TAS 16 PPE PDF
Document Details
Uploaded by RationalScandium
Chulalongkorn University
Tags
Related
- Norma Internacional de Contabilidad 16 Propiedades, Planta y Equipo PDF
- Conceptual Framework and Environment of Accounting Standards PDF
- TAS 16 PPE Thai Accounting Standards PDF
- Conceptual Framework and Accounting Standards (Valix 2020) PDF
- Ind AS 16 PDF - Property, Plant & Equipment Accounting
- Topic 3.5 Considerations for Gov Funding - Revenue Recognition PDF
Summary
This document is a presentation on accounting standards for property, plant and equipment (PPE) in Thailand. It covers topics such as the definition of PPE, recognition, measurement and depreciation. It also touches on accounting practices and considerations related to specific scenarios.
Full Transcript
Áҵðҹ¡ÒúѪթºÑº·Õ่ 16 àÃ×่ͧ ·Õ่´Ô¹ ÍÒ¤Òà áÅÐÍØ»¡Ã³ PPE (»ÃѺ»Ãا» 2561) ¶×Í»¯ÔºÑµÔ 1 Á¤. 2562 IAS 16 Property, Plant and Equipment 2018 แนวทางการสอน ▰ รู ้จกั มาตรฐานการบัญชี และแหล่งความรู ้ ▰ สามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้จริ ง 2 ...
Áҵðҹ¡ÒúѪթºÑº·Õ่ 16 àÃ×่ͧ ·Õ่´Ô¹ ÍÒ¤Òà áÅÐÍØ»¡Ã³ PPE (»ÃѺ»Ãا» 2561) ¶×Í»¯ÔºÑµÔ 1 Á¤. 2562 IAS 16 Property, Plant and Equipment 2018 แนวทางการสอน ▰ รู ้จกั มาตรฐานการบัญชี และแหล่งความรู ้ ▰ สามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้จริ ง 2 NPAEs PAEs TFRS for SMEs ที#ก่อนหน้านี+ประกาศไว้วา่ จะมีผลบังคับใช้ต+ งั แต่วนั ที# ? มกราคม @ABC จะถูกเลื#อน ออกไปก่อน เพื#อปรับปรุ งเนื+อหาและขอบเขตให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของประเทศไทยต่อไป 4 http://www.tfac.or.th/Article/Detail/66976 Accounting Standard IFRS เป็ นการเชืKอมธุรกิจทัวK โลกเข้าหากันเนืKองจากประเทศส่ วนใหญ่ใช่ IFRS การสร้างความสอดคล้องกันทางการบัญชี หมายถึง การ อนุญาตให้ประเทศต่างๆ มีความแตกต่างกันในมาตรฐานการบัญชีได้ แต่ตอ้ งไม่มีความขัดแย้งกัน ▰ สภาวิชาชีพบัญชี http://www.tfac.or.th/Article/Detail/66976 (มาตรฐาน บัญชีไทย) ▰ สภาวิชาชีพบัญชี http://www.tfac.or.th/Article/Detail/66976 ▰ สภาวิชาชีพบัญชี http://www.tfac.or.th/Article/Detail/66976 ▰ กรอบแนวคิดการรายงานทางการเงิน แม่บทบัญชี กรอบแนวคิดการรายงานทางการเงิน รายงานทางการเงิน (งบแสดงฐานทางการเงิน งบกําไรขายทุน/งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ งบแสดงการเปลีKยนแปลงส่ วนของเจ้าของ และหมายเหตุประกอบงบการเงิน) องค์ ประกอบของงบการเงิน /นิยาม -สท (อยูใ่ นการควบคุม/เหตุการณ์ในอดีต/คาดว่าจะได้ประโยชน์) -หส (ภาระผูกพันปัจจุบนั /เหตุการณ์ในอดีต/คาดว่าจะเสี ยประโยชน์) -ทุน(สท-หส) รายได้ (การเพิKมขึXนของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ** เงินเพิKม/สท เพิKม หนีXสินลด) คชจ. (การลดลงขึXนของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ** เงินลด/สท ลด หนีXสินเพิKม) ผู้ใช้ งบการเงิน เช่น ผูถ้ ือหุน้ ลูกค้า เจ้าหนีX ธนาคาร นักลงทุน รัฐบาล ผูใ้ ห้กู้ ฯลฯ วัตถุประสงค์ ของงบการเงิน เพืKอประโยชน์ในการตัดสิ นใจทีKถูกต้องของผูใ้ ช้งบการเงิน วัตถุประสงค์ กําหนดวิธีปฏิบตั ิ ทางบัญชีสาํ หรับรายการที7ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เพื7อให้ผใู้ ช้งบ การเงินทราบข้อมูลเกี7ยวกับการลงทุนของกิจการ และการเปลี7ยนแปลงที7เกิดขึKนจากการ ลงทุน คํานิยาม** ทีKดิน อาคาร และอุปกรณ์ ▰ หมายถึง สินทรัพย์ที2มีตวั ตน มีไว้ เพื2อใช้ ประโยชน์ในการผลิต การจํ า หน่ า ยสิ น ค้ า หรื อ ให้ บ ริ ก าร เพื2 อ ให้ เ ช่ า หรื อ เพื2 อ ใช้ ใ นการ บริ หารงาน และคาดว่าจะใช้ ประโยชน์มากกว่าหนึง2 รอบระยะเวลา กฎ 3 + 2 ของ PPE นิยาม PPE หมายถึง สิ นทรัพย์ ทมีO ตี วั ตน ซึKงเข้าเงืKอนไขทุกข้อต่อไปนีX ▰ 1. มีตวั ตน ▰ 2. มีไว้เพืKอใช้ประโยชน์(ดําเนินงานปกติ) ในการผลิต ในการจําหน่ายสินค้าหรื อให้บริ การ เพืKอให้เช่า หรื อเพืKอใช้ในการบริ หารงาน ▰ 3. กิจการคาดว่าจะใช้ประโยชน์มากกว่าหนึKงรอบระยะเวลาบัญชี การรับรู้ รายการ เมืOอ กิจการต้องรับรู ้ตน้ ทุนของรายการทีKดิน อาคาร และอุปกรณ์ เป็ นสิ นทรัพย์เมืKอเข้าเงืKอนไขทุกข้อ 1.มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ทีKกิจการจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต 2.สามารถวัดมูลค่าต้นทุนของรายการได้อย่างน่าเชืKอถือ 15 ¡ÒÃÃѺÃÙÃÒ¡ÒÃ** ¡ÒÃÇÑ´ÁÙŤÒ** TAS 16 ¤ÒàÊ×่ÍÁÃÒ¤Ò ¡ÒôÍÂ¤Ò TAS36 ¡ÒõѴÃÒ¡Òà ¡ÒÃà»´à¼Â¢ÍÁÙÅ 16 ขอบเขต ที2ดนิ อาคารและ นํ Lามัน ก๊ าซธรรมชาติ อุปกรณ์ ประเภทถือ และทรัพยากรที2ไม่ ÊÑÁ»·Ò¹áÅÐáËŧ ไว้ เพื2อขาย สามารถสร้ างขึ Lนใหม่ได้ ·ÃѾÂÒ¡ÃàËÁ×ͧ TFRS 5 áà Áҵðҹ¡ÒúѪթºÑº¹Õ้äÁ¤Åͺ¤ÅØÁ¶Ö§ TAS 41 TFRS 6 สินทรัพย์ชีวภาพที2 สิ นทรัพย์ทีKเกิดจากการ เกี2ยวข้ องกับกิจกรรม สํารวจและการประเมิน ทางการเกษตรยกเว้ น ค่าแหล่งทรัพยากรแร่ พืนที2ให้ ผลิตผล 17 1 การรับรู้ รายการ Ø ต้นทุนเริK มแรกเพืKอให้ได้มา Ø ต้นทุนทีKเกิดขีXนในภายหลัง 18 ¡ÒÃÃѺÃÙÃÒ¡Ò÷Õ่´Ô¹ ÍÒ¤Òà ÍØ»¡Ã³ กิจการต้ องรับรู้ต้นทุนของรายการที2ดนิ อาคารและอุปกรณ์ เป็ นสินทรัพย์เมื2อเป็ นไปตามเงื2อนไขข้ อต่อไปนี L 1. มีความเป็ นไปได้ คอ่ นข้ างแน่ที2กิจการจะได้ รับ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากสินทรัพย์นนั L 2. สามารถวัดมูลค่าต้ นทุนของรายการนันได้ L 19 รายการต่ อไปนีจ, ดั ประเภทเป็ น ที6ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ หรื อไม่ Yes No 1 รายจ่ายในการต่อเติมอาคาร 2 อะไหล่ที2ใช้ ในการซ่อมบํารุง(เล็กนอ้ ย) 3 อะไหล่ที2มีอายุการใช้ งานเกิน 1 ปี 4 ค่าทาสีอาคาร 5 รายจ่ายในการทําผนังกันห้L อง 6 ค่าตรวจสอบครังL ใหญ่ 20 ¡ÒÃÃѺÃÙÃÒ¡Òà ÍÐäËÅ áÅÐÍØ»¡Ã³ อะไหล่และอุปกรณ์ควรจัดประเภทเป็ น สินค้ าคงเหลือ หรื อที@ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ 🔨 รายการชิ Cนส่วนอะไหล่ อุปกรณ์ที@สาํ รองไว้ ใช้ งาน และอุปกรณ์ที@ ใช้ ในการซ่อมบํารุงจะถูกรับรู้ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที@ 16 🔌 เมื@อเข้ านิยาม ไม่เข้ านิยามจัดเป็ นสินค้ า TAS2 21 ในวันที6 1 มกราคม 25X1 บริษทั ทารา จํากัด ซือ= เครือ6 งจักร ราคา 10 ล้านบาท ผูข้ ายแถมอะไหล่ให้ฟรี ใน invoice อะไหล่ระบุราคา เท่ากับ 0 บาท โดยปกติผขู้ ายจะขายอะไหล่ในราคา 1 ล้านบาท ในปี ทซ6ี อ=ื เครือ6 งจักรกิจการยังไม่ได้นําอะไหล่มาใช้งาน เครือ6 งจักรและอะไหล่มอี ายุการ ให้ประโยชน์ 5 ปี ? กิจการควรบันทึกรายการบัญชีอย่างไร 22 ตัวอย่าง กิจการซืKอเครืK องจักร 10 ล้าน แถมอะไหล่(ทีKสาํ คัญ) มูลค่า 1 ล้าน เครืK องจักรมีอายุประมาณ 5 ปี Dr. เครืK องจักร 9 อะไหล่ 1 Cr.เงินฝาก,เงินสด 10 Dr. ค่าเสืK อมราคา-เครืK องจักร 1.8 Cr.ค่าเสืK อมราคาสะสม-เครืK องจักร 1.8 23 หลังจากใช้งานเครือ6 งจักร 3 ปี เกิดไฟฟ้ าลัดวงจร กิจการเบิกอะไหล่ สํารองมาใช้ และส่งอะไหล่เก่าไปซ่อมเสียค่าซ่อม 200,000 บาท อะไหล่ท6ี ซ่อมเสร็จแล้วกิจการนํามาเป็ นอะไหล่สาํ รอง ? กิจการควรบันทึกรายการบัญชีอย่างไร 24 Dr. เครืK องจักร 1 Cr. อะไหล่ 1 Dr. อะไหล่/ค่าซ่อมแซ่ม 2 แสน Cr. เงิน 2 แสน เช่น กรณี มีการซ่อมบํารุ งPPEทีKมีวตั ถุประส่ งเพืKอเป็ นการซ่อมแซมและบํารุ งรักษา ซึKงเป็ นการซ่อมประจํา ส่ วนใหญ่เป็ นค่าแรง วัสดุสิXนเปลืองและอาจมีชิXนส่ วนอะไหล่ “รายการเช่นนีXถือเป็ น คชจ.ในงบกําไรขาดทุน” ตย. การดัดแปลง/เปลีKยนแทน/ปรับปรุ งให้ดีขX ึน/ต่อเติม/ซ่อมแซ่ม *** ถ้าเข้าเงืKอนไขการรับรู ้ PPE ให้รับรู ้เป็ น PPE 25 ต้ นทุนเริOมแรกเพืOอให้ ได้ มา ิ ( land ) Ø ที6ดน Ø เครื6 องจักร (Machinery) Z.ต้ นทุนของที2ดนิ 1.การซื Lอเครื2 องจักร 2.การสร้ างเครื2 องจักร \.การปรับปรุงที2ดนิ Ø อาคาร (Building) ].การซื Lอที2ดนิ โดยมีอาคารติดมาด้ วย 1.การซื Lออาคาร 2.การสร้ างอาคาร 🌏 🔨 26 ต้ นทุนทีเO กิดขึน] ในภายหลัง Ø การซ่ อมบํารุ งอาคารและอุปกรณ์ ท6 เี กิดขึน, เป็ นประจํา ▰ กิจการไม่รับรู ้ตน้ ทุนทีKเกิดขึXนเป็ นส่ วนหนึKงของมูลค่าตามบัญชี กิจการรับรู ้ตน้ ทุนในงบกําไร ขาดทุน ▰ มีองค์ประกอบหลักเป็ นต้นทุนค่าแรงงาน ค่าวัสดุสน=ิ เปลือง และรวมถึงชิน= ส่วนอะไหล่ชน=ิ เล็ก รายจ่ายดังกล่าวมีวตั ถุประสงค์เพือ6 เป็ นค่าซ่อมแซมและบํารุงรักษา 27 ต้ นทุนทีเO กิดขึน] ในภายหลัง Ø การเปลี6ยนแทนส่ วนประกอบของรายการ PPE ▰ กิจการรับรู้ ต้นทุนตามมูลค่าตามบัญชี ▰ กิจการตัดมูลค่าตามบัญชีของชิ Lนส่วนที2ถก ู เปลีย2 นแทนตาม หลักการของการตัดรายการที2กําหนดไว้ 28 2 การวัดมูลค่ า Ø เมืKอรับรู ้รายการ Ø หลังการรับรู ้รายการ 29 การวัดมูลค่ าทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ 1.การวัดมูลค่าเมืKอรับรู ้รายการวัดมูลค่าเริK มแรก(ต้นทุนเริK มแรกเพืKอให้ได้มา) ▰ ราคาทุน (คชจ.ทางตรงในการได้มาซึKงทรัพย์สิน) - ราคาซืXอ - ต้นทุนทางตรงอืKนๆ - ต้นทุนทีKประมาณในเบืXองต้นสําหรับการรืX อ 2.การวัดมูลค่าภายหลังการรับรู ้รายการ(ต้นทุนทีKเกิดขึXนภายหลังได้มา) - วิธีราคาทุน หรื อ - วิธีการตีราคาใหม่ 30 การวัดมูลค่ าเมืOอรับรู้ รายการ ▰ กิจการวัดมูลค่าของรายการทีKดิน อาคารและอุปกรณ์ทีKเข้าเงืKอนไข การรับรู ้รายการเป็ นสิ นทรัพย์ โดย ใช้ วิธีราคาทุน 31 1. ราคาซื Lอรวมภาษี นําเข้ า 2. ภาษี ซื Lอที2เรี ยกคืนไม่ได้ หลังหักส่วนลด การค้ าและจํานวนที2ได้ รับคืนจากผู้ขาย ส่วนประกอบ ราคาทุน 3. ต้ นทุนทางตรงอื2นๆ 4. ต้ นทุนสําหรับการรื อL การขนย้ าย และ การบูรณะสถานที2ตงของสิ ัL นทรัพย์ การรับรูต้ น้ ทุนจะหยุดเมือ6 สินทรัพย์นนั = อยูใ่ นสถานทีแ6 ละสภาพทีพ6 ร้อมจะใช้งานได้ 32 ต้ นทุนทางตรงอื6นๆ ได้ แก่ § ต้ นทุนผลประโยชน์ของพนักงาน (ตามที2กําหนดใน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที2 Zc (ปรับปรุง \def) เรื2 อง ผลประโยชน์ของพนักงานที2เกิดขึ Lนโดยตรงจากการ ส่วนประกอบ ก่อสร้ างหรื อการได้ มาซึง2 รายการที2ดนิ อาคารและอุปกรณ์ ราคาทุน § ต้ นทุนการเตรี ยมสถานที2 § ต้ นทุนการขนส่งเริ2 มแรกและการเก็บรักษา § ต้ นทุนการติดตังและการประกอบ L § ต้ นทุนการทดสอบสินทรัพย์ § ค่าธรรมเนียมวิชาชีพ 33 ต้ นทุนที6ไม่ ถือเป็ นส่ วนหนึ6งในราคาทุนของรายการที6ดนิ อาคารและอุปกรณ์ (1) § ต้ นทุนในการเปิ ดสถานประกอบการใหม่ § ต้ นทุนในการแนะนําสินค้ าหรื อบริ การใหม่ (รวมถึง ส่วนประกอบ ต้ นทุนในการโฆษณาและการส่งเสริ ม การขาย) ราคาทุน § ต้ นทุนในการดําเนินธุรกิจในสถานที2ตงใหม่ั L หรื อกับ ลูกค้ ากลุม่ ใหม่ (รวมทังต้ L นทุนใน การฝึ กอบรม พนักงาน) § ต้ นทุนในการบริ หารและค่าใช้ จา่ ยทัว2 ไป 34 ต้ นทุนที6ไม่ ถือเป็ นส่ วนหนึ6งในราคาทุนของรายการ ที6ดนิ อาคารและอุปกรณ์ (2) § ผลขาดทุนจากการดําเนินงานเริ2 มแรก เช่น ผล ขาดทุนที2เกิดขึ Lนระหว่างการสร้ าง ความต้ องการใน ส่วนประกอบ ผลผลิตจากสินทรัพย์ดงั กล่าว ราคาทุน § ต้ นทุนในการย้ ายสถานที2หรื อการจัดโครงสร้ างการ ดําเนินงานบางส่วนหรื อทังหมดของกิ L จการ 35 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ การวัดมูลค่ าเมืOอรับรู้ รายการทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ (ต่ อ) ตัวอย่ าง1: เมืKอวันทีK 1 มกราคม 25x5 บริ ษทั บูรพา จํากัด ตกลงซืXอเครืK องจักรราคา 800,000 และได้รับส่ วนลด 10% จากราคาซืXอ มี ค่าขนส่ ง 1,000 บาท บริ ษทั ได้รับเครืK องจักรในวันทีK 1 กุมภาพันธ์ 25x5 และใช้เวลาติดตัXง 10 วัน โดยมี ค่าใช้จ่ายเกิดขึXนดังนีX ค่าจ้างวิศวกรควบคุมการติดตัXง 12,000 บาท เงินเดือนผูจ้ ดั การโรงงาน 10,000 บาท ค่าใช้จ่ายและอะไหล่ในการติดตัXง 9,000 บาท ค่าวัสดุทีKใช้ในการทดสอบ 3,000 บาท ค่าแรงและค่าใช้จ่ายในการทดสอบ 4,000 บาท นําสิ นค้าทีKได้จากการทดสอบผลิตไปขายได้เงิน 8,000 บาท 36 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ การวัดมูลค่ าเมืOอรับรู้ รายการทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ (ต่ อ) ตัวอย่ าง1(ต่ อ): ราคาทุนของเครืK องจักร ประกอบด้วยรายการดังนีX ราคาซืXอหลังหักส่ วนลด 720,000 ค่าขนส่ ง 1,000 ค่าจ้างวิศวกร 12,000 ค่าใช้จ่ายและอะไหล่ในการติดตัXง 9,000 ค่าวัสดุทีKใช้ในการทดสอบ 3,000 ค่าแรงและค่าใช้จ่ายในการทดสอบ 4,000 นําสิ นค้าจากการทดสอบไปขาย (8,000) รวมราคาทุนของเครืK องจักร 741,000 37 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ การวัดมูลค่ าเมืOอรับรู้ รายการทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ (ต่ อ) ตัวอย่ าง2: กิจการได้ เช่ าทีดO นิ ระยะเวลา 10 ปี ในสั ญญาเช่ าระบุว่ากิจการสามารถสร้ างสิO งปลูกสร้ างได้ แต่ ต้องทําให้ ทดีO นิ อยู่ในสภาพเดิมเมืOอ สิ]นสุ ดสั ญญาเช่ า กิจการได้ สร้ างโกดังเก็บสิ นค้ ามีค่าก่ อสร้ างทั]งสิ]น 1 ล้ านบาท กิจการประมาณการค่ าใช้ จ่ายในการรื]อถอนไว้ ทีO 100,000 บาท (อัตราดบ.คิดลดทีเO หมาะสม 5%) ราคาทุนอาคาร = 1,000,000 + 100,000 PVIF (i=5,n=10) = 1,000,000 + 100,000(0.6139) = 1,000,000 + 61,390 = 1,061,390 **มูลค่ าซาก = มูลค่ าคงเหลือ ดบ. 5% การวัดมูลค่ าเมืOอรับรู้ รายการทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ (ต่ อ) ตัวอย่ าง2(ต่ อ): Dr. อาคารระหว่างก่อสร้าง 1,000,000 Cr. เงินสด 1,000,000 Dr. อาคาร 1,061,390 Cr. อาคารระหว่างก่อสร้าง 1,000,000 ประมาณการหนีXสินจากการรืX อถอน 61,390 สิX นปี ทีK 1 Dr. ค่าใช้จ่ายในการรืX อถอน(ดบ.จ่าย) 3,070 Cr. ประมาณการหนีXสินจากการรืX อถอน 3,070 Dr. ค่าเสืK อมราคาอาคาร 106,139 Cr. ค่าเสืK อมราคาสะสมอาคาร 106,139 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ การวัดมูลค่ าเมืOอรับรู้ รายการทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ (ต่ อ) ตัวอย่ าง2(ต่ อ): สิX นปี ทีK 10 Dr. ค่าใช้จ่ายในการรืX อถอน 4,764 Cr. ประมาณการหนีXสินจากการรืX อถอน 4,764 Dr. ค่าเสืK อมราคาอาคาร 106,139 Cr. ค่าเสืK อมราคาสะสมอาคาร 106,139 Dr. ประมาณการหนีXสินจากการรืX อถอน 100,000 Cr. เงินสด 100,000 การวัดมูลค่าของราคาทุน ได้ จากการทําสัญญาเช่าการเงิน ได้ จากการซื Lอ - บันทึกด้ วยมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ - บันทึกด้ วยราคาเทียบเท่าราคาเงินสด หรื อมูลค่าปั จจุบนั ของจํานวนเงินขันตํ L 2าที2 ต้ องจ่ายแล้ วแต่จํานวนใดจะตํ2ากว่า ได้ จากการแลกเปลีย2 น ได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล - บันทึกด้ วยมูลค่ายุตธิ รรม - บันทึกด้ วยจํานวนเงินตามสัญญาหรื อ มูลค่ายุตธิ รรม (TAS20) 43 การวัดมูลค่าของราคาทุน q ต้ นทุนของรายการที6ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ ท6 ไี ด้ มาโดยการซือ, คือ ราคาที6เทียบเท่ าราคาเงินสด (Cash price equivalent) ณ วันที6รับรู้ รายการ ผลต่างระหว่าง การขยายกําหนด ราคาที2เทียบเท่าราคาเงิน ชําระนานเกินกว่า สดและจํานวนเงินทังหมด L ระยะเวลาที2ผ้ ขู าย ที2ต้องชําระ ให้ รับรู้เป็ นดอกเบี Lยตลอด ให้ สนิ เชื2อตามปกติ ระยะเวลาการได้ รับสินเชื2อ 44 การวัดมูลค่าของราคาทุน การแลกเปลี6ยนสินทรั พย์ ท6 มี ีเนือ, หาเชิงพานิชย์ q ให้ ถือตามมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ที2ให้ ไปเว้ นแต่ มูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ที2ได้ มาจะน่าเชื2อถือกว่า q ถ้ ารายการขาดเนื Lอหาเชิงพาณิชย์/ไม่สามารถวัดมูลค่ายุตธิ รรมได้ อย่างน่าเชื2อถือ ให้ ถือตามมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ที2ให้ ไป 45 บริษทั A จํากัด ตกลง แลกเปลีย6 น ทีด6 นิ กับ เครือ6 งจักรของ บริษทั B จํากัด ในการแลกเปลีย6 นบริษทั A จ่ายเงินให้กบั บริษทั B 0.8 ล้านบาท และมีรายละเอียดทีเ6 กีย6 วข้องดังนี= รายการ มูลค่าตามบัญชี มูลค่ายุตธิ รรม ที@ดนิ – บริ ษัท A จํากัด \.^ ล้ านบาท _.` ล้ านบาท เครื@ องจักร – บริ ษัท B จํากัด b.` ล้ านบาท _.c ล้ านบาท ? บริษทั A และ B ควรบันทึกบัญชีอย่างไรและด้วยราคาเท่าใด 46 รายการ Cr. มูลค่าตามบัญชี Dr.มูลค่ายุตธิ รรม ที@ดนิ – บริ ษัท A จํากัด Cr. \.^ ล้ านบาท Dr._.` ล้ านบาท เครื@ องจักร – บริ ษัท B จํากัด Cr.b.` ล้ านบาท Dr._.c ล้ านบาท Dr.เครือ6 งจักร 3.8 (3+0.8) Cr.ทีด6 นิ 2.5 เงิน 0.8 กําไรจาการแลก 0.5 Dr. ทีด6 นิ 3.0 เงิน 0.8 ขาดทุน 0.2 ? Cr. เครือ6 งจักร 4.0 47 การวัดมูลค่ าภายหลังการรั บรู้ รายการ กิจการสามารถเลือกใช้ นโยบายบัญชีโดยใช้ วิธีราคาทุน วิธีตรี าคาใหม่ q กิจการต้ องใช้ นโยบายบัญชีเดียวกันสําหรั บที6ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ ทุกรายการที6จดั อยู่ในประเภทเดียวกัน 48 วิธีราคาทุน วิธีตรี าคาใหม่ ราคาทุน มูลค่ายุติธรรม ณ วันทีKมีการตีราคาใหม่ 49 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ การวัดมูลค่ าภายหลังการรับรู้ รายการ วิธีการตีราคาใหม่ ▰ มูลค่ายุติธรรมอาจได้จากการประเมินราคา หากไม่สามารถหามูลค่ายุติธรรมได้อาจใช้วธิ ีตน้ ทุนเปลีKยน แทนหักค่าเสืK อมราคาสะสม ▰ หากกิจการเลือกใช้วธิ ีการตีราคาใหม่ กิจการต้องตีราคาสิ นทรัพย์ใหม่อย่างสมํKาเสมอเพืKอให้แน่ใจว่า ราคาตามบัญชีไม่แตกต่างจากมูลค่ายุติธรรมอย่างมีสาระสําคัญ เช่น ถ้ามูลค่ายุติธรรมมีความผันผวนมากอาจจําเป็ นต้องตีราคาใหม่ทุกปี แต่ถา้ การเปลีKยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมไม่มีสาระสําคัญ การตีราคาใหม่ทุก 3-5 ปี ถือว่าเพียงพอ (สมํKาเสมอ) 50 า ค า วิธีการตีราคาใหม่ ตรี ขนึ , เพ6มิ การตีราคาสินทรัพย์ใหม่ ทําให้ มลู ค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นนเพิ ั L 2มขึ Lน q กิจการต้ องรับรู้มลู ค่าที2เพิ2มขึ Lนไปยังกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื2น OCI q กิจการต้ องรับรู้จํานวนสะสมไปยังส่วนของเจ้ าของ บัญชี “ส่วนเกินทุน จากการตีราคาสินทรัพย์” Dr. ที2ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ xx Cr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ xx 51 า คา วิธีการตีราคาใหม่ ตรี ลง ลด การตีราคาสินทรัพย์ใหม่ ทําให้ มลู ค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นนลดลง ัL q หากตีราคาลดลงเลย รับรู้สว่ นที2ลดลงในงบกําไรขาดทุน q กิจการต้ องนําส่วนที2ลดลงจากการตีราคาใหม่ไปรับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื2น จํานวนไม่เกินยอดคงเหลือด้ านเครดิตที2มีอยูใ่ นบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคา สินทรัพย์” ของสินทรัพย์รายการเดียวกัน ั ชี “ส่วนเกินทุนจาก q การรับรู้สว่ นที2ลดลงในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื2น มีผลทําให้ บญ การตีราคาสินทรัพย์” ที2สะสมอยูใ่ นส่วนของเจ้ าของลดลงตามไปด้ วย Dr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ xx ขาดทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ xx Cr. ที2ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ xx 52 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ ตัวอย่าง 1 มกราคม 25x1 กิจการซืXอทีKดินราคาทุน 600,000 บาท ▰ มูลค่ายุติธรรมทีKได้จากการประเมินราคาทีKดิน 31 ธันวาคม 25x1 เท่ากัน 800,000 บาท /31 ธันวาคม 25x2 เท่ากัน 500,000 บาท 31 ธันวาคม 25x3 เท่ากัน 900,000 บาท /31 ธันวาคม 25x4 ขาย ทีKดินในราคา 700,000 บาท 53 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ ตัวอย่าง 3: (ปรับโจทย์) ▰ 1 มกราคม 25x1 กิจการซืXอทีKดินราคาทุน 600,000 บาท ▰ มูลค่ายุติธรรมทีKได้จากการประเมินราคาทีKดิน 31 ธันวาคม 25x1 เท่ากัน 800,000 บาท /31 ธันวาคม 25x2 เท่ากัน 500,000 บาท 31 ธันวาคม 25x3 เท่ากัน 900,000 บาท /31 ธันวาคม 25x4 ขายทีKดินในราคา 700,000 บาท 31/12/x1 Dr. ทีKดิน – ส่ วนทีKตีราคาใหม่ 200,000 Cr. สวนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ 200,000 (แสดงใน OCI และองค์ประกอบอืKนของส่ วนของผูถ้ ือหุน้ งบแสดงฐานะทางการเงิน) ** ในงบแสดงฐานะการเงิน แสดงยอดทีKดิน 800,000 31/12/x2 Dr. สวนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ 200,000 (ไม่เกินทีKเคยตีราคาไป) ขาดทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ (คชจ.) 100,000 Cr. ทีKดิน – ส่ วนทีKตีราคาใหม่ 300,000 31/12/x3 Dr. ทีKดิน – ส่ วนทีKตีราคาใหม่ 400,000 Cr. กําไรจากการตีราคาสิ นทรัพย์ (รายได้) 100,000 ไม่ เกินจํานวนที.เคยตีราคาลงลง ส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ 300,000 แสดงใน OCI และองค์ประกอบอืKนของส่ วนของผูถ้ ือหุน้ งบแสดงฐานะทางการเงิน) 54 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ ตัวอย่าง 3: (ปรับโจทย์) ▰ 1 มกราคม 25x1 กิจการซืXอทีKดินราคาทุน 600,000 บาท ▰ มูลค่ายุติธรรมทีKได้จากการประเมินราคาทีKดิน 31 ธันวาคม 25x1 เท่ากัน 800,000 บาท /31 ธันวาคม 25x2 เท่ากัน 500,000 บาท 31 ธันวาคม 25x3 เท่ากัน 900,000 บาท /31 ธันวาคม 25x4 ขายทีKดินในราคา 700,000 บาท 31/12/x4 Dr. เงินสด 700,000 ขาดทุนจากการจําหน่ายทีKดิน(คชจ.) 200,000 Cr. ทีKดิน – ส่ วนทีKตีราคาใหม่ 900,000 ** มีส่วนเกินส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ 300,000 (แสดงใน OCI และองค์ประกอบอืKนของส่ วนของผูถ้ ือหุน้ งบแสดงฐานะทางการเงิน) Dr. ส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ 300,000 Cr. กําไรสะสม 300,000 55 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ 900,000 500,000 800,000 300,000 - 200,000 ทุน6แสน ล้าง 2 แสน ทุน6แสน กําไร 1 แสน ขาดทุน 1 แสน 56 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ 100,000 300,000 -200,000 200,000 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ ตัวอย่าง 4: ▰ 1 มกราคม 25x1 กิจการซืXอทีKดินราคาทุน 1,000,000 บาท ▰ 31 ธันวาคม 25x2 กิจการเลือกใช้วธิ ีตีราคาใหม่ มูลค่ายุติธรรม 1,300,000 บาท ▰ 31 ธันวาคม 25x3 มูลค่ายุติธรรมทีKดิน 900,000 บาท 58 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ ตัวอย่าง 4: ▰ 1 มกราคม 25x1 กิจการซืXอทีKดินราคาทุน 1,000,000 บาท ▰ 31 ธันวาคม 25x2 กิจการเลือกใช้วธิ ีตีราคาใหม่ มูลค่ายุติธรรม 1,300,000 บาท ▰ 31 ธันวาคม 25x3 มูลค่ายุติธรรมทีKดิน 900,000 บาท 31/12/x2 Dr. ทีKดิน – ส่ วนทีKตีราคาใหม่ 300,000 Cr. ส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ 300,000 OCI 31/12/x3 Dr. ส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ 300,000 OCI ขาดทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ (คชจ.) 100,000 Cr. ทีKดิน – ส่ วนทีKตีราคาใหม่ 400,000 59 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ 60 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ 61 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ การวัดมูลค่ าภายหลังการรับรู้ รายการ วิธีการตีราคาใหม่ คส.ปี ละ 20,000 ตัวอย่าง 5:1ม.ค. 25x1 กิจการซืXอเครืK องจักรราคาทุน 100,000 บาท อายุการใช้งาน 5 ปี ไม่มีมูลค่าซาก ณ วันทีK 31 ธ.ค. 25x3 มีราคาประเมิน 50,000 บาท วิธี1: ปรับค่ าเสืO อมราคาสะสมเป็ นสั ดส่ วนกับการเปลียO นแปลงของราคาตามบัญชี ราคาตามบัญชีเพิKมขึXน 25% จาก 40,000 บาท เป็ น 50,000 บาท กิจการต้องปรับค่าเสืK อมราคาสะสมเพิKม 25% ราคาทุนก็ตอั ง เพิKมขึXน 25% กิจการบันทึกบัญชีโดย Dr. เครืK องจักร (25% 100,000) 25,000 Cr. ค่าเสืK อมราคาสะสมเครืK องจักร(25%60,000) 15,000 ส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ 10,000 BV = 50,000 >>> 125,000 – 75,000 = 50,000 62 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ การวัดมูลค่ าภายหลังการรับรู้ รายการ วิธีการตีราคาใหม่ ตัวอย่าง5:1ม.ค. 25x1 กิจการซืXอเครืK องจักรราคาทุน 100,000 บาท อายุการใช้งาน 5 ปี ไม่มีมูลค่าซาก ณ วันทีK 31 ธ.ค. 25x3 มีราคาประเมิน 50,000 บาท วิธี 2: นําค่ าเสืO อมราคาสะสมหักจากราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์ หา BV ณ สิX นงวด =Cost – Dep. (100,000-40,000) Dr. ค่าเสืK อมราคาสะสมเครืK องจักร 60,000 Cr. เครืK องจักร 60,000 BV= 40,000>> 40,000 – 0 = 40,000 Dr. เครืK องจักร 10,000 Cr. ส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ 10,000 BV = 50,000 (50,000 – 0) 63 TAS16 ทีดO นิ อาคาร และอุปกรณ์ การคิดค่ าเสืO อมราคาของสิ นทรัพย์ ทตีO ใี หม่ (ต่ อ) ตัวอย่างทีK 6: จากตัวอย่างทีK 5 ราคาตามบัญชีเครืK องจักรเท่ากับ 50,000 บาท อายุการใช้งานเหลือ 2 ปี ค่าเสืK อมราคาต่อปี ตามราคาตีใหม่ = 50,000/2 = 25,000 ค่าเสืK อมราคาต่อปี ตามราคาทุน = 100,000/5 = 20,000 สิX นงวดปี x4 และ x5 กิจการต้องบันทึกค่าเสืK อมราคาและปรับปรุ งส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์โดย Dr. ค่าเสืK อมราคา-เครืK องจักร 25,000 Cr. ค่าเสืK อมราคาสะสม-เครืK องจักร 25,000 Dr. ส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ 5,000 (หรื อ 10,000/2) Cr. กําไรสะสม 5,000 64 3 ค่ าเสืO อมราคา Ø จํานวนและระยะเวลาทีKคิดค่าเสืK อมราคา Ø วิธีคิดค่าเสืK อมราคา 65 ค่าเสืK อมราคา ค่าเสืK อมราคา จํานวนทีKคิดค่าเสืK อมราคา อายุการให้ประโยชน์ หมายถึง การปันส่ วน หมายถึง ราคาทุนของ หมายถึง ระยะเวลาทีกO จิ การ จํานวนทีคO ดิ ค่ าเสืO อมราคา สิ นทรัพย์ หรื อมูลค่ าอืOนทีใO ช้ คาดว่ าจะมีสินทรัพย์ ไว้ ใช้ ของสิ นทรัพย์ อย่ างมีระบบ แทนราคาทุนหักด้ วยมูลค่ า หรื อจํานวนผลผลิตหรื อ ตลอดอายุการให้ ประโยชน์ คงเหลือของสิ นทรัพย์ จํานวนหน่ วยในลักษณะอืOน ทีคO ล้ ายคลึงกันซึOงกิจการ ของสิ นทรัพย์ น]ัน คาดว่ าจะได้ รับจากการใช้ สิ นทรัพย์ 66 การบัญชีแยกส่วนประกอบ กิจการต้ องคิดค่าเสือ2 มราคาสําหรับส่วนประกอบของรายการ ที2ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ แต่ละส่วนแยกต่างหากจากกันเมื2อ ส่วนประกอบแต่ละส่วนนันL ▰ มีต้นทุนที2มีนย ั สําคัญเมื2อเทียบกับต้ นทุนทังหมดของ L สินทรัพย์นนั L ▰ มีอายุการให้ ประโยชน์ไม่เท่ากัน 67 ค่ าเสืO อมราคา ▰ กิจการต้องคิดค่าเสืKอมราคาสําหรับส่วนประกอบของรายการ PPE แต่ละส่วนแยกจากการเมืKอส่ วนประกอบนั]นมีต้นทุนทีมO ี นัยสํ าคัญเมืKอเทียบกับต้นทุนทัXงหมดของสิ นทรัพย์นX นั 68 ค่ าเสืO อมราคา ▰ กิจการต้องคิดค่าเสืKอมราคาสําหรับส่วนประกอบของรายการ PPE แต่ละส่วนแยกจากการเมืKอส่วนประกอบนัXนมีตน้ ทุนทีKมี นัยสําคัญเมืKอเทียบกับต้นทุนทัXงหมดของสิ นทรัพย์นX นั 69 จํานวนและระยะเวลาทีคO ดิ ค่ าเสืO อมราคา กิจการต้องทบทวนมูลค่าคงเหลือและอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ และวิธคี ดิ ค่าเสือ6 มราคา อย่างน้อยทุกสิน= รอบบัญชี หากมีการเปลีย6 นแปลงถือเป็ นการเปลีย6 นแปลงประมาณการบัญชี ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที / 8 เรือ/ ง นโยบายการบัญชี การเปลีย/ นแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด กิจการจะเริม6 ต้นคิดค่าเสือ6 มราคาเมือ6 สินทรัพย์นนั = พร้อมใช้งาน และกิจการต้องหยุดคิดค่าเสือ6 มราคาเมือ6 กิจการตัดรายการสินทรัพย์นนั = หรือจัดประเภท สินทรัพย์นนั = เป็ นสินทรัพย์ถอื ไว้เพือ6 ขาย กิจการต้องเลือกใช้วธิ ใี นการคิดค่าเสือ6 มราคาให้สะท้อนรูปแบบของประโยชน์ทไ6ี ด้จากสินทรัพย์นนั = เช่น วิธเี ส้นตรง วิธยี อดคงเหลือลดลง หรือวิธจี าํ นวนผลผลิต 71 วิธีคดิ ค่ าเสืO อมราคา วิธีเส้ นตรง ค่าเสือ2 มราคาคงที2 วิธียอดคงเหลือลดลง ค่าเสือ2 มราคาลดลง 😉 ค่าเสือ2 มราคาขึ Lนอยูก่ บั วิธีจํานวนผลผลิต ประโยชน์หรื อผลผลิตที2คาด ว่าจะได้ รับจากสินทรัพย์ 72 จํานวนและระยะเวลาทีคO ดิ ค่ าเสืO อมราคา กิจการไม่สามารถหยุดคิดค่าเสือ6 มราคาเมือ6 ไม่มกี ารใช้งานสินทรัพย์ หรือปลดจากการใช้งานประจํา เว้นแต่สนิ ทรัพย์นนั = ได้คดิ ค่าเสือ6 มราคาหมดแล้ว (เหลือมูลค่าซาก) ตามปกติทด6ี นิ จะมีอายุการใช้ประโยชน์ทไ6ี ม่จาํ กัด จึงไม่จาํ เป็ นต้องมีการคิดค่าเสือ6 มราคา ในบางกรณีทด6ี นิ อาจมีอายุการใช้ประโยชน์ทจ6ี าํ กัด จึงต้องมีการคิดค่าเสือ6 มราคาทีส6 ะท้อนให้เห็นถึงประโยชน์ทไ6ี ด้รบั จากทีด6 นิ เช่น เหมืองแร่ทท6ี าํ บนผิวดิน หรือพืน= ทีส6 าํ หรับทิง= ขยะ การเพิม6 ขึน= ของมูลค่าทีด6 นิ ทีเ6 ป็ นทีต6 งั = ของอาคารไม่มผี ลกระทบต่อการคิดค่าเสือ6 มราคาของอาคาร 73 กิจการซื]อเครืO องคอมพิวเตอร์ ในวันทีO 1 ธันวาคม 25x1 คอมพิวเตอร์ อยู่ในสภาพพร้ อมใช้ งาน และกิจการนํา คอมพิวเตอร์ มาใช้ งานในวันทีO 1 กุมภาพันธ์ 25x2 ? กิจการควรเริOมคิดค่ าเสืO อมราคาในวันไหน 74 4 การด้ อยค่ า 75 การด้ อยค่ า ▰ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที6 YZ (ปรั บปรุ ง [\Z]) เรื6 อง การด้ อยค่ าของสินทรั พย์ ราคาตามบัญ ชี ข องสิ น ทรั พ ย์ กิ จ การต้ อ งบัน ทึ ก ลดราคา นันL สูง กว่ า มูล ค่ า ที2 ค าดว่ า จะได้ รั บ คื น ตามบั ญ ชี ข องสิ น ทรั พ ย์ ใ ห้ เท่ า กั บ หากพบว่าสินทรัพย์อาจเกิดการด้ อยค่า มูลค่าที2คาดว่าจะได้ รับคืนส่วนที2ลดลง กิจการต้ องประมาณมูลค่าที2คาดว่าจะ ก็คือ การขาดทุนจากการด้ อยค่า ได้ รับคืนของสินทรัพย์นนั L 76 แนวคิดเกียO วกับการด้ อยค่ า ราคาขายสุ ทธิ NSP มูลค่าจากการใช้ (FV - ต้นทุนในการจําหน่าย) VIU เลือกมูลค่า ทีKสูงกว่า มูลค่าตามบัญชี (BV) มูลค่าทีKคาดว่าจะได้รับคืน (RA) BV > RA ไม่ ใช่ ใช่ ไม่ดอ้ ยค่า ด้อยค่า 5 การตัดรายการ 78 การตัดรายการ กิจการต้ องตัดรายการมูลค่าตามบัญชีของรายการที2ดนิ อาคารและอุปกรณ์ออก จากบัญชีเมื2อ q กิจการจําหน่ายสินทรัพย์ q กิจการคาดว่าจะไม่ได้ รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใช้ สินทรัพย์ q กิจการต้ องไม่จดั ประเภทผลกําไรที2เกิดขึ Lนจากการตัดรายการเป็ นรายได้ หลัก 79 การตัดรายการ กิจการต้ องรั บรู้ กาํ ไรหรื อขาดทุนจากการเลิกใช้ / จําหน่ าย ในกําไรหรื อขาดทุนของงวด กําไร/ขาดทุนจาก จํานวนเงินที6 มูลค่ าตามบัญชี การเลิกใช้ /จําหน่ าย ได้ รับ 80 ส่ วนประกอบทีถO ูกเปลียO นแทน q ภายใต้ เงื2อนไขการรับรู้รายการหากกิจการรับรู้ต้นทุนในการเปลีย2 นแทน ส่วนประกอบของสินทรัพย์เป็ นส่วนหนึง2 ของมูลค่าตามบัญชี q กิจการต้ องตัดมูลค่าตามบัญชีของส่วนประกอบที2ถกู เปลีย2 นแทน q หากกิจการไม่สามารถกําหนดมูลค่าตามบัญชีของส่วนประกอบที2ถกู เปลีย2 น แทนได้ ในทางปฏิบตั ิ กิจการอาจใช้ ต้นทุนในการเปลีย2 นแทนเป็ นตัวบ่งชี Lถึง ต้ นทุนของส่วนประกอบที2ถกู เปลีย2 นแทนในขณะที2กิจการได้ มาหรื อก่อสร้ าง ส่วนประกอบที2ถกู เปลีย2 นแทนนันL 81 บริษทั A ได้ ทาํ การปรับปรุงห้ องทํางานของผู้บริหาร จ่ ายเงินไป 500,000 บาท คาดว่ าจะใช้ งาน 5 ปี - รายจ่ ายดังกล่ าวควรบันทึกบัญชีอย่ างไร ? - ถ้ าหากกิจการเคยจ่ ายค่ าปรับปรุงห้ องทํางานไปแล้ ว 300,000 บาท และ ได้ ตดั บัญชีไปแล้ ว 200,000 บาท กิจการควรบันทึกบัญชีอย่ างไร 82 จ่ายเงินค่าปรับปรุงควรบันทึกเป็ น PPE หรือ คชจ Dr.ส่วนปรับปรุง/ค่าใช้จา่ ย 5 แสน Cr.เงิน 5 แสน BV เหลือ 1 แสน ตัดส่วนเก่าได้? Dr. ค่าปรับปรุงเดิม 1 Cr. ส่วนปรับปรุง BV 1 ? 83 6 การเปิ ดเผยข้ อมูล 84 การเปิ ดเผยข้ อมูล กิจการต้องเปิ ดเผยรายการต่อไปนีXในงบการเงิน o เกณฑ์การวัดมูลค่าทีKใช้กาํ หนดมูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสืK อมราคาสะสมของสิ นทรัพย์ o วิธีการคิดค่าเสืK อมราคาทีKใช้ o อายุการให้ประโยชน์หรื ออัตราค่าเสืK อมราคาทีKใช้ o มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสืK อมราคาสะสมและผลขาดทุนจากการด้อยค่าสะสม ของสิ นทรัพย์และค่า เสืK อมราคาสะสม ณ วันต้นงวดและสิX นงวด o รายการกระทบยอดของมูลค่าตามบัญชีระหว่างวันต้นงวดถึงวันสิX นงวด o ข้อจํากัดในกรรมสิ ทธิlของทรัพย์สิน o จํานวนภาระผูกพันตามสัญญาทีKเกีKยวกับทรัพย์สิน 85 THANKS! Any questions? You can find me at Facebook : Amtaudit 86 ตัวอย่าง1 บ.ซือ= ทีด6 นิ 4 ล้านบาท เสียค่าปรับพืน= ที6 80,000 บาท ระหว่างรอใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร จึงทําเป็ นทีจ6 อดรถ เสียค่า ทําทางเข้า 300,000 บาทโดยจะใช้เป็ นทางเข้าออกอาคารในภายหลัง และมีรายได้จากค่าทีจ6 อดรถ 200,000 บาท กิจการสามารถรับรูร้ ายการใดเป็ นต้นทุนของทีด6 นิ และรับรูร้ ายจ่ายใดเข้ากําไรขาดทุน กิจการจะบันทึกรายได้ รายจ่ายอย่างไร 87 กิจการกูเ้ งินเพือ6 ซือ= เครือ6 งจักรใหม่มลู ค่า 2 ล้านบาท เสียดอกเบีย= ร้อยละ 5 ต่อปี โดยต้องจ่าย ค่าจ้างวิศวกรติดตัง= 50,000 บาทต่อเดือน ใช้เวลา1เดือนในการติดตัง= เสียค่าอบรม พนักงานสําหรับการใช้เครือ6 งจักร 10,000 บาท และเงินเดือนพนักงานประจําฝ่ ายจัดซือ= จัดหาของบริษทั 25,000 บาทกิจารจะสามารถรับรูม้ ลู ค่าเครือ6 งจักรเครือ6 งนี=เท่ากับเท่าใด รายจ่ายทีไ6 ม่ได้บนั ทึกเป็ นราคาทุนเพราะอะไร ควรบันทึกบัญชีอย่างไร 88 ค่าก่อสร้างอาคาร 10 ล้านบาท ค่าติดตัง= อุปกรณ์ลดมลพิษทางอากาศตามข้อบังคับเกีย6 วกับ สิง6 แวดล้อม 1ล้านบาท ค่าออกแบบและคุมงานก่อสร้าง 3 แสน ค่าตกแต่งโรงงานสําหรับวัน เปิ ดพิธี 20,000 บาท ค่าโฆษณาเปิ ดตัว 100,000 บาท กิจการจะรับรูม้ ลู ค่าสินทรัพย์ รายการนี=เท่ากับเท่าใด 89