียหายอยางรายแรงตอประโยชนสาธารณะหรือตอประชาชนอันจำเปนตองปองกันหรือขจัด เหตุดังกลาว ในกรณีที่มีการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองเพราะเหตุตามวรรคสอง (๓) (๔) และ (๕) ผูไดรับประโยชนมีสิทธิ ไดรับคาทดแทนความเสียหายอันเกิดจากความเชื่อโดยสุจริตในความคงอยูของคำสั่งทางปกครองได และใหนำมาตรา ๕๒ มาใชบังคับโดยอนุโลม คำสั่งทางปกคองที่ชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการใหเงินหรือใหทรัพยสินหรือใหประโยชนที่อาจแบงแยกได อาจ ถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางสวนโดยใหมีผลยอนหลังหรือไมมีผลยอนหลังหรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่ง ตามที่กำหนดไดในกรณีดังตอไปนี้ (๑) มิไดปฏิบัติหรือปฏิบัติลาชาในอันที่จะดำเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคของคำสั่งทางปกครอง (๒) ผูไดรับประโยชนมิไดปฏิบัติหรือปฏิบัติลาชาในอันที่จะดำเนินการให เปนไปตามเงื่อนไขของคำสั่งทาง ปกครอง ทั้งนี้ ใหนำความในมาตรา ๕๑ มาใชบังคับโดยอนุโลม ส่วนที่ ๗ การขอให้พจิ ารณาใหม่ มาตรา ๕๔ เมื่อคูกรณีมีคำขอ เจาหนาที่อาจเพิกถอนหรือแกไขเพิ่มเติมคำสั่งทางปกครองที่พนกำหนดอุทธรณ ตามสวนที่ ๕ ไดในกรณีดังตอไปนี้ (๑) มีพยานหลักฐานใหม อันอาจทำใหขอเท็จจริงที่ฟงเปนยุติแลวนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสำคัญ (๒) คูกรณีที่แทจริงมิไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองหรือไดเขามาในกระบวนการพิจารณาครั้ง กอนแลวแตถูกตัดโอกาสโดยไมเปนธรรมในการมีสวนรวมในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง (๓) เจาหนาที่ไมมีอำนาจที่จะทำคำสั่งทางปกครองในเรื่องนั้น (๔) ถาคำสั่งทางปกครองไดออกโดยอาศัยขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายใดและตอมาขอเท็จจริงหรือขอกฎหมาย นั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสำคัญในทางที่จะเปนประโยชนแกคูกรณี การยื่นคำขอตามวรรคหนึ่ ง (๑) (๒) หรือ (๓) ให กระทำได เฉพาะเมื่อคูกรณี ไมอาจทราบถึงเหตุนั้นในการ พิจารณาครั้งที่แลวมากอนโดยไมใชความผิดของผูนั้น 13 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com การยื่นคำขอใหพิจารณาใหมตองกระทำภายในเกาสิบวันนับแตผูนั้นไดรูถึงเหตุซึ่งอาจขอใหพิจารณาใหมได ส่วนที่ ๘ การบังคับทางปกครอง มาตรา ๕๕ การบังคับทางปกครองไมใชกับเจาหนาที่ดวยกัน เวนแตจะมีกฎหมายกำหนดไวเปนอยางอื่น มาตรา ๕๖ เจาหนาที่ผูทำคำสั่งทางปกครองมีอำนาจที่จะพิจารณาใชมาตรการบังคับทางปกครองเพื่อให เปนไปตามคำสั่งของตนไดตามบทบัญญัติในสวนนี้ เวนแตจะมีการสั่งใหทุเลาการบังคับไวกอนโดยเจาหนาที่ผูทำคำสั่ง นั้นเอง ผูมีอานาจพิจารณาคำอุทธรณหรือผูมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยความถูกตองของคำสั่งทางปกครองดังกลาว เจาหนาที่ตามวรรคหนึ่งจะมอบอำนาจใหเจาหนาที่ซึ่งอยูใตบังคับบัญชาหรือเจาหนาที่อื่นเปนผูดำเนินการก็ได ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง ใหเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองใชมาตรการบังคับทางปกครองเพียงเทาที่จำเปนเพื่อใหบรรลุตาม วัตถุประสงคของคำสั่งทางปกครอง โดยกระทบกระเทือนผูอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครองนอยที่สุด มาตรา ๕๗ คำสั่งทางปกครองที่กำหนดใหผูใดชำระเงิน ถาถึงกำหนดแลวไมมีการชำระโดยถูกตองครบถวน ใหเจาหนาที่มีหนังสือเตือนใหผูนั้นชำระภายในระยะเวลาที่กำหนดแตตองไมนอยกวาเจ็ดวัน ถาไมมีการปฏิบัติตามคำ เตือน เจาหนาที่อาจใชมาตรการบังคับทางปกครองโดยยึดหรืออายัดทรัพยสินของผูนั้นและขายทอดตลาดเพื่อชำระเงิน ใหครบถวน วิธีการยึด การอายัดและการขายทอดตลาดทรัพยสินใหปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงโดย อนุโลม สวนผูมีอำนาจสั่งยึดหรืออายัดหรือขายทอดตลาดใหเปนไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๘ คำสั่งทางปกครองที่กำหนดใหกระทำหรือละเวนกระทำ ถาผูอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครองฝา ฝนหรือไมปฏิบัติตาม เจาหนาที่อาจใชมาตรการบังคับทางปกคองอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ (๑) เจาหนาที่เขาดำเนินการดวยตนเองหรือมอบหมายใหบุคคลอื่นกระทำการแทนโดยผูอยูในบังคับของคำสั่ง ทางปกครองจะตองชดใชคาใชจายและเงินเพิ่มในอัตรารอยละยี่สิบหาตอปของคาใชจายดังกลาวแกเจาหนาที่ (๒) ใหมีการชำระคาปรับทางปกครองตามจำนวนที่สมควรแกเหตุแตตองไมเกินสองหมื่นบาทตอวัน เจาหนาที่ระดับใดมีอำนาจกำหนดคาปรับทางปกครองจำนวนเทาใดสำหรับในกรณีใด ใหเปนไปตามที่กำหนด ในกฎกระทรวง ในกรณีที่มีความจำเปนที่จะตองบังคับการโดยเรงดวนเพื่อปองกันมิใหมีการกระทำที่ขัดตอกฎหมายที่มีโทษทาง อาญาหรือมิใหเกิดความเสียหายตอประโยชนสาธารณะ เจาหนาที่อาจใชมาตรการบังคับทางปกครองโดยไมตองออก คำสั่งทางปกครองใหกระทำหรือละเวนกระทำกอนก็ได แตทั้งนี้ตองกระทำโดยสมควรแกเหตุและภายในขอบเขตอำนาจ หนาที่ของตน 14 : ติวสอบราชการ กับ อาจารย วรกฤต : 0814422801 : Topbright official : www.topbrighttutor.com มาตรา ๕๙ กอนใชมาตรการบังคับทางปกครองตามมาตรา ๕๘ เจาหนาที่จะตองมีคำเตือนเปนหนังสือใหมี การกระทำหรือละเวนกระทำตามคำสั่งทางปกครองภายในระยะเวลาที่กำหนดตามสมควรแกกรณี คำเตือนดังกลาวจะ กำหนดไปพรอมกับคำสั่งทางปกครองก็ได คำเตือนนั้นจะตองระบุ (๑) มาตรการบังคับทางปกครองที่จะใชใหชัดแจง แตจะกำหนดมากกวาหนึ่งมาตรการในคราวเดียวกันไมได (๒) คาใชจายในการที่เจาหนาที่เขาดำเนินการดวยตนเองหรือมอบหมายใหบุคคลอื่นกระทำการแทน หรือ จำนวนคาปรับทางปกครอง แลวแตกรณี การกำหนดคาใชจายในคำเตือน ไมเปนการตัดสิทธิที่จะเรียกคาใชจายเพิ่มขึ้น หากจะตองเสียคาใชจายจริง มากกวาที่ไดกำหนดไว มาตรา ๖๐ เจาหนาที่จะตองใชมาตรการบังคับทางปกครองตามที่กำหนดไวในคำเตือนตามมาตรา ๕๙ การ