ปัญหาสุขภาพจิตเด็ก-วัยรุ่นและวัยเรียน PDF

Document Details

ProlificAgate6604

Uploaded by ProlificAgate6604

พญ.เฉิดพิธุ วินัศปัทมา

Tags

mental health child development adolescent child psychology

Summary

เอกสารวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพจิตในเด็ก วัยรุ่นและวัยเรียน คำนึงถึงอาการ, สาเหตุ และการช่วยเหลือที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย

Full Transcript

✓โรคสมาธิสั้น ✓โรคแอลดี ✓โรคสติปัญญาบกพร่องและเด็กเรียนรู้ช้า ✓โรคออทิสติก ❖เด็กติดเกม ❖การรังแกกัน ❖โรคซึมเศร้าในวัยเรียน 2 3 ซน อยู่ไม่นิ่ง ขาดสมาธิ ไม่เหมาะสมกับอ...

✓โรคสมาธิสั้น ✓โรคแอลดี ✓โรคสติปัญญาบกพร่องและเด็กเรียนรู้ช้า ✓โรคออทิสติก ❖เด็กติดเกม ❖การรังแกกัน ❖โรคซึมเศร้าในวัยเรียน 2 3 ซน อยู่ไม่นิ่ง ขาดสมาธิ ไม่เหมาะสมกับอายุและระดับพัฒนา เกิดผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจาวันและการเรียน เป็นมาตลอดต่อเนื่องไม่ต่ากว่า 6 เดือน เกิดขึ้นก่อนอายุ 12 ปี ▪ สะเพร่า มักทางานผิดพลาดเนื่องจากขาดความรอบคอบ ▪ ขาดสมาธิในการทางาน หรือการเล่น ▪ วอกแวกง่าย แม้มีสิ่งรบกวนเพียงเล็กน้อย ▪ หลีกเลี่ยงหรือลังเลที่จะทางานที่ต้องอาศัยความอดทน ▪ เหม่อลอย ดูเหมือนไม่ฟังเวลามีคนพูดด้วย ▪ ทาตามสั่งไม่ครบ ทางานช้า ทางานไม่เสร็จ ▪ ไม่สามารถวางแผน หรือทางานให้เป็นระเบียบได้ ▪ ขี้ลืม มักทาของใช้จาเป็นสาหรับงานหรือการเรียนหายอยู่บ่อยๆ ▪ มักลืมกิจวัตรที่ทาเป็นประจา ▪ ยุกยิก อยู่ไม่สุข ไม่สามารถอยู่นิ่งๆ ได้ มือและเท้าขยับไปมา ▪ ลุกจากที่นั่งบ่อยเมื่อจาเป็นต้องนั่งนานๆ ▪ จะมักวิ่งไปมา หรือปีนป่ายในสถานที่ที่ไม่ควรทา ถ้าเป็นวัยรุ่น จะรู้สึกกระวนกระวายใจ ▪ ไม่สามารถเล่น หรือทากิจกรรมเงียบๆได้ ▪ เคลื่อนไหวตลอดเวลาเหมือนติดเครือ่ งยนต์ มีพลังงานมาก ▪ พูดมาก ▪ พูดแทรก หรือพูดสวนทันทีก่อนผู้ถามจะพูดจบ ▪ ใจร้อน รอคอยไม่ได้ ▪ มักเข้าไปขัดจังหวะ รบกวน หรือหยิบของผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาต วัยอนุบาล ▪ ช่วงขวบปีแรก มักมีประวัติว่าเลี้ยงยาก เช่น กินยาก นอนยาก ร้องกวนมาก ▪ มักมีพัฒนาการค่อนข้างเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการนั่ง คลาน ยืน เดิน หรือวิ่ง ▪ เมื่อเริ่มเดินก็จะซนอยู่ไม่นิ่ง วิ่งหรือปีนป่ายไม่หยุด ▪ เมื่อเข้าอนุบาลคุณครูมักจะเห็นว่าเด็กยุกยิกอยู่ไม่นิ่ง ลุกจาก เก้าอี้ เดินออกนอกห้อง ปีนป่าย รื้อค้นสิ่งของ พลังงานมาก ไม่ นอนกลางวัน เล่นกับเพื่อนแรงๆ วัยประถมศึกษา ▪ เมื่อเข้าวัยเรียน เด็กมักสมาธิไม่ดี วอกแวกง่าย เหม่อลอยบ่อย จดงานช้า ทางานไม่เสร็จ ลืม เอาการบ้านมาส่ง หรือยุกยิกไปมา ทาให้มีปัญหาการเรียนตามมา ▪ การควบคุมตนเองของเด็กไม่ค่อยดี อาจมีพฤติกรรมก้าวร้าว หงุดหงิดง่าย ทนต่อความคับข้อง ใจไม่ค่อยได้ ทาให้เกิดปัญหากับเพื่อนๆ หรือเล่นแรง แกล้งเพื่อน ▪ เมื่ออยู่ในห้องเรียนก็มักจะรบกวนชั้นเรียน ไม่ค่อยให้ความร่วมมือทาตามกฎเกณฑ์ของ ห้องเรียน เช่น ชวนเพื่อนคุย ออกไปเข้าห้องน้าโดยไม่ขออนุญาต วัยมัธยมศึกษา ▪ เมื่อเข้าวัยรุ่น อาการซนอยู่ไม่นิ่งจะลดลง แต่อาการขาดสมาธิและความยับยั้ง ชั่งใจยังคงอยู่ ทาให้มีปัญหาการเรียนหนักขึ้น ▪ ความล้มเหลวตั้งแต่เด็กและความรู้สึกว่าตนเองไม่ดี ประกอบกับเบื่อง่าย ชอบ ความท้าทาย -> อาจเกิดพฤติกรรมเกเร -> รวมกลุ่มกับเพื่อนที่คล้ายกัน ชวน กันทาเรื่องผิดกฎโรงเรียน อาจถึงขั้นใช้สารเสพติด เที่ยวกลางคืน และถูกให้ ออกจากระบบการศึกษาในที่สุด ▪ การสารวจในประเทศไทย พบว่ามีความชุกประมาณร้อยละ 8 โดยพบในกลุ่มเด็กนักเรียนชาย มากกว่ากลุ่มเด็กนักเรียนหญิง ▪ ในห้องเรียนที่มีเด็ก 50 คน จะมีเด็กสมาธิสั้นประมาณ 3 - 4 คน ▪ พันธุกรรม ถ่ายทอดทางยีน ในครอบครัวอาจมีพี่น้อง หรือญาติของเด็กที่มีอาการสมาธิสนั้ เช่นกัน ▪ สารเคมีในสมองที่หลั่งผิดปกติ ▪ มีปัญหาตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือหลังคลอด เช่น คลอดก่อนกาหนด ขาดออกซิเจน หรือเคยเกิด อุบัติเหตุทางสมอง โรคไข้สมองอักเสบ การได้รับสารพิษบางอย่าง สาเหตุดังกล่าวทาให้ “สมองส่วนหน้า” ซึ่งทาหน้าที่ ควบคุมตนเองและตั้งสมาธิ ทางานได้ไม่เต็มที่ ปัจจุบันเชื่อว่าโรคสมาธิสั้นเป็นความผิดปกติของสมอง ไม่ได้เกิดจากการเลี้ยงดูที่ผิดวิธี (แต่การเลี้ยงดูที่ผิดวิธีจะทาให้อาการของโรครุนแรงขึ้น) สมาธิสั้น….สั้นอย่างไรจึงเรียกว่าผิดปกติ ? ▪ อาการขาดสมาธิ ซน อยู่ไม่นิ่ง หุนหันพลันแล่น สามารถพบได้ในคนปกติทั่วไป ▪ แต่สาหรับเด็กสมาธิสั้นนั้น อาการต้องเป็น “เกือบตลอดเวลา” ทุกสถานที่ ทุกบุคคล ▪ ทาให้เสียหายต่อการเรียน เช่น เรียนไม่ทันเพื่อน ผลการเรียนตกต่า และส่งผลต่อการใช้ ชีวิตประจาวัน เช่น โดนครูและพ่อแม่ดุ โดนทาโทษบ่อยๆ เพื่อนไม่อยากเล่นด้วย เด็กแค่เบื่อง่ายเวลาทางาน ไม่เห็นซน จะเรียกว่าสมาธิสั้นได้อย่างไร ? ▪ เป็นไปได้ เพราะเด็กบางคนจะมีอาการสมาธิสั้นเพียงอย่างเดียวแต่ไม่ซนหรือวู่วาม ▪ ลักษณะดังกล่าวพบได้ทั้งในเด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิง มักทาให้ผู้ใหญ่มองข้ามไป ถูกวินิจฉัยได้ ช้าและไม่ได้รับความช่วยเหลือเท่าที่ควร บอกว่าเด็กเป็นโรคสมาธิสั้น แล้วทาไมเด็กดูทีวีหรือเล่นเกมนานเป็นชั่วโมงๆ? ▪ สมาธิถูกกระตุ้นได้จากสิ่งเร้าที่น่าสนใจ ซึ่งโทรทัศน์หรือเกม ซึ่งมีภาพและเสียงประกอบที่สนุก ตื่นเต้นเร้า ใจ ไม่น่าเบื่อ ดังนั้นเด็กสมาธิสั้นจึงดูมีสมาธิ จดจ่อกับโทรทัศน์หรือเกมได้นานๆ ▪ การจะพิจารณาว่าเด็กสามารถจดจ่อ มีสมาธิดีหรือไม่ ควรสังเกตเมื่อเด็กทางานที่ไม่ชอบ และเป็นงานที่น่า เบื่อ (สาหรับเด็ก) เช่น การทาการบ้าน การทบทวนบทเรียน การทางานที่ได้รับมอบหมาย จะเป็นอะไรไหม…ถ้าไม่รักษา ? ▪ เด็กประถมกลุ่มขาดสมาธิอย่างเดียว ไม่ซน -> ผลการเรียนต่ากว่าความสามารถจริง จะพบอารมณ์เศร้า มองตัวเองไม่ดี ขาดความมั่นใจในความสามารถของตนเอง ▪ เด็กประถมกลุ่มซน/หุนหันพลันแล่น -> มักโดนตาหนิโดนลงโทษ เข้ากับเพื่อนได้ยาก อาจมีพฤติกรรม ต่อต้าน ไม่เชื่อฟัง พบอารมณ์หงุดหงิด กังวล เครียด มองไม่เห็นคุณค่าภายในตัวเอง ▪ เมื่อเข้าวัยรุ่น เด็กมักไปรวมกลุ่มกับเด็กที่เรียนไม่เก่ง พฤติกรรมต่อต้าน ก้าวร้าว โกหก ขโมย หนีเรียน จะ ยิ่งเห็นได้ชัดขึ้น บางรายเริ่มใช้ยาเสพติด การเรียนที่ตกต่าลงทาให้เกิดความเบื่อหน่าย และอาจออกจาก โรงเรียนก่อนวัยอันควร ▪ กิจกรรมในแต่ละวันควรมีตารางที่แน่นอน ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงครูต้องบอกล่วงหน้า และย้าเตือนความจาทุกครั้ง ▪ เขียนข้อตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ถอดรองเท้าก่อนเข้าห้องเรียน ไม่วิ่งเล่นใน ห้องเรียน ส่งการบ้านเป็นที่ ข้อตกลงควรมีลักษณะเข้าใจง่าย เขียนสั้นๆ เฉพาะที่สาคัญ ไม่เปลี่ยนไปเปลี่ยนมา ▪ หลีกเลี่ยงการตกแต่งห้องเรียนด้วยสีสันหรือลักษณะสะดุดตาที่จะดึงดูดความสนใจ มากกว่าการสอนของคุณครู ▪ จัดให้นั่งข้างหน้า ตรงกลาง ไม่อยู่ใกล้ประตูหรือหน้าต่าง หรือจัดให้นั่งใกล้ครูเพื่อดูแลได้ อย่างใกล้ชิด และให้มีเด็กเรียบร้อยนั่งขนาบข้าง ▪ แบ่งงานเป็นขั้นตอนย่อยๆ ให้เหมาะสมกับช่วงสมาธิของเด็ก โดยให้ทาทีละขั้น สลับกับให้เด็กเปลี่ยน อิริยาบถ ▪ การเปลี่ยนอิริยาบถ เช่น ให้ช่วยครูเดินแจกสมุดเพื่อนในห้อง ช่วยลบกระดาน เป็นต้น ▪ เขียนงานที่เด็กต้องทาในชั้นเรียนให้ชัดเจนบนกระดาน แต่อย่าเขียนจนแน่นเต็มกระดาน พยายามสั่งงาน ด้วยวาจาให้น้อยที่สุด หากต้องสั่งงานด้วยวาจาให้เด็กทบทวนคาสั่งเสมอ ▪ ตรวจสมุดงานของเด็กเพื่อให้แน่ใจว่าเด็กจดงานได้ครบถ้วน ▪ ถ้าเด็กหมดสมาธิให้เรียกเด็กกลับมาสนใจเรียน โดยไม่ทาให้เด็กเสียหน้า เช่น เคาะที่โต๊ะเด็ก หรือแตะไหล่ เด็กเบาๆ ▪ หลีกเลี่ยงการใช้วาจาตาหนิหรือประจานที่จะทาให้เด็กอับอาย และไม่ลงโทษรุนแรง เช่น การตี ควรใช้ วิธีการตัดคะแนน ลดเวลาพัก ทาเวร หรืออยู่ต่อหลังเลิกเรียน (เพื่อทางานที่ค้างอยู่ให้เสร็จ) ▪ ให้คาชมเชย หรือรางวัลเล็กๆ น้อยๆ เมื่อเด็กทาตัวดีหรือทาสิ่งที่เป็นประโยชน์ ▪ เด็กสมาธิสั้นบางคนที่พบแพทย์แล้ว จะมียาที่ช่วยให้เด็กมีสมาธิดีขึ้น ควบคุมตัวเองได้ดีขึ้น ▪ ยามักต้องรับประทานหลังอาหารเช้าและหลังอาหารเที่ยง (บางคนอาจมียาช่วง 15.00-16.00 น. ด้วย) ครู จึงต้องคอยดูแลให้เด็กกินยาตรงเวลา เพื่อให้เด็กมีสมาธิการเรียนและกิจกรรมได้ตลอดทั้งวัน ▪ บางรายได้รับยาควบคุมอาการชนิดออกฤทธิ์ยาว เด็กมักจะรับประทานมาจากที่บ้านแล้ว ผู้ปกครองของเด็กบางคนอาจนา “ใบรายงานโรงเรียน” มาให้ครูช่วยกรอก เพื่อเป็นการสื่อสาร ระหว่างครูกับแพทย์ ซึ่งมีความสาคัญอย่างมากในการติดตามอาการและการปรับขนาดยา 21 รูปร่างหน้าตาของเด็กจะปกติ เหมือนเพื่อนในห้องทุกอย่าง พูดคุยตอบคาถามทั่วไปได้รู้เรื่องดี ดูเฉลียวฉลาดดี แก้ปัญหาโดยการลงมือทาได้ดี แต่ความสามารถในการเรียนของเด็กจะต่ากว่าเด็กคนอื่นในวัยเดียวกัน ประมาณ 2 ระดับชั้นเรียน บกพร่อง บกพร่อง บกพร่อง ด้านการอ่าน ด้านการเขียน ด้านคณิตศาสตร์ ความบกพร่องด้านการอ่าน ▪อ่านหนังสือไม่ออก โดยเฉพาะคายาก เช่น คาควบกล้า การันต์ หรือคาที่สะกดไม่ ตรงมาตรา ▪อ่านช้า ตะกุกตะกัก มักอ่านข้ามคา ▪อ่านผิดเพี้ยนจากคาเดิม เนื่องจากเดาคาจากตัวอักษรแรก เช่น เพื่อน อ่านเป็น พี่, เที่ยว อ่านเป็น ที่, เขา อ่านเป็น ขา ▪แยกพยางค์ในการอ่านไม่ได้ เช่น พยายาม = พา-ยาย เขลา = เข-ลา ▪เรียนรู้คาศัพท์ใหม่ๆ ได้จากัด สอนแล้วจาไม่ได้ ได้หน้าลืมหลัง ▪สรุปใจความของการอ่านไม่ได้ ความบกพร่องด้านการเขียน ▪ เขียนพยัญชนะ สระได้ไม่ครบ ▪ เขียนตัวหนังสือกลับด้าน สับสนหัวเข้าหัวออก เช่น พ-ผ ค-ด ถ-ภ และหัวหยัก เช่น ต ฆ ฎ ฏ ▪ สะกดคาผิด วางตาแหน่งพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ไม่ถูกต้อง และมีปัญหาในการเขียนคา ยาก คาพ้องเสียงหรือคาที่สะกดไม่ตรงมาตรา ▪ เขียนช้าเพราะต้องดูตามแบบทีละตัว ▪ ลายมือหวัด การเขียนไม่เป็นระเบียบ ตัวอักษรขนาดและช่องไฟไม่เท่ากัน เขียนไม่ตรง บรรทัด ▪ มีปัญหาการแต่งประโยค การเว้นวรรค การใช้ไวยากรณ์ และการเรียบเรียงเนื้อหาในการ เขียน มักเลือกใช้คาศัพท์ง่ายๆ ใช้คาซ้าๆ ความบกพร่องด้านคณิตศาสตร์ ▪ ไม่เข้าใจลาดับตัวเลข พูดตัวเลข 1-20 กลับไปมาไม่ได้ ไม่เข้าใจค่าของจานวนนับ ▪ เขียนตัวเลขกลับกัน เช่น 35 เขียนเป็น 53 ▪ จาสูตรคูณ สูตรคณิตศาสตร์ และสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ไม่ได้ (เช่น =, ≠, >, ใช้วิธีเดียวกับเด็กสมาธิสั้น ▪ ปัญหาการสื่อสาร เด็กมักไม่ค่อยเข้าใจคาสั่ง และมีภาษาพูดของตนเองที่คนทั่วไปไม่เข้าใจ -> อาจต้องใช้รูปภาพหรือสีช่วยในการสื่อสาร ▪ เด็กมักเรียนรู้ผ่านตัวหนังสือได้ไม่ดี แต่เด็กจะจาได้ดีเมื่อเห็นเป็นภาพ -> ใช้รูปภาพประกอบ สอน ▪ เด็กมักขาดความสามารถในการสร้างจินตนาการ ดูการจากที่เล่นสมมติไม่เป็น -> การวาด ภาพเหมือนของจริงและการใช้หุ่นมือเล่านิทานจะช่วยให้เด็กออทิสติกจินตนาการได้ดีขึ้น ▪ สิ่งแวดล้อม เช่น ร้อนหรือหนาวจนเกินไป –> งอแง หรือไม่ชินสถานที่ -> อยู่ไม่นิ่ง ▪ ความเจ็บป่วย เช่น เด็กตีหัวตัวเองบ่อยๆอาจเป็นเพราะปวดหัว หรือบางทีเด็กหงุดหงิดง่ายขึ้น อาจเป็น เพราะเด็กปวดท้อง ▪ การฝึกมากเกินไป เด็กอาจมีพฤติกรรมต่อต้าน อาละวาด หากให้ทากิจกรรมที่ยากและนานจนเกินไป ▪ การกระตุ้นตนเอง เช่น โยกตัว สะบัดมือ กลิ้งของเล่นไปมา -> ต้องใช้การทากิจกรรมบาบัด หรือส่งต่อ ข้อมูลผ่านพ่อแม่เพื่อให้แพทย์ปรับยา ▪ การเรียกร้องความสนใจ เช่น เด็กไม่อยากกินข้าวเอง จึงตีหัวตัวเอง พอครูเห็นจึงเข้ามากอดแล้วป้อน ข้าวเด็ก เมื่อถึงเวลากินข้าวครั้งต่อไป เด็กก็จะตีหัวตัวเองเพื่อให้ครูป้อนข้าวให้อกี ▪ ความต้องการหลีกหนี เช่น เมื่อกินข้าวเสร็จเด็กจะต้องล้างจาน จึงทาจานแตกเพื่อหลีกเลีย่ งการล้างจาน ▪ การเบี่ยงเบนความสนใจ เพื่อลดพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ โดยการหาสิ่งที่น่าสนใจมากกว่ามาให้เด็กทา ▪ การไม่สนใจ/เพิกเฉย เพื่อลดพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ แต่ไม่เป็นอันตราย เช่น เด็กนอนดิ้นกับพื้นเมื่ออยากได้ของเล่น ให้ เดินหนีและดูความปลอดภัยอยู่ห่างๆ อย่าให้เด็กรู้ตัว ▪ การจับทาและจับให้หยุด ใช้สร้างพฤติกรรมใหม่ หรือหยุดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น จับมือไม่ให้รื้อของ จับมือจับช้อน กินข้าว แล้วลดการช่วยเหลือลงเรื่อยๆ จนเด็กทาได้ด้วยตนเอง ▪ การให้รางวัล เพื่อเพิ่มพฤติกรรมที่ต้องการ โดยการให้รางวัลทันทีหลังจากเด็กมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ หรือ ทางานที่มอบหมายจนเสร็จ อาจเป็นขนม ของเล่น คาชม สติ๊กเกอร์ ดาว ▪ การเพิ่มสิ่งเร้า เพื่อเพิ่มพฤติกรรมที่ต้องการ โดยการเพิ่มสิ่งเร้าให้น่าสนใจ ใช้รูปแบบการกระตุ้นที่หลากหลาย เช่น ใช้เสียงที่ดังขึ้น ใช้เพลงประกอบ ใช้สีสันที่สดใส สรุปปัญหาทางสุขภาพจิตในเด็กที่พบบ่อย เด็กสมาธิสั้น ซนเกินไป ใจลอย รอคอยไม่ได้ เด็กแอลดี อ่านเพี้ยน เขียนผิด คิดเลขพลาด เด็กเรียนรู้ช้า เชื่อคนง่าย ไร้ไหวพริบ คิดอ่านช้า เด็กออทิสติก ไม่สบตา ไม่พาที ไม่ชี้นิ้ว ไม่ชอบเปลี่ยนแปลง ใช้เวลาไปกับการเล่นเกมมากขึ้น ถ้าถูกห้ามไม่ให้เล่น คิดหมกมุ่นอยู่แต่ เรื่อยๆ มากกว่าที่ตั้งใจไว้ จะหงุดหงิด อาจถึง กับการเล่นเกม ขั้นก้าวร้าวได้ ส่งผลกระทบต่อการเรียน การทางาน สุขภาพ ความสัมพันธ์ในครอบครัว และการเข้าสังคม อาจมีปัญหาพฤติกรรมหลายอย่างตามมา เช่น โกหก ขโมย หนีเรียน หนีออกจากบ้าน และติดการพนัน **การบอกว่าใครติดเกมนั้น ไม่ได้ขึ้นจานวนชั่วโมงที่เด็กใช้เล่นเกมเพียงอย่างเดียว** ▪ ในประเทศไทยมีการสารวจพบว่า ร้อยละ 10-15 ของเด็กและวัยรุ่น มีปัญหาติดเกม ▪ เด็กผู้ชายมีความเสี่ยงในการติดเกมมากกว่าเด็กผู้หญิง ▪ เด็กที่เล่นเกมทุกคนมีโอกาสเสี่ยงที่จะติดเกมด้วยกันทั้งนั้น แต่เด็กที่มีโอกาสเสี่ยงมากกว่าคนอื่นๆ คือ ▪ เด็กที่มีปัญหาการเรียน ไม่ค่อยประสบความสาเร็จ ถูกตาหนิบ่อย ความภูมิใจในตนเองต่า ▪ เด็กที่มีปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว พ่อแม่หย่าร้าง ▪ คบกลุ่มเพื่อนติดเกม ▪ เด็กสมาธิสั้น ▪ เด็กออทิสติก ▪ เด็กและผู้ปกครองสามารถทาแบบทดสอบการติดเกม และ แบบทดสอบวัดภูมิคุ้มกันการติดเกมได้ที่ www.HealthyGamer.net ▪ สมาธิในการเรียนลดลง ▪ ความรับผิดชอบลดลงจากเดิม เช่น ทาการบ้านไม่เสร็จ หรือทาไม่เรียบร้อย ▪ ดูง่วงบ่อยๆ หรือแอบหลับในห้องเรียน ▪ อารมณ์อาจดูหงุดหงิด กระสับกระส่าย ▪ ไม่ค่อยเข้าสังคมกับเพื่อนเหมือนเคย ▪ แอบเอาโทรศัพท์มาเล่นในห้องเรียน (กรณีที่โรงเรียนให้นาโทรศัพท์มาได้) ▪ มาเรียนสาย หรือโดดเรียน ▪ ลองพูดคุยหาสาเหตุด้วยท่าทีเป็นกลางไม่ตัดสิน โดยเกริ่นนาจากพฤติกรรมที่ครูเห็นว่าเป็น ปัญหา เช่น เด็กดูง่วงๆ อาจถามถึงการนอนว่าเพียงพอหรือไม่ เกิดอะไรขึ้นที่ทาให้เด็กนอนไม่ พอ เป็นต้น ▪ สื่อสารกับผู้ปกครองถึงปัญหาที่ครูพบในชั้นเรียน ให้ผู้ปกครองคอยสังเกตพฤติกรรมที่บ้าน ▪ การให้การบ้านเยอะขึ้น ไม่ได้ช่วยให้เด็กเล่นเกมลดลง !!! (Bullying) ความเชื่อที่ผิด ▪ เป็นการเล่นกันธรรมดา ▪ เป็นเรื่องปกติ เป็นส่วนหนึ่งของการเติบโต ▪ เป็นเรื่องของเด็กๆไม่เกี่ยวกับครู ▪ ควรปล่อยให้เด็กจัดการปัญหากันเอง เด็กควรได้เรียนรู้ว่าคนเราต้องช่วยตัวเอง ความเชื่อที่ผิด ▪ เด็กที่รังแกคนอื่น จะเลิกทาไปเองเมื่อโตขึ้น ▪ ถ้าลูกฉันสู้กลับสักครั้ง การรังแกกันจะไม่เกิดขึ้นอีก ▪ พ่อแม่ไม่แจ้งที่โรงเรียน เพราะลูกขอให้เก็บเป็นความลับ เพราะกลัวสถานการณ์ จะยิ่งแย่ลง ▪ ลูกฉันไม่มีวันรังแกผู้อื่น ▪ เป็นพฤติกรรมที่ทาร้ายคนอื่น ▪ ผู้รังแกมีอานาจเหนือกว่าผู้ถูกรังแก ▪ มีทั้งแบบเผชิญหน้าหรือทางตรง และแบบไม่เปิดเผย ▪ รูปแบบที่พบมากสุดคือ ทางวาจา รองลงมาคือ ทางความสัมพันธ์ ทางร่างกาย และทางสังคมออนไลน์ ▪ ผู้ชายมีพฤติกรรมรังแกผู้อื่นมากกว่า ▪ ผู้หญิงมักใช้วิธีรังแกแบบไม่เปิดเผย ▪ พบได้มากสุดและรุนแรงสุดช่วงเปลี่ยนผ่านจากชั้นประถมไปสู่มัธยมศึกษา และมีแนวโน้มลดลงในช่วง มัธยมศึกษาตอนปลาย เมื่อถูกรังแกอย่างต่อเนื่อง ผู้ถูกรังแกจะเชื่อว่าสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่นอกเหนือการควบคุมของตนเอง หมดหวัง ซึมเศร้า นาไปสู่ความคิดไม่อยากมีชีวิตอยู่ได้ ▪ สร้างวัฒนธรรมว่าการรังแกกันเป็นเรื่องธรรมดา ยอมรับได้ หรือเป็นเรื่องบันเทิง ▪ เด็กจะเข้าใจว่า เป็นเรื่องที่ยอมรับได้ ผู้รังแกจะกล้ารังแกมากขึ้น ไม่กลัวผลที่ตามมา ▪ ผู้รังแก เรียนรู้การใช้อานาจและความก้าวร้าว นาไปสู่การเป็นหัวโจก เพื่อนนักเรียน เรียนรู้ที่ จะยอมตามหัวโจกเพื่อจะได้รู้สึกปลอดภัย ผู้รังแกยิ่งรู้สึกได้รับการเสริมพลัง ▪ ผู้ถูกรังแก เรียนรู้ว่าไม่มีใครช่วยเหลือ สิ้นหวัง สมยอม เพื่อนมองในทางลบหรือมองเป็นตัว ปัญหา ถูกตอกย้าบทบาทความเป็นเหยื่อ ▪ เพื่อนที่เข้าข้างผู้รังแก อาจกลายเป็นคนก้าวร้าวไปด้วย จับกลุ่มรวมตัวกันเพื่อโจมตีผู้อื่น ▪ เพื่อนที่เข้าข้างผู้ถูกรังแก เสี่ยงที่จะกลายเป็นเหยื่อรายต่อไป การกากับพฤติกรรมเด็กในระดับที่เหมาะสม ไม่ใช้ความรุนแรง เป็นต้นแบบ เด็กเรียนรู้ผ่านต้นแบบที่ดี เช่น การรับผิดชอบหน้าที่ในห้องเรียน/ โรงเรียนของเพื่อนนักเรียน ครู หรือบุคลากรอื่นๆในโรงเรียน ลดการตอบสนองในทางที่ไม่เหมาะสม เช่น เมื่อเด็กก้าวร้าว จะต้องไม่ตามใจ อาจได้รับการเพิกเฉย ตัดสิทธิพิเศษตามกติกาที่ กาหนด การเสริมแรงบวก ใช้คาชมเชย รางวัล สิทธิพิเศษ 79 การแกล้ง รังแก ไม่ใช่เรื่องปกติ ยอมรับไม่ได้ การแกล้ง รังแก อาจส่งผลต่อเพื่อนถึงชีวิตได้ ยอมรับว่าทุกคนมีความแตกต่าง ทั้งหน้าตาและรูปร่าง ความคิด ความเชื่อ พฤติกรรม ไม่มีใครดีทุกอย่าง และไม่มีใครแย่ทุกอย่าง ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน การละเมิดสิทธิผู้อื่นถือเป็นความผิด การเห็นอกเห็นใจผู้อื่น เอาใจเขามาใส่ใจเราเป็นสิ่งสาคัญ การดูแลคุ้มครองความปลอดภัย เป็นหน้าที่ของทุกคนในโรงเรียนช่วยกัน 80 เด็กส่วนใหญ่ไม่รู้ว่าสิ่งที่ทาคือการรังแก หรือเป็นการใช้ความรุนแรงกับเพื่อน หากไม่ จัดการ เด็กจะเรียนรู้ว่าเป็นสิ่งที่ยอมรับได้ ไม่ตาหนิซ้า ไม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา ใช้การพูดคุย จัดการปัญหาหรือจัด กิจกรรมเมื่อพบการรังแกกัน ไม่ควรเพ่งเล็ง ตีตรา หรือจัดการเฉพาะเด็กที่มีพฤติกรรมรังแก ควรเน้นให้ความรู้ สร้างทัศนคติในภาพรวมให้เด็กทุกคน การแก้ปัญหาที่ได้ผล เน้นการส่งเสริมความเข้าใจและกิจกรรมสาหรับเด็กทุกคน ได้ผลดีกว่าการจัดการเฉพาะคู่กรณีที่รงั แกกัน กิจกรรมที่ส่งเสริมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กในห้องเรียนและนอกห้องเรียน จะช่วย ลดความรุนแรงของปัญหา การไล่เด็กออกจากโรงเรียน ไม่ทาให้เกิดความเห็นอกเห็นใจกันหรือพัฒนาพฤติกรรมที่ดี ไม่ช่วยลดการรังแกกันในโรงเรียนได้ ปัญหาการรังแกกัน ไม่ใช่ปัญหาเฉพาะของครอบครัว แต่ต้องอาศัยความร่วมมือในการ จัดการทั้งจากครอบครัว ครู และบุคลากรทุกคน สิ่งที่ควรทา สิ่งที่ไม่ควรทา ✓กล้าบอกหรือขอความช่วยเหลือจากผูอ้ นื่ !!! อย่าแสดงออกถึงอารมณ์โกรธหรือหงุดหงิด ผู้รังแก ✓ฝึกวางตัวเฉย ไม่สนใจในการล้อหรือรังแก จะยิ่งชอบใจและไม่หยุดแกล้ง ✓พูดว่า “อย่านะ” หรือเดินหนี !!! อย่าโต้ตอบ เพราะผู้รังแกมักมีร่างกายและกาลัง ✓ให้ในสิ่งที่ผู้รังแกต้องการรีดไถไปก่อน ไม่คุ้มที่จะยอมเจ็บ ตัว เพราะสิ่งของอาจหาใหม่ได้ มากกว่า ✓เตรียมคาตอบตลกๆหรือฉลาดไว้ ผู้รังแกจะคิดว่าเรา !!! หลีกเลี่ยงอยู่ในที่เปลี่ยว ฉลาดเกินไปที่จะแกล้ง !!! อย่าคิดว่าตกเป็นเหยื่อหรือคิดตามสิ่งที่ถูกล้อว่าเป็น ✓การขอให้พูดล้ออีกครั้ง ซึ่งทาให้หมดสนุก จริง ✓เดินอย่างสง่า มั่นใจ ไม่อ่อนแอ สิ่งที่ควรทา สิ่งที่ไม่ควรทา !!! อย่าหมกมุ่นแต่สิ่งที่ถูกล้อเลียนหรือถูกรังแก ✓ลองคิดถึงสิ่งที่ดีเกี่ยวกับตัวเองและจดบันทึกไว้ !!! อย่าคิดในสิ่งที่ทาให้คุณค่าในตัวเองลดลง ✓ฝึกพูดกับตัวเองในด้านบวก ชื่นชมสิ่งดีๆที่ตัวเองมี ✓ฝึกในเรื่องที่สนใจให้ชานาญมากขึ้น ✓หากิจกรรมอาสาสมัครที่ได้ช่วยเหลือผู้อื่น ✓อาจเรียนรู้ศิลปะป้องกันตัวหรือทักษะปกป้องตัวเอง ใช้ภาษาหรือน้าเสียงที่หนักแน่นเอาจริง เพื่อสื่อสารว่าการรังแกกันยอมรับไม่ได้ และผิดต่อกฎของโรงเรียน สะท้อนความรู้สึกให้เห็นผลของการกระทาจากการรังแกเพื่อน ให้เด็กที่รังแกบรรยายความรู้สึกและผลจากรังแก โดยทั้งสองฝ่ายกล่าวขอโทษและ ได้พูดความคิด ความรู้สึกของตนเอง มีบทลงโทษที่เหมาะสม ไม่ใช้ความรุนแรง เช่น กล่าวตักเตือน หักคะแนน บาเพ็ญ ประโยชน์ ส่งฝึกปรับพฤติกรรม สอนให้เด็กมีทักษะการจัดการความโกรธ ผู้ถูกรังแก ผู้รังแก มีอาการแยกตัวออกจากสังคม มีพฤติกรรมที่ก้าวร้าวรุนแรงขึ้น หรือยากลาบากในการปฏิบัติตามกฎกติกา ไม่เพลิดเพลินกับกิจกรรมต่างๆในห้องเรียน มีแนวโน้มควบคุมตัวเองไม่ได้ (อาจเข้าข่ายซึมเศร้า) หรือพยายามทาร้ายตนเอง ยังคงมีพฤติกรรมต่อเนื่อง เด็กหญิง A อายุ 13 ปี เดิมเป็นเด็กร่าเริง คุยเก่ง เรียนดี 2 เดือนหลังเปิดเทอม ที่โรงเรียนใหม่ A เริ่มไม่ส่งการบ้าน ร้องไห้บ่อยๆ แยกตัว ไม่ค่อยพูดคุยกับเพื่อน หงุดหงิดง่ายและ ทะเลาะกับเพื่อนบ่อยขึน้ คะแนนสอบตกลง A เล่าให้ครูฟงั ว่า เรียนไม่ทันเพื่อน รู้สึกว่าตัวเองโง่และไม่มีคุณค่า บางครัง้ มี ความคิดอยากตาย ตื่นกลางดึกบ่อยๆ เด็กหญิง A อายุ 13 ปี เดิมเป็นเด็กร่าเริง คุยเก่ง เรียนดี 2 เดือนหลังเปิดเทอม ที่โรงเรียนใหม่ A เริ่มไม่ส่งการบ้าน ร้องไห้บ่อยๆ แยกตัว ไม่ค่อยพูดคุยกับเพื่อน หงุดหงิดง่ายและ ทะเลาะกับเพื่อนบ่อยขึน้ คะแนนสอบตกลง A เล่าให้ครูฟงั ว่า เรียนไม่ทันเพื่อน รู้สึกว่าตัวเองโง่และไม่มีคุณค่า บางครั้งมี ความคิดอยากตาย ตื่นกลางดึกบ่อยๆ 8 ความชุกของโรคซึมเศร้า 6 4 2 0 3-5 ปี 6-11 ปี 12-17 ปี อาการแสดง เกณฑ์การวินิจฉัย อารมณ์หงุดหงิด พบมากกว่าในวัยรุ่น ที่เป็นโรคซึมเศร้า คนรอบข้างมักดูไม่ออกว่าเด็กมีภาวะซึมเศร้า ความคิด พฤติกรรม กายภาพ ปัญหาด้านความจา อารมณ์เศร้า หงุดหงิดง่าย เคลื่อนไหวช้าลง ปัญหาด้านสมาธิ ทาการบ้านได้ไม่ดีเท่าเดิม ดูกระสับกระส่าย มองตนเองในแง่ลบ ไม่ทากิจกรรมที่ชอบ “ปวดหัว ปวดท้อง” ไม่มีความหวังในอนาคต ไม่เข้าสังคม ไม่อยากอาหาร น้าหนักลด ขาดความมั่นใจในตัวเอง ต่อต้าน มีพฤติกรรมเสี่ยง นอนหลับไม่สนิท ความสามารถในการคิด ดูแลเอาใจใส่รูปร่างหน้าตา เหนื่อยง่าย ไม่มีพลังงาน และตัดสินใจต่าลง ลดลง มีความคิดอยากฆ่าตัวตาย พยายามฆ่าตัวตาย เกิดจากหลายปัจจัยร่วมกัน ปัจจัยทางพันธุกรรมและชีวภาพ ความผิดปกติของสารสื่อประสาทในสมอง การถ่ายทอดพันธุกรรมในครอบครัว ครอบครัวที่มีประวัติโรคซึมเศร้าหรือโรคจิตเวชมักมี โอกาสเสี่ยงสูงกว่าคนทั่วไป ปัจจัยโรคทางกายอื่นๆ หรือยาบางชนิด เช่น การมีโรคทางกายเรื้อรัง ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม หรือ ปัญหาด้านจิตสังคม ปัญหาการเลี้ยงดู ความรุนแรงในครอบครัว เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต การเผชิญ ความรุนแรงทางจิตใจ มุมมองต่อตนเองและลักษณะการแก้ไขปัญหา ▪ กรีดแขน ต่อยกาแพง ตีตัวเอง กินยาเกินขนาด ▪ การทาร้ายตัวเอง ≠ อยากตาย หรือ ฆ่าตัวตาย หรือ เป็นซึมเศร้า ▪ พบบ่อยในวัยรุ่นและผู้ใหญ่ตอนต้น ▪ เพื่อระบายอารมณ์ด้านลบ ลงโทษตัวเอง/คนอื่น เป็นวิธีการสื่อสาร ▪ ใช้คาถามปลายเปิด ถามเกี่ยวกับสาเหตุที่เด็กทาร้ายตัวเอง “การกรีดแขน ช่วย A ยังไงคะ” “…บางคนกรีดแขนเพราะเขามีความทุกข์ และกรีดเพื่อระบายอารมณ์ A พอบอก ครูให้เข้าใจได้ไหมคะว่า ที่กรีดแขน A ทาเพราะอะไร” “พอบอกครูได้ไหมว่า มีอะไรที่กระตุ้นให้อยากทาร้ายตัวเอง” ▪ระวัง!! การพูดถึงการทาร้ายตัวเองว่าเป็นการเรียกร้องความสนใจ ส่งผลให้เด็กไม่เปิดใจ หรือเล่าอาการให้ฟังเพื่อขอความช่วยเหลือ ▪ การถามถึงความคิดอยากตายหรือทาร้ายตัวเอง คือการแสดงความห่วงใย ไม่ใช่ การชี้โพรง ให้กระรอก การช่วยเหลือนักเรียน ที่มีภาวะซึมเศร้า ▪ แสดงความห่วงใย ว่าสังเกตเห็นนักเรียนเปลี่ยนไป (ดูเศร้ามากขึ้น เหม่อระหว่าง เรียน แยกตัว) ▪ มีท่าทีสงบ ไม่ตื่นตระหนก ไม่ตัดสิน “ช่วงนี้ครูสังเกตว่า A ดูไม่ค่อยร่าเริงเหมือนเดิม มีอะไรที่ทาให้หนักใจบอกครู ได้นะคะ” ▪ให้ความมั่นใจว่าเรื่องที่คุยจะเป็นความลับ ▪ยกเว้นเรื่องที่เป็นอันตราย เช่น การทาร้ายตัวเอง ความคิดอยากตาย ▪อย่าสัญญาว่าจะเก็บเป็นความลับถ้าทาไม่ได้ สอน สอนทักษะให้นักเรียน ปรับ ปรับการให้งานและการบ้าน แลกเปลี่ยน แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้ปกครองและแพทย์ สอนเทคนิคการแก้ไขปัญหา แนะนาวิธีการตั้งเป้าหมายในการเรียน แนะนาวิธีจัดลาดับการทางาน วางแผนงาน และทางาน ไม่ควรลดความคาดหวังที่มีต่อเด็ก ให้เวลาในการทางานมากขึ้น ติดตามการส่งงาน และแนะนาจุดพัฒนา (feedback) แจ้งข้อมูลด้านการเรียน อารมณ์และพฤติกรรมที่โรงเรียน สังเกตผลข้างเคียงจากยา เช่น ปวดศีรษะ ง่วงนอน ติดตามความคิดอยากตาย หรือทาร้ายตัวเอง เทคนิคที่นาไปแนะนานักเรียนได้ จัดครู/นักจิตวิทยา/บุคลากรที่นักเรียนไว้ใจ 1 คน เป็นผู้ประสานการดูแล ระหว่าง ครู ผู้ปกครองและแพทย์ หากิจกรรมเบี่ยงเบน เช่น ออกกาลังกาย ดูหนัง ฟังเพลง ทาพฤติกรรมทดแทน (กาน้าแข็ง ฝึกหายใจผ่อนคลาย ต่อยหมอน) เขียนบันทึก วาดภาพหรือพูดคุย เกี่ยวกับอารมณ์ เขียนจดหมายระบายความรู้สึก พยายามบรรยายความรู้สึกของตนเองออกมา จัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย เก็บอุปกรณ์และยาที่อันตรายออก ▪ ในโรงเรียน พฤติกรรมการทาร้ายตัวเองส่งผลต่อนักเรียนคนอื่นด้วย ▪ ให้การพูดคุยช่วยเหลือเป็นการส่วนตัว หลีกเลี่ยง การพูดถึงเหตุการณ์ทาร้ายตัวเองในห้องเรียน หรือห้องประชุมที่มีนักเรียนหลายคน ▪ ส่งผลให้เกิดความเครียดได้ ▪ เมื่อนักเรียนทาร้ายตัวเอง → เศร้า ตกใจ โกรธ กังวล ทาตัวไม่ถูก ▪ ให้ยอมรับความรู้สึกแง่ลบที่เกิดขึ้น ▪ เล่าความรู้สึกให้เพื่อนร่วมงานฟัง ▪ ดูแลสภาพจิตใจและร่างกายของตนเอง ตาราเวชศาสตร์วัยรุ่น อนุกรรมการสุขภาพวัยรุ่น ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย และชมรมสุขภาพวัยรุ่น เด็กสมาธิสั้น คู่มือสาหรับครู โดย สถาบันราชานุกูล เด็กแอลดี คู่มือสาหรับครู โดย สถาบันราชานุกูล เด็กเรียนรู้ช้า คู่มือสาหรับครู โดย สถาบันราชานุกูล เด็กออทิสติก คู่มือสาหรับครู โดย สถาบันราชานุกูล คู่มือปฏิบัติ สาหรับการดาเนินการป้องกันและจัดการการรังแกกันในโรงเรียน โดย สถาบัน สุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต

Use Quizgecko on...
Browser
Browser