Thai Studies_History Section 2 PDF
Document Details
Uploaded by ResourcefulGraffiti
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อภิชา ชุติพงศ์พิสิฏฐ์
Tags
Summary
This document provides an overview of Thai history, focusing on developments and changes, with a particular emphasis on the impact of Westernization.
Full Transcript
ประวัตศิ าสตร์ไทย: พัฒนาการและการเปลี7ยนแปลง อภิชา ชุตพิ งศ์พสิ ฏิ ฐ์ ภาควิชาประวัตศิ าสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ SECTION 2 รัฐไทยสมัยรัชกาลที. 4 – 14 ตุลา 16 Dodemisation ↳ ตะ นตก 4 บวช...
ประวัตศิ าสตร์ไทย: พัฒนาการและการเปลี7ยนแปลง อภิชา ชุตพิ งศ์พสิ ฏิ ฐ์ ภาควิชาประวัตศิ าสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ SECTION 2 รัฐไทยสมัยรัชกาลที. 4 – 14 ตุลา 16 Dodemisation ↳ ตะ นตก 4 บวช อน จะมาเ น ก ต อิทธิพลตะวันตกกับการเปลี3ยนแปลงสมัย ร. 4 ถึงปฏิวตั ิ 2475 ´ สาเหตุทท)ี าํ ให้เกิดการปฏิรปู ประเทศตามแบบตะวันตก 0 (1) การปรับเปลีย) นทัศนคติของชนชันC นํา (2) สถานการณ์โลก (การยึดครองอาณานิคมใน SEA และสงครามฝิ)น) ´อิทธิพลของชาติตะวันตกทีเ) พิม) มากขึนC พร้อมกับแนวคิดจักรวรรดินิยมทําให้ ผูน้ ําสยามเริม) ปฏิรปู ประเทศให้สอดรับกับความเป็ นอารยะของชาติตะวันตก มาเลเ ย งคโปร พ า → งกฤษ Opium War สงคราม น ชนะ สงครามครัง( สําคัญระหว่างอังกฤษกับจีน สาเหตุเกิด uruv uw จากความต้องการของอังกฤษทีจ? ะเข้าไปทําการค้ากับจีน อย่างเสรี สงครามสิน( สุดด้วยความพ่ายแพ้ของจีนจนต้อง ยอมทําสนธิสญ ั ญาทีไ? ม่เป็ นธรรม คือ สนธิสญ ั ญานานกิง ความเปลีย) นแปลงสมัยรัชกาลที) 4 ´ การทําสนธิสสัญญาเบาว์รงิ พ.ศ. 2398 (Bowring Treaty 1855) ระบบการค้าระหว่างประเทศในสมัยต้นรัตนโกสินทร์สร้างประโยชน์ให้กบั ชนชัน; สูง สยามและพ่อค้าจีนอพยพ แต่กลับทําให้พอ่ ค้าตะวันตกเสียประโยชน์อย่างมาก พ่อค้าอังกฤษร้องเรียนไปยังรัฐบาล ต่อมาได้สง่ Sir James Brooke มาในพ.ศ. 2393 เพือJ เจรจาขอให้ส①ยามยกเลิกการผูกขาด ระบบพระคลังสินค้า รวมถึง② ลดอัตราภาษีให้เป็ น ประโยชน์กบั พ่อค้าอังกฤษ แต่ไม่สาํ เร็จ ลด 701. อังกฤษส่งตัวแทนมาใหม่ คือ Sir John Bowring ในพ.ศ. 2398 ตรงกับสมัย ร. 4 เอาเ อ นมา วย 2 า 1 ข้อตกลงในสนธิสญ ั ญาเบาว์รงิ (1) ยกเลิกการแทรกแซงทางการค้าโดยรัฐ เปิดเสรีระหว่างเอกชน (2) ไทยเก็บภาษีสนิ ค้าขาเข้าร้อยละ 3 ภาษีขาออกตามกําหนด (3) ฝิ)นกลายเป็ นสินค้านําเข้ามาขายในสยามได้ (4) ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต จา ตนครบาล (5) อังกฤษเป็ นชาติได้รบั อนุเคราะห์ยงิ) ไง เอา→ใ กฎหมาย วเอง (6) สนธิสญั ญาแก้ไขได้เมือ) ครบ 10 ปี แ องยอม บ ง2 าย1 6กาเตา การเคารพ กพรร น เ นเขตแดนมา ร. 5 ´การปรับปรุงขนบธรรมเนียมประเพณี - ราษฎรมีเสรีภาพในการนับถือศาสนา - ให้คณะทูตยืนเข้าเฝ้า - ให้ขา้ ราชการสวมเสือC เข้าเฝ้า - เริม) ใช้ธงช้างเผือก ´การพัฒนาสาธารณูปโภค - ตัดถนนเจริญกรุง บํารุงเมือง เฟื)องนคร - ขุดคลองดเพิม) เช่น คลองสีลม คลองมหาสวัสดิ [ คลองภาษีเจริญ ความเปลีย9 นแปลงสมัยรัชกาลที9 5 ´การแสวงหาอาณานิคมของตะวันตกและปญั หาด้านพระราชอํานาจของรัชกาล ที) 5 เมือ) ขึนC ครองราชย์ ทําให้จาํ เป็ นต้องสร้างรัฐรวมศูนย์อํานาจทีม) เี สถียรภาพ เกิดรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ภายใต้ระบบ absolute monarchy เมือ) รัชกาลที) 5 0 ทรงปฏิรปู ประเทศในพ.ศ. 2435 ก ต ใ อ นาจในก.บ หารแ น นแ เ ยง เ ยว ตอนแรก อา คน ท ห าแทน ´กระบวนการสร้างรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ รวม น ใ อ นาจ →เ บภามาก ต มาาง 2427 ชาว งกฤษ 20 → (1) ปฏิรป ู การคลั ง ท น แรก (2) ทํา แผนทีแ ) สดงอาณาเขต อา (3) ควบคุมหน่วยงานส่วนกลาง (4) ใช้ระบบข้าหลวงเทศาภิบาล 12 กระทรวง วห า→เสนาบ เ ก นวเ อง ปดา ก ต ประ เสนาบ ม ] ¾ น น ก ´ ผลทีเ% กิดขึน, จากการสร้างรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (1) เกิดการต่อต้านจากผูป้ กครองหัวเมือง เช่น กบฏผูม้ บี ุญในอีสาน อเสนอ กบฏแขกเจ็ดหัวเมืองทางใต้เนื)องจากไม่ยอมรับอํานาจของกรุงเทพ ใ ฐน ธรรม (2) ชนชันC ปญั ญาชนทีไ) ด้รบั การศึกษาแบบตะวันตกมีแนวคิดต่อต้านการ อ วง all เ พระ ส ยร.6 เ น จบ ทหาร ปท. จาก ๓ รวบอํานาจของสถาบันกษัตริย์ เช่น กลุม่ ร.ศ. 103 กลุม่ ร.ศ. 130 รวมถึงกลุม่ ป ญั ญาชนทัวไป สา ญชน ) เช่น เทีย นวรรณ กลุ่มที)ต่ อต้า นรัฐเหล่า นีC ต้องการสิง) ที)เ ป็ น “ประชาธิปไตย” และมองเห็นว่าเสรีภาพและบทบาททางการเมืองของประชาชน คอ ม เ ยน การเ อง เป็ นสิง) สําคัญ ´การเปลีย) นแปลงทางสังคม (1) การเลิกไพร่ = ส่งเสริมสถานะของราษฎรให้เป็ นพลเมือง มีเสรีภาพใน การประกอบอาชีพ ยกเลิกการเข้าเวรและการใช้แรงงาน (2) การเลิกทาส = ส่งเสริมสถานะของราษฎรให้มเี สรีภาพ ยกเลิกประเพณี การขายบุตรและภรรยาลงเป็ นทาส (3) การปฏิรปู การศึกษา = ส่งเสริมให้เด็กชายและเด็กหญิงได้รบั การศึกษา (4) ยกเลิกประเพณีบางส่วน เช่น การหมอบกราบ ให้ราษฎรเข้าเฝ้าได้ พัฒนาการการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมหลังปฏิวตั ิ 2475 ฐธรรม ญ ´การปฏิวตั ิ 2475: จุดสิน. สุดรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และ ฐธรรม ญ ก ต (1) สาเหตุ = กระแสแนวคิดโลกตะวันตกจากผูท้ ศEี กึ ษาในต่างประเทศ ฝ งเศส Lป 3ค ง = ปญั หาเศรษฐกิจสมัยรัชกาลทีE 7 (ภาวะเศรษฐกิ ห งWWI จตกตํEาทัวโลก) E น มเหลวในการพระราชทานรั ⊛ ¾ ¼¾ = ความล้ เ นของก ต ฐธรรมนูญของรัชกาลทีE 7 (2) เหตุการณ์วนั ทีE 24 มิถุนายน 2475 (3) ผลจากการปฏิวตั ิ = กษัตริยถ์ กู ลดอํานาจ ระบบอภิสทิ ธิ Rถูกยกเลิก ราษฎร ได้รบั เสรีภาพและความเท่าเทียม รัฐวางแนวทางเศรษฐกิจมุง่ ประโยชน์ทปEี ระชาชน เค้าโครงเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ´มุง่ ยกเลิกระบบกรรมสิทธิ Iในทีด? นิ ั ส นก นา ´โอนปจจัยการผลิตเป็ นของรัฐ รัฐกําหนดกลไกทาง| 1βแสงค เ น าย เศรษฐกิจ (ทําลายฐานทางเศรษฐกิจของกลุม่ ผูม้ ี งคม ยม อํานาจเก่าทีเ? คยเป็ นเจ้าของทีด? นิ ) ´ถูกวิจารณ์มากเพราะเป็ นการ “พลิกแผ่นดิน” และ สะท้อนความเป็ นซ้าย ´นโยบายไม่ได้รบั ความเห็นชอบจากรัฐสภา า าเ นคอม ว ส ก ´บทบาททหารในการเมืองไทย (จอมพลป.-สฤษดิ I-ถนอม) กลาโหม1มหาดไทย r ค ง1 จอมพลป. พิบลู สงคราม - เศรษฐกิจชาตินิยม มุง่ เน้นการลงทุนโดยรัฐ (State Capitalism) ขจัด อิทธิพลต่างชาติ สนับสนุนการประกอบการค้าและอาชีพอืน) ๆ ของคนไทย กลุม่ ทีเ) ข้ามามีบทบาท คือ ข้าราชการ ซึง) เข้ามาควบคุมกลไกทางเศรษฐกิจโดยอาศัย อิทธิพลและอํานาจทางการเมือง - รัฐบาลเป็ นผูค้ วบคุมกิจการภาคอุตสาหกรรมพร้อมกับสนับสนุนกิจการ ของเอกชนในบางส่วน - จอมพลป. ได้ผลักดันสถาบันทหารให้เป็ นสถาบันทีสJ าํ คัญในทางการเมือง จัดหาอาวุธ และขยายกองทัพ และขึน; มาดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีในพ.ศ. 2481 พร้อมทัง; คุมอํานาจ ทางฝา่ ยกลาโหมและพลเรือนไว้ทงั ; หมด - การขึน; มาของจอมพลป. ทําให้กลไกการปกครองในระบอบประชาธิปไตยไม่สามารถ ดําเนินต่อไปได้ เช่น การตัง; ศาลพิเศษเพือJ พิจารณาคดี การทีรJ ฐั บาลเข้าควบคุมการทํางาน ของฝา่ ยนิตบิ ญ ั ญัติ (คนทีเJ ป็ นพรรคพวกของจอมพลป. เป็ นประธานและรองประธานสภา) และควบคุมการทํางานในระบบราชการทัง; หมด - การนําประเทศเข้าสูส่ งครามโลกครัง; ทีJ 2 ทําให้เกียรติภมู ขิ องทหารลดลงเนืJองจากเข้า อยูใ่ นฝา่ ยอักษะทีแJ พ้ในสงคราม - จอมพลป. กลับมาดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีอกี ครัง. ระหว่างพ.ศ. 2490-2500 ฝา่ ยทหารยังคงเข้าควบคุมการทํางานของรัฐสภาโดยทํารัฐประหารในพ.ศ. 2494 และ ยกเลิกรัฐธรรมนูญพ.ศ. 2492 ทีมE ขี อ้ ป้องกันการใช้อาํ นาจของทหารโค่นล้มอํานาจ - ฝา่ ยทหารได้นํารัฐธรรมนูญ 2475 กลับมาใช้เนืEองจากมีขอ้ กําหนด “สมาชิกสภา สส.ประเภททีE 2” ซึงE เป็ นกลุม่ ทีมE าจากการแต่งตัง. ของรัฐบาล พร้อมกันนี.ได้ประกาศยุบ พรรคการเมือง - รัฐบาลจอมพลป. หมดอํานาจเนืEองจากถูกกล่าวหาว่าทุจริตการเลือกตัง. ในพ.ศ. 2500 ซึงE กล่าวกันว่าเป็ นการเลือกตัง. สกปรก มีการลงคะแนนไม่เป็ นธรรม บางเขตไม่ม ี กรรมการเลือกตัง. บางเขตทีรE ฐั บาลจะแพ้กม็ กี ารถ่วงการนับคะแนน จอมพลสฤษดิ [ ธนะรัชต์ - จอมพลถนอม กิตติขจร - จอมพลสฤษดิ [ ธนะรัชต์ ยึดอํานาจจากจอมพลป. พิบลู สงครามในพ.ศ. 2500 และต่อมาขึนC เป็ นนายกรัฐมนตรีภายหลังการยึดอํานาจจากรัฐบาลในพ.ศ. 2501 พร้อมกับยกเลิกรฐน. พ.ศ. 2475 ประกาศยุบพรรคการเมือง ยุบสภาผูแ้ ทนราษฎร และประกาศใช้กฎอัยการศึก ส่งผลให้กลไกทางการเมืองแบบรัฐสภาต้องยุตลิ ง - จอมพลสฤษดินํ[ าพาประเทศเข้าสูย่ คุ เผด็จการ นายกรัฐมนตรีมอี าํ นาจอย่าง เต็มทีใ) นการระงับและปราบปราม - ในทางเศรษฐกิจ รัฐบาลรับการสนับสนุ นจากสหรัฐอเมริกาและวางแผนพัฒนา เศรษฐกิจตามแบบทุนนิยมเสรี เปิ ดโอกาสด้านการลงทุนของภาคเอกชน รัฐบาลให้การ สนับสนุนสาธารณูปโภค - ผล คือ เกิดการพัฒนาไม่สมดุลระหว่างเกษตรกรรม-อุตสาหกรรม เกิดปญั หาความ ยากจนในชนบท เมือง-ชนบทเหลือE มลํ.ามาก - จอมพลสฤษดิถึR งแก่อนิจกรรมพ.ศ. 2506 จอมพลถนอม กิตติขจรสืบทอดอํานาจใน ฐานะทายาททางการเมืองและดําเนินนโยบายการบริหารประเทศตามแบบจอมพลสฤษดิ R แต่ไม่มอี าํ นาจและบารมีมากนัก - การบริหารประเทศทีกE ลุ่มทหารขึน. มาเป็ นผูน้ ํ าทําให้ปญั ญาชนเริมE ไม่พอใจและ เรียกร้องสิทธิในการบริหารบ้านเมือง นําไปสูก่ ารเรียกร้องประชาธิปไตยในพ.ศ. 2516 ขับไล่ผปู้ กครองเผด็จการทีถE อื หางสหรัฐอเมริกาให้มาใช้ไทยเป็ นฐานทัพส่งเครืEองบิน ไปรบในสงครามอินโดจีน - การเดินขบวนเรียกร้องประชาธิปไตยในเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 เริมE ต้นจากคน เรือนหมืนE เป็ นเรือนแสน ประชาชนให้การสนับสนุนอย่างมากเนืEองจากการบริหารงาน ไม่มปี ระสิทธิภาพ ค่าครองชีพสูง และส่อการทุจริต ส่งผลให้รฐั บาลต้องลาออก เหตุการณ์ 14 ตุลา 2516