Soil and Land Resources ปลาย67 PDF
Document Details
Uploaded by DaringBarium
Kasetsart University
Tags
Summary
This document provides a detailed exploration of soil and land resources, discussing the various aspects of soil formation, including the role of parent material, climate, topography, and living organisms. It also identifies the threats and challenges to soil resources. It's a valuable resource for understanding the intricacies of this vital element.
Full Transcript
บทนา สินค้ าและบริการที่ได้ จากที่ดินและดิน สินค้ าและบริ การที่ได้ จากที่ดินและดิน ขึ ้นอยู่กบั ความสามารถของที่ดินและดินเพื่อทาหน้ าที่เฉพาะ ซึ่งแต่ล ะอย่างมีความสาคัญต่อความเป็ นอยู่ที่ดีของมนุษย์และสิ่งแวดล้ อม การผลิตชีวมวลผ่านการพื ้นที่เกษตรและป่ าไม้ (Biomass Production) การปกป...
บทนา สินค้ าและบริการที่ได้ จากที่ดินและดิน สินค้ าและบริ การที่ได้ จากที่ดินและดิน ขึ ้นอยู่กบั ความสามารถของที่ดินและดินเพื่อทาหน้ าที่เฉพาะ ซึ่งแต่ล ะอย่างมีความสาคัญต่อความเป็ นอยู่ที่ดีของมนุษย์และสิ่งแวดล้ อม การผลิตชีวมวลผ่านการพื ้นที่เกษตรและป่ าไม้ (Biomass Production) การปกป้องน ้าบาดาลและห่วงโซ่อาหารจากการปนเปื อ้ น และรั กษาความหลากหลายทางชีวภาพโดยการกรอง บัฟเฟอร์ และการเปลี่ยนแปลง กิจกรรม (Ground Water) การอนุรักษ์ยีนสeรองซึง่ มีขนาดใหญ่ที่สดุ ในโลก และมีขนาดใหญ่กว่าดินที่อยู่เหนือพื ้นดิน 3 - 4 เท่า จึงเป็นแหล่งอาศัยที่ สาคัญมาก (Biodiversity) การจัดหาพื ้นฐานทางกายภาพสา หรับการพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐาน เช่น ที่อยู่อาศัย การผลิตภาคอุตสาหกรรม การขนส่ง การทิ ้งขยะ กีฬา นันทนาการ และอื่นๆ (Human Health) ทาหน้ าที่เป็ นแหล่งวัตถุดิบ กรวด ทราย ดินเหนียว และวัสดุอื่นๆ (เช่น เพื่อการพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐาน) (Soil) การอนุรักษ์มรดกทางธรณีวิทยาและวัฒนธรรมโดยการปกปิ ดและปกป้องซากโบราณสถานและบรรพชีวินวิทยา (Culture) ภัยคุกคามที่มีตอ่ ดิน (SOIL THREATS) SOIL, SOIL FORMATION AND PROPERTIES SOIL ดิน (Soil, pedosphere) เป็ นพื้นที ่ที่อยู่ระหว่าง ชั้นบรรยากาศ (atmosphere), ชั้ นหินแข็ง (lithosphere), ชั้ นของสิ่ งมีชีวิต (biosphere) และ น้ า (hydrosphere) ดินเป็ นองค์ประกอบหลักของระบบนิเวศของโลก หน้าที่ของดิ นมีหลากหลาย เช่น เป็ นแหล่งให้พืชเจริ ญ เติบโต เป็ นที ่กกั เก็บน้ า เป็ นแหล่งหมุ นเวียนของสิ่ งมีช ีวิตต่าง ๆ เป็ นตัวปรับสภาพของบรรยากาศ เป็ นที ่อยูอ่ าศัยของสัตว์ เป็ นวัส ดุทางวิศวกรรม การสู ญเสี ยดิ น (soil lost) การเสื่ อมโทรม (degraded) หรื อ การปรับปรุ งดิน เกิ ดได้ท้ งั ทางธรรมชาติ และกิ จกรรมของมนุษย์ The components of soil. This diagram shows the composition by volume of a typical topsoil. ธาตุประจุบวก (CATIONS) และ ประจุลบ (ANIONS) ทีอยู่ในสารละลายดิน (SOIL WATER) องค์ประกอบโดยปริ มาตร ของอากาศในดินเปรียบเทียบกับบรรยากาศ ในดินจะมีออกซิเจนน้ อยกว่า และมีคาร์ บอนไดออกไซด์มากกว่าในบรรยากาศ เพราะว่าการหายใจของสิงมีชีวิตในดิน ซึงจะใช้ ออกซิเจนและปล่อยก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ หน่ วยพืนฐานทีใช้ ในการศึกษาดิน : หน้ าตัดดิน (SOIL PROFILES) หน้ าตัดดิน เป็ นการศึกษาดินทางแนวดิง แสดงให้ ดินบน or เห็นถึง ชันของดินทีมีลักษณะแตกต่ างกัน ทีเรียกว่า A horizon horizon หรื อชันดินวินิจฉัย ดินล่าง or ชันดินวินิจฉัย หรื อ Horizon จะใช้ ตัวอักษร B horizon ภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ กํากับไว้ ซึงการจัดเรียง ตัวของชันเหล่านีจะแสดงลักษณะของดินทีแตกต่าง กันทําให้เราสามารถจําแนกดินได้ ชันวัตถุต้นกําเนิด or นอกจากนี อาจจะมีชัน O หรื อ O horizon ทีเป็ นชัน C horizon ดินอินทรีย์อยู่บนชัน A ก็ได้ เช่ น ดินทีพบในเขตป่ า ทีมีเศษพืชทับถมกันอยู่ การจัดเรี ยงชันดินอย่ างง่ าย ปั จจัยในการสร้ างตัวของดิน (SOIL FORMING FACTORS) วั ตถุต ้นกํmaterial Parent าเนิดดิน Parent material วัตถุต้นกําเนิดดิน เวลา Time Time SOIL สภาพภูมอิ ากาศ Climate Climate เวลา FORMING สภาพภูมิอากาศ FACTORS สภาพภู มปิ ระเทศ ความสู Relief (landforms and ง ตํtopography) าของสภาพพืนที สิ งมีช ีวิต ทังพืชvegetation, Organisms: และสัตว ์ fauna and soil biota Relief (landforms and Organisms: vegetation, topography) fauna and soil biota สภาพภูมิประเทศ ความสูงตํา สิงมีชีวิต ทังพืชและสัตว์ ของสภาพพืนที วัตถุต้นกําเนิดดิน วัตถุต้นกําเนิดดินมีผลต่ อลักษณะดิน ดังนี สีดิน เนือดิน โครงสร้ างดิน องค์ ประกอบของแร่ ในดิน การซาบซึมนําและการระบายนํา จากภาพเป็ นดินทีเกิดจากหินทรายสีแดง ดังนันดินจึงได้ สีแดงทีมาจากวัตถุต้นกําเนิด สภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศอาจจะเป็ นปั จจัยทีสํ าคัญทีสุ ดทีส่ งผลต่อ ลักษณะดินเพราะว่าดินทีมีวัตถุต้นกําเนิดแบบเดียวกันแต่ อยู่ในสภาพภูมิอากาศทีแตกต่ างกันดินก็จะมีความ แตกต่ างกันด้วย ทังนีสภาพภูมิอากาศจะมีเป็ นตัวกําหนด อัตราการสลายตัวของหินและแร่ และชนิดของพืชพรรณ สภาพภูมิอากาศทีสําคัญ ได้ แก่ ความชื น ทีได้ มาจาก หยาดนําฟ้า (precipitation) และ อุณหภูมิ ทีมีผลต่ อการ ระเหยของนํา เมื อมีปริมาณหยาดนําฟ้า (นําฝน) มากกว่าการระเหย ก็ จะทําให้เกิดกระบวนการชะละลายในดิน อุณหภูมิ มีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกิริยาการสลายตัวทัง ทางเคมี และชีวะ นันคือกระบวนการผุพัง และการ เปลียนรูปของสารอินทรีย์ สิ งมีชีวิตในดิน : พืช สัตว์ สิ งมีชีวิตขนาดเล็ก สิงมีชีวิตทีมีอิทธิพลต่อพัฒนาการของดิน มีตงแต่ ั แบคทีเรี ยทีขนาด เล็กมาก จนถึงสัตว์ขนาดใหญ่ รวมถึงมนุษย์ สิงมีชีวิตขนาดเล็กเช่นแบคทีเรี ยหรื อเชือราช่วยในการย่ อยสลายเศษ พืชให้ มีขนาดเล็กลงจากนันจะมีสิงมีชีวิตขนาดใหญ่เช่ น หนอน และ แมลงช่วยในการผสมให้ เป็ นเนือเดียวกัน และอาจทํ าให้ มองเห็นชันดิน ไม่ช ดั เจน พืชขนาดใหญ่ มีอิทธิพลต่อดิน ได้ หลายทาง -ฮิวมัส (Humus) เป็ นผลจาก การเพิมเติมเศษใบไม้ให้กบั ดิน -รากพืชทําหน้าที เชือมอนุ ภาค ดินเอาไว้ดว้ ยกัน เมือตายลงก็จะ ยังคงอยู่ในดินและในอีกทาง หนึ งก็จะทําให้เกิดการอัดแน่ น ในดินได้เช่นกัน ความสู งตําของผิวหน้ าสภาพภูมิประเทศ (relief) Relief มีการเปลียนแปลงได้ ตลอดเวลา ในการศึกษาด้ านนีจะเรี ยกว่า Geomorphology ซึง Relief มีอิทธิ พลต่อการเกิ ดดิน ดังนี ความหนาของหน้าตัดดิน เช่น พืนทีที มีความลาดชันสู งตอนบนหน้าดิ นจะบาง เนื องจากเกิดการ กร่ อน และการสู ญเสี ยหน้าดิ นได้ง่าย หรื อพืนทีทีอยูส่ ่ วนล่ างทีมีการเคลื อนย้ายมวลดินมาทับถม ชันดินก็จะหนา มีอิทธิพลต่ อสภาพภูมิอากาศและการกระบวนการทางดิน เช่ น ทิศด้านลาด (aspect) ในบริ เวณทีมีความลาดชัน จะมีอิท ธิ พลต่อการเกิ ดการไหลบ่าของนําทีผิวดิ น การซามซึ มนําของดิน และการเคลือนย้ายมวลของดิ น ภาพนีแสดงให้ เห็นชันของดิน บางๆ บนโขดหิดทีกําลัง กร่ อน และชันดิน จะหนาขึน ในส่ วนของหาดทรายทีอยู่ ตอนล่ าง เวลา (Time) ดินเกิดขึนอย่างช้า ๆ เช่น ในประเทศอังกฤษ ในช่วงเวลา 400 ปี ดินหนาขึน 10 มิลลิเมตร Recent soil ดินอายุนอ้ ยจะยังคงมีลกั ษณะของวัตถุตน้ กําเนิด อยูม่ าก เมือเวลาผ่านไปดินจะมีการเปลี ยนแปลง ไปตามปัจจัยแวดล้อม เช่นการเพิมอินทรี ยวัตถุ การเคลือยย้ายวัสดุภายในหน้าตัดดิน ทําให้มีชนั Buried soil ดินเพิมขึน ดินในเขตอบอุ่น จะเป็ นดินอายุนอ้ ย ดินในเขตร้อน จะเป็ นดินอายุมาก ดังนัน ไม่ใช่แค่เวลาทีเป็ นตัวกําหนดอายุของดิน หน้าตัดดินแสดงให้เห็นดิ นปัจจุ บนั (recent soil) ทีวางตัวบน ชันดิ นเก่าทีถูกฝัง (buried soil) ดินเป็ นระบบทีซับซ้ อนและเกิดการเปลียนแปลงได้ ตลอดเวลา โดยเกิดจาก กระบวนการเกิดดิน หลายกระบวนการร่ วมกัน กระบวนการสลายตั วของอิ Decomposition and นทรีย สารและการเกิดฮิวมัส Humification Weathering Decomposition and Humification การผุพังอยู่กบั ที กระบวนการสลายตัวของอินทรี ยสารและการเกิดฮิวมัส SOIL แรงดั นของนํ Capillary าผ่านช่อ งขนาดเล็ก action Capillary action การชะละลาย Leaching Leaching แรงดันของนําผ่ านช่ องขนาดเล็ก PROCESSES การชะละลาย การเคลือนยา้ ยของวัสดุภายในหน้าตัดดิน Translocation Translocation การเคลือนย้ ายของวัสดุภายในหน้ าตัดดิน การผุพังอยู่กับที (Weathering) เป็ นกระบวนการทีหินและแร่ แตก ตัวเล็กลงจากปัจจัยสภาพแวดล้อม เช่น อากาศ อุณหภูมิ นํา แสงแดด การผุพงั ทางกายภาพ (Physical weathering) เป็ นการลดขนาดของหินและแร่ ให้มีขนาดเล็กลง เรื อย ๆ การผุพงั ทางเคมี (Chemical weathering) เป็ นการทีแร่ ประกอบหินหรื อหินมี การเปลียนแปลงสมบัติทางเคมี กระบวนการสลายตัวของอินทรี ยสาร (Decomposition) และ การเกิดฮิวมัส (Humification) Decomposition เป็ นกระบวนการย่อยสลาย เศษพืชให้มีขนาดเล็กลงจนเป็ น ส่วนประกอบอินทรี ยอ์ ย่างง่าย โดยอาศัย สิ งมีชีวิตขนาดเล็ก รวมถึงเอนไซมส์ทถูี ก ปล่อยออกมา Humification เป็ นกระบวนการทีเศษชินส่ วน ของพืชถูกเปลียนให้เป็ นสารประกอบฮิวมัส (Humus) แรงดันของนําผ่ านช่ องขนาดเล็ก (Capillary action) เกิดขึนในสภาวะทีมีการหายระเหยของนําในดิน มากกว่าปริ มาณนําทีได้รับจากหยาดนําฟ้า (นําฝน นําค้าง หิมะ) ส่งผลให้เกิดความแห้งแล้ง ความชืนหรื อนําทีมีอยู่ในดินจะเคลือนทีขึนมาที ผิวดินผ่านช่องขนาดเล็ก ซึงบางครังจะนําความ เค็มทีอยูใ่ ต้ดินขึนมาทีผิวดินได้ทาํ ให้บริ เวณนัน กลายเป็ นดินทีได้รับผลกระทบจากเกลือ (Salt affected soil) การชะละลาย (Leaching) เมือมีปริ มาณนําฝนทีมากกว่าการคายระเหยจะเกิดการไหลชองนําจากผิวดิ นผ่านช่ องในดินตามแรงถ่วง ของโลโดยระหว่างทีนําไหลผ่านช่องในดิ นก็จะไปทําละลายแร่ ทีมีอยู่ในดินทําให้แร่ ธาตุต่าง ๆ ภายในดิน ถูกเคลือนย้ายจากตอนบนสู่ ตอนล่างของหน้าติดดิ นและในทีสุ ดก็ถูกชะละลายออกไปจากหน้า ตัดดิ น ในกระบวนการชะละลายนี จะเป็ นการเคลือนย้ายธาตุประจุบวก (basic cations) เช่น Ca2+ ……… ให้หายไปจากดินได้ โดยเนื อดิ นจะมีผลต่อกระบวนการชะละลาย ดินที มีเนื อหยาบ เช่น ดินทราย ดิ นร่ วนปนทราย จะมีช่องขนาด ใหญ่ จะทําให้นําไหลในช่ องได้ง่ายกว่า ดินเนื อละเอียดเช่น ดินเหนียว..... การเคลือนย้ ายของวัสดุภายในหน้ าตัดดิน (Translocation) การเคลือนย้ายวัสดุภายในหน้าตัดดินทังทีเป็ น สารละลาย หรื อสารแขวนลอยจากชันบนไปสู่ชนดิ ั น ทีอยู่ตากว่ ํ าในหน้าตัดดิน การทีชันดินตอนบนสูญเสี ยวัสดุ จะเรี ยกว่า ELUVIAL หรื อ E horizon เป็ นกระบวนการ leaching หรื อ eluviation (from the Latin word ex or e meaning out, and luv meaning washed) ส่วนชันดินตอนล่างทีรับเอาวัสดุจากตอนบนเข้ามา สะสมไว้ จะเรี ยกว่า ILLUVIAL horizon หรื อ B horizon (from the latin words il, meaning in) กระบวนการเกิดดิน (PEDOGENESIS) ¡ กระบวนการเกิดดิน ใช้เวลาเป็ น ร้อย หรื อพันปี ¡ ดินเป็ นระบบเปิ ด หมายถึง มีวสั ดุ นํา อากาศ เข้า และออกตลอดเวลา ¡ ส่วนทีนําเข้า ¡ วัตถุตน้ กําเนิ ด การสะสมวัส ดุทีผิวหน้า ดิน สารละลายและอนุ ภาคทีได้จากอากาศ พลังงานจากแสงแดงและชันบรรยากาศ ¡ ส่วนทีสู ญเสี ยไปจากดิน ¡ ผ่านกระบวนการกร่ อนต่าง ๆ เช่น การกร่ อนโดยลม นํา และการชะละลาย ¡ ส่วนทีเกิดจากการผสม ¡ สัตว์ในดิ น จุลชีพในดิ น รากพืช การยืดหดตัวของดิน การไถพรวน ¡ กระบวนการทางเคมี ¡ กระบวนการเคลือนย้าย และการเปลียนรู ป ของแร่ และวัส ดุในดิ น (Translocations and transformations) การเกิดกระบวนการต่าง ๆ ภายในดินขึนอยู่สภาพแวดล้ อม ¡ ดินในอันดับดินอัลทิซอลส์ (Ultisols) ¡ เกิดเมื อในบริ เวณทีมี ปริ มาณนําฝน มากกว่า การระเหยนํา ส่ งผลให้เกิดการ เคลือนย้ายของวัสดุ เช่น ดิ นเหนี ยวจาก ตอนบนของหน้า ตัดดิน (Clay eluviated) สะสมไปตอนล่างของหน้าตัดดิน จนเกิด ชันดินล่างทีชือว่า ชันดิ นวินิจฉัยอาร์ จิล ลิก (argillic horizons) ¡ เกิดกระบวนการชะละลาย ทําให้ดิน ขาดความอุดมสมบูรณ์ กระบวนการเปลียนสภาพจากการมีนําขัง (Gleying) – เมือมีการนําขังในดินจะทําให้เกิดกระบวนการ ทางเคมีหลายกระบวนการ ได้แก่ กระบวนการ รี ดกั ชัน การเคลือนย้ายของสารละลายออกไป จากหน้าตัดดิน และการสะสมเหล็กภายในหน้า ตัดดิน ทีจะแสดงให้เห็นจากสี ของดิน และการ เกิดจุดประในดิน (mottling) กระบวนการทําให้ ดินเป็ นศิลาแลง (laterisation, ferralitisation) – เกิดขึนในบริ เวณเขตร้อน (Tropics) และ เขตกึงร้อน (Subtropics) ของโลก – เป็ นผลมาจากกระบวนการชะละลาย อย่างรุ นแรง ทําให้ธาตุทีเป็ นด่างหายไป จากหน้าตัดดิน สมบัติทางฟิ สิ กส์ ของดิน (Physical properties of soil) ¡ สี ดิน (Soil color) ¡ ใช้ ในการตรวจวัดสมบัติทางธรรมชาติของดินและชันดิน เช่ น ปริมาณอินทรี ยวัตถุ การเกิด กระบวนการออกซิ เดชัน-รีดักชันของดิน เป็ นต้ น ¡ สมุดเทียบสี ดิน (Munsell color chart – hue, value and chroma) ¡ เนือดิน (Soil texture) ¡ สัดส่ วนของอนุ ภาคในดิน ได้ แก่ อนุภาคขนาด ทราย ทรายแป้ ง และดินเหนียว ¡ โครงสร้ างของดิน (Soil structure) ¡ รู ปร่ าง และขนาดของเม็ดดิน ¡ ชนิดของโครงสร้ างดิน ได้ แก่ Blocky, spheriodal, platy and prismatic ¡ ดินเนื อละเอียดจะมีโครงสร้ างทีแข็งแรงกว่ า ¡ ประเมินความพรุ นของดิน ทีจะมีผลต่ อการเคลือนย้ ายนําและอากาศในดิน เนือดิน (SOIL TEXTURE) ¡ เนือดิน หมายถึง สัดส่วนของอนุภาคดินแร่ธาตุ 3 ขนาดทีอยู่รวมกัน ¡ อนุภาคดิน ทัง 3 ขนาดได้ แก่ อนุภาคขนาดทราย (sand) อนุภาคขนาดทรายแป้ง (silt) และ อนุภาคขนาดดินเหนียว (clay) IMPORTANCE OF SOIL TEXTURE (Distribution of particle sizes) ¡Soil Porosity ¡Particle Surface Area Water/Gas Movement Reactivity Soil Porosity Porosity – the total volume of soil pores - the distribution of pore sizes Sand Silt Clay Texture, Pore Sizes, and Water Large particles yield large pore spaces Small particles yield small pore spaces Water moves rapidly and is poorly retained in Coarse-textured sandy soils. Water moves slowly and is strongly retained in Fine-textured, clayey soils. Sands Rapid Poor Retention Clays/iron Slow Water Retained Influence of soil separates on some properties and behavior of soil. Arrangement or grouping of individual soil particles into secondary units. Formation Chemical Processes – electrostatic attraction between clay particles and between organic particles. Biological Processes -macro-organisms (burrowing, tunneling,wastes) -roots, fungal hyphae (compression, fibers, exudates) -microorganisms (organic residues) Importance Effects on porosity, water retention, water movement Large pores Inter-aggregate pores Small pores (between) Intra-aggregate pores (within) Water moves easily and is poorly retained in inter-aggregate pores Water moves slowly and is strongly retained in intra-aggregate pores คํา ถาม สมบัติทางเคมีของดิน (Chemical properties of soil) ¡ การแทนทีขนาดเท่ า (Isomorphous substitution) ¡ การแทนทีอะตอมของธาตุหนึ งด้วยอะตอมของธาตุอีกชนิ ดหนึงที มีขนาดใกล้เคียงกันในโครงสร้างผลึ ก และเมือแคตไอออนทีเข้าไปแทนทีมีเวเลนซี นอ้ ยกว่าแคตไอออนทีถูกแทนที ทําให้เกิดประจุสุทธิ เป็ น ลบ (negative charge) ¡ Negative charge balanced by cations adsorbed to the clay surface by electrostatic attractions ¡ การแลกเปลียนแคตไอออน (Cation exchange) = การบวนการแลกเปลียนระหว่าง แคตไอออนชนิ ดหนึงซึ งดูดยึดอยูท่ ี ผิวคอลลอยด์กบั แคตไอออนอีกชนิ ดหนึ งในสารละลายดิน ¡ Cation exchange capacity = ผลรวมของแคตไอออนทีแลกเปลียนได้ของดิ น ซึงเป็ นค่ าที แสดงถึงความสามารถในการดูดซับแคตไอออนของดิน มีหน่วยเป็ นเซนติโมลของประจุต่อ กิโลกรัมของดิน (cmolc/kg) ¡ Base cations and acid cations ¡ Base saturation % สภาพกรดของดิน (SOIL ACIDITY) ¡ นําบริ สุทธิ ทีอุณหภูมิ 24oC ¡ H20 H+ + OH- ¡ ดินส่วนใหญ่มี pH 3.5 ถึง 9 ¡ กระบวนการทางดินส่วนใหญ่จะส่งผลทําให้ H+ และ Al3+ มีมากในดินส่งผลให้ดินมีความเป็ นกรดมากขึน เช่น ¡ Leaching of base cations in wet climates ¡ Carbon dioxide from respiration dissolves into carbonic acids ¡ Acid rain ¡ Nitrification of ammonium-based releases nitrate and H+ ¡ Crop harvest removes base cations taken up by plants …CONT ¡ พีเอช ของดินจะส่ งผลกระทบต่อพืชทีปลู กได้ แต่มีพืชหลายชนิ ดทีสามารถทนความเป็ นกรดของ ดินได้เช่นกัน ¡ ค่าพีเอชของดิ นมีอิทธิ พลต่อการละลายของธาตุอาหารที จําเป็ น ถึง 16 ธาตุ ¡ โดยทัวไป ถ้าดินมี ค่าพีเอชตํา (ดินเป็ นกรด) ¡ ดินอาจจะมี ปริ มาณอินทรี ยวัตถุสูง ¡ เป็ นสาเหตุ ทาํ ให้จุลินทรี ยม์ ีกิจกรรมลดลง ¡ ดินมี ปริ มาณจุลธาตุอาหารเพิมขึ น แต่ธาตุอาหารหลักลดลง ¡ ถ้าดิ นมีค่าพีเอชตํามาก (น้อยกว่า 4.5) อาจส่ งผลทําให้เกิดอะลูมินัมเป็ นพิ ษต่อพืชได้ ¡ ถ้าดินมี ค่าพีเอชสู ง (ดินเป็ นด่ าง) ¡ ความเป็ นด่ างของดินมักจะมาจากการทีดินมีปริ มาณโซเดียม หรื อคาร์บอเนตสู ง ¡ ธาตุฟอสฟอรัส และโบรอน จะไม่ เป็ นประโยชน์เนื องจากถูกตรึ ง ¡ จุลธาตุอาหารก็จะไม่ละลายออกมาให้พืชได้ดูดใช้ อิทธิพลของพีเอชดินต่อความเป็ น ประโยชน์ ของธาตุอาหารพืช และ กิจกรรมของจุลินทรีย์ดิน GLOBAL FOOD AND SOIL RESOURCES ธรรมชาติและการแจกกระจาย ของดินตาม ระบบอนุกรมวิธานดิน (SOIL TAXONOMY) * GELISOLS HISTOSOLS ดินแช่ แข็ง ดินอินทรีย์ SPODOSOLS * ANDISOLS ดินทีมีชนดานสปอดิ ั ก ดินเถ้ าภูเขาไฟ OXISOLS VERTISOLS ดินทีมีเหล็กและอะลูมินัมออกไซด์สูง ดินเหนียวจัดสีดําทีมีร่องแตกระแหง * ARIDISOLS ULTISOLS ดินในเขตแห้ งแล้ง (ทะเลทราย) ดินเก่ าขาดความอุดมสมบูรณ์ MOLLISOLS ALFISOLS ดินทีมีชันดินบนทีมี ดินพัฒนาการปานกลาง ปริมาณอินทรียวัตถุและเบสสู ง มีเบสสูง INCEPTISOLS ENTISOLS ดินค่อนข้างใหม่ ดินใหม่ พบวัตถุต้นกําเนิดคงเหลือภายในหน้าตัดดิน พบอิทธิพลของวัตถุต้นกําเนิดสูง GLOBAL FOOD AND SOIL RESOURCES การจําแนกสมรรถนะทีดิน LAND CAPABILITY CLASSIFICATION ¡ เป็ นแนวความคิดจําแนกชนิดของทีดิน โดยการแปลความหมายข้ อมูลดิน และรวมกลุ่มชนิดของดิน เพือให้ มองเห็น ภาพพจน์ กว้าง ๆ ของความเหมาะสมของ หน่ วยดินต่ อการปลูกพืช ¡ เป็ นระบบการจําแนกทีดินของอเมริกัน ¡ เน้ นการเกษตรทีใช้ เครืองมือกล สมรรถนะของทีดิน (LAND CAPABILITY) ¡ ความสามารถต่อการใช้ประโยชน์ของดิน ¡ ดินทีมีความสามารถต่อการใช้ประโยชน์ในระดับเดียวกัน จัดให้อยูใ่ นชันเดียวกัน ¡ เน้นทางการเกษตร ¡ แบ่งเป็ น 8 ชัน หมายเลขของชันเพิมขึนตามข้อจํากัด ¡ เป็ นระบบที ใช้กบั การปลูกพืช หรื อการเกษตรทีดอน ¡ ชัน I IV ใช้ในการปลูกพืชได้ และได้ผลคุม้ ค่าในเชิงเศรษฐกิจ ¡ ชัน V... มีขอ้ จํากัดสําคัญ คือ นําขัง ¡ ชัน VI VIII... มีขอ้ จํากัดมาก ความรุ นแรงของการใช้ ทดิี นเพิมขึน GRAZING CULTIVATION LAND CAPABILITY CLASS ข้ อจํากัดและความเสียงเพิมขึน อิสระในการใช้ ลดลง I II III IV V VI บริ เวณทีมีจุดแสดงถึงการใช้ ที เหมาะสมกับชันสมรรถนะ VII VIII ความสามารถในการใช้ ทีดินในชันสมรรถนะทีดินต่ าง ๆ การจําแนกความเหมาะสมของทีดิน LAND SUITABILITY CLASSIFICATION ¡ เป็ นการประเมินศักยภาพของทีดิน ¡ เน้นธรรมชาติของการใช้ทดิี น (FAO, 1976) ¡ ประเมินตามลักษณะการใช้ประโยชน์เฉพาะอย่าง ¡ มีการเปรี ยบเทียบผลประโยชน์ (Benefits) กับแรงงานและต้นทุน (Inputs) ¡ ใช้ Multidisplinary Approach ¡ ความเหมาะสมของทีดินสําหรับนานําขัง P-I P-V (P = Paddy rice) ¡ ความเหมาะสมของทีดินสําหรับพืชไร่ N-I N-V (N = non-flooded crops) ¡ ความเหมาะสมของทีดินสําหรับทุ่งหญ้าเลียงสัตว์ L-I L-III (L = Livestock farming) ¡ ความเหมาะสมของทีดินสําหรับไม้ผล/ไม้ยนื ต้น T-I T-V (T = Tree crops) ¡ ความเหมาะสมของทีดินสําหรับพืนทีต้นนํา W (No subdivisions) ระดับความเหมาะสม (ชันความเหมาะสม) ดีมาก ดี ปานกลาง ไม่ ค่อยเหมาะสม ไม่ เหมาะสม P-I P-II P-III P-IV P-V N-I N-II N-III N-IV N-V T=I T-II T-III T-IV T-V F-I F-II F-III F-IV F-V เหมาะสม ไม่ ค่อยเหมาะสม ไม่ เหมาะสม L-I L-II L-III การจําแนกความเหมาะสมของทีดิน สามารถใช้ ประเมินความเหมาะสมของ ทีดินเฉพาะพืชได้ เช่ น ยางพารา ปาล์ ม นํามัน ฯลฯ เมือเรามีข้อมูล CROP REQUIREMENTS ของพืชนัน ๆ ดินอาจจะเปลียนแปลงชันความเหมาะสมได้ ถ้ ามีการปรั บปรุ งดินเป็ นการถาวร ข้ อจํากัดต่ าง ๆ อาจเปลียนแปลงได้ เมือมีความ รู้ใหม่ และมีเทคโนโลยีเพิมขึน The impact of human activities on soil Soil contamination through excessive use of fossil energy and raw materials WORLD SOIL DAY