Politics (Intro PolSci) Lecture Notes PDF

Document Details

SelectiveTimpani9220

Uploaded by SelectiveTimpani9220

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ธวัชชัย ป้องศรี

Tags

political science political theory political systems introductory political science

Summary

This document provides an overview of political science concepts and theories, including the nature of political power, the role of government, and different forms of political organization. It also addresses political ideologies and relationships between individuals and groups within societies.

Full Transcript

POLITICS บรรยายโดย อ.ธวัชชัย ป้องศรี 1 สาขาวิชาการเมืองการปกครอง วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1. ความหมายของ “การเมือง” ที่ผูกติดกับระบบการเมืองและ/หรือรัฐ สิง่ ที่มีคุณค่าทางสังคมมีได้...

POLITICS บรรยายโดย อ.ธวัชชัย ป้องศรี 1 สาขาวิชาการเมืองการปกครอง วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1. ความหมายของ “การเมือง” ที่ผูกติดกับระบบการเมืองและ/หรือรัฐ สิง่ ที่มีคุณค่าทางสังคมมีได้ หลายอย่าง เช่น อานาจ ความมัง่ คัง่ ความรอบรู ้ ความยุติธรรม ฯลฯ เป็ นเรือ่ งของการก่อ การจัดสรรสิง่ ที่มีคุณค่าหรือ ร่างสร้างและแบ่งปั น ทรัพยากร โดยมีอานาจที่เป็ น อานาจภายในระบบ เป็ นความสัมพันธ์ของ การเมืองหรือภายใน ที่ยอมรับกัน มนุษย์ในระบบ การเมือง รัฐ – คู่กบั (authority)มาทาให้เกิด government การปฏิบตั ิตาม ระบบการเมืองมีเป้าหมายใน การบรรลุเป้าหมายร่วมกัน ของสังคม - จัดสรร ทรัพยากรและสิง่ ที่มีคุณค่า 2 ร่วมกันในสังคม ธวัชชัย ป้ องศรี สังคมประกอบด้วยระบบย่อยต่างๆที่รวมกันเป็ นระบบสังคม ระบบเศรษฐกิจเกีย่ วข้องกับการจัดสรรทรัพยากรโดยเกีย่ วข้อง กับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั ทรัพยากรในเรือ่ งของการ ผลิต การบริโภค การขนส่ง และการกระจายตัวของทรัพยากร ต่างๆ ระบบการเมืองเกีย่ วข้องกับการจัดสรรทรัพยากรโดยเป็ น ความสัมพันธ์ของมนุษย์ดวั ยกันเองในเรือ่ งของการตกลงหรือ ตัดสินใจร่วมกันว่าใครจะได้ทรัพยากรหรือสิง่ ที่มีคุณค่าใน สังคมในจานวนเท่าใด มีวิธีในการส่งมอบทรัพยากรเหล่านัน้ อย่างไร และทรัพยากรเหล่านัน้ จะถึงมือผูท้ ี่สมควรจะได้รบั เมื่อไหร่ 3 ธวัชชัย ป้ องศรี 2. ความหมายของ “การเมือง” ที่ผูกติดกับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในมิติของชนชัน้ ทางเศรษฐกิจและสังคม ประวัติศาสตร์ของ มนุษยชาติเป็ น ประวัติศาสตร์ของ ความขัดแย้งและการ ต่อสูท้ างชนชัน้ การเมืองเป็ น ทุกสังคมจะมี กิจกรรมของ ปฏิบตั ิการทางชนชัน้ ประเภท ชนชัน้ ที่เป็ นผู ้ การต่อสูท้ างชน หนึง่ ที่เกีย่ วข้องกับการรักษาหรือ ครอบงากับชน ชัน้ ระหว่างชน การเปลีย่ นแปลงดุลยภาพของ ชัน้ ที่ถูก ชัน้ ที่มีอานาจ พลังทางชนชัน้ ต่างๆที่เข้ามาต่อสู ้ ครอบงา - ชน ครอบงาทาง กันในพื้นที่ของรัฐแต่ละรูปแบบ ชัน้ ผูก้ ดขีก่ บั ชน เศรษฐกิจกับชน ชัน้ ผูถ้ ูกกดขี่ ชัน้ ที่ถูกครอบงา รัฐเป็ นพื้นที่ของการ ต่อสูท้ างการเมือง 4 ธวัชชัย ป้ องศรี 3. ความหมายของ “การเมือง” ในเชิงมานุษยวิทยา (ANTHROPOLOGY) ระบบต่างๆก็จะมี ความเกีย่ วข้องกับ ทรัพยากรซึง่ เป็ นที่ ต้องการของมนุษย์อยู่ เสมอ - ความร่วมมือ และความขัดแย้ง ที่ใดที่มีสงั คม มนุษย์กจ็ ะเข้าไป เกีย่ วข้องกับระบบ ต่างๆ เป็ นกิจกรรมทุกอย่างของ มนุษย์ท่ีเกี่ยวข้องกับความ ร่วมมือและความขัดแย้ง ซึง่ เกิดขึ้นในที่ใดก็ได้ที่มี ประเด็นของทรัพยากรเข้า มาเกี่ยวข้อง 5 ธวัชชัย ป้ องศรี 4. ความหมายของ “การเมือง” ในเชิงสังคมวิทยาความรู ้ (SOCIOLOGY OF KNOWLEDGE) 6 ธวัชชัย ป้ องศรี 5. ความหมายของ “การเมือง” ทีผูกติดกับประชาสังคมสมัยใหม่ (MODERN CIVIL SOCIETY) เป็ นกิจกรรม ใช้ในการ ของอารยชน ประนีประนอม หรือเสรีชน และแบ่งปั น ผลประโยชน์ ภายในหน่วย การปกครอง หนึ่งๆ Politics 7 ธวัชชัย ป้ องศรี ขอบเขตหรือพื้นที่ของชีวิตทางสังคมที่ซง่ึ ความเห็นสาธารณะสามารถก่อตัวขึ้นมาได้ พื้นที่ทางกายภาพ + พื้นที่เสมือน + พลเมืองเข้าถึงได้โดยเสรี พื้นที่สาธารณะ เกีย่ วข้องกับกิจกรรมต่างๆอันหลากหลาย พื้นที่สาธารณะก่อตัวขึ้นจากชุมชนสาธารณะ เริม่ จากการการพบปะพูดคุยสนทนากันแบบ เป็ นส่วนตัว ไม่ได้เป็ นไปเพือ่ ธุรกิจหรือการประกอบอาชีพส่วนตัว ไม่เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน ลักษณะของพื้นที่ ภาครั ฐและประชาชนตามที่กาหนดไว้ในกฎหมาย สาธารณะ เกีย่ วข้องกับผลประโยชน์ทว่ั ไป ปราศจากการบังคับ รับประกันการพบประโดยเสรี สามารถ แสดงออกอย่างเสรี พื้นที่สาธารณะของผูค้ นที่พบปะ พูดคุย ถกเถียงกันในเรือ่ งที่เกีย่ วข้องกับการเมือง ความเห็นสาธารณะรวมถึงการวิพากษ์วิจารณ์และการเฝ้ าระวังการใช้อานาจของหน่วยงาน พื้นที่สาธารณะ ภาครัฐภายใต้ความเป็ นสาธารณะทัง้ ที่ไม่เป็ นทางการและที่เป็ นทางการ เช่น การเลือกตัง้ ทางการเมือง เป็ นต้น 8 ธวัชชัย ป้ องศรี จุดร่วมของ Politics Power Relation Power = Unequal Relationship 9 ธวัชชัย ป้ องศรี เอกสารอ้างอิง ชลธิศ ธีระฐิต.ิ “Politics/ การเมือง.” ใน คำและควำมคิดในรัฐศำสตร์ร่วมสมัย เล่ม 2, บก. ม.ร.ว.พฤทธิสาณ ชุมพล และเอก ตัง้ ทรัพย์วฒั นา, 278-283. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551. ธวัชชัย ป้ องศรี 10 THE END 11 ธวัชชัย ป้ องศรี

Use Quizgecko on...
Browser
Browser