🎧 New: AI-Generated Podcasts Turn your study notes into engaging audio conversations. Learn more

แนวคิด หลักการ กฎหมาย และพรบ. PDF

Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

Summary

This document provides an overview of the basic principles, laws, and regulations related to primary healthcare for professional nurses in Thailand. It covers concepts like primary care units, emergency care, and basic treatments.

Full Transcript

แนวคิด หลักการ กฏหมายและพรบ.ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาโรคเบือ้ งต้นสาหรับพยาบาลวิชาชีพ จากแนวคิดการปฎิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2543 เพื่อให้ประชาชนมีสขุ ภาพที่ดีทงั้ กาย ใจ สังคมและจิต วิญญาณ บนแนวคิดสุขภาพเป็ นสิทธิขนั้ พืน้ ฐานของประชาชนชาวไทยทุกคน ตามพระราชบัญญัติสขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 แนว...

แนวคิด หลักการ กฏหมายและพรบ.ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาโรคเบือ้ งต้นสาหรับพยาบาลวิชาชีพ จากแนวคิดการปฎิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2543 เพื่อให้ประชาชนมีสขุ ภาพที่ดีทงั้ กาย ใจ สังคมและจิต วิญญาณ บนแนวคิดสุขภาพเป็ นสิทธิขนั้ พืน้ ฐานของประชาชนชาวไทยทุกคน ตามพระราชบัญญัติสขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 แนวคิดการพัฒนาสถานีอนามัยเป็ นหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ(Primary care Unit : PCU) เปลี่ยนเป็ น รพ.สต. สภาการพยาบาล จัดทาประกาศมาตรฐานการพยาบาลและผดุงครรภ์ในระดับปฐมภูมิ ให้มีภารกิจด้านการ ประเมินภาวะสุขภาพ การรักษาโรคเบือ้ งต้น การปฐมพยาบาล การรับและส่งต่อ การสอนให้คาแนะนาให้กบั บุคคล ครอบครัวและชุมชนในปี พ.ศ. 2548 ล่าสุดสภาการพยาบาลออกข้อบังคับสภาการพยาบาลว่าด้วยข่อจากัดและเงื่อนไข ในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2564 ได้แก่ การกาหนดความหมาย “การรักษาโรคเบือ้ งต้น” หมายความว่า กระบวนการประเมินภาวะสุขภาพทัง้ การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การวินิ จฉัย แยกโรค การรักษาโรคและการบาดเจ็บ การป้องกันโรค รวมถึงการปฐมพยาบาล เพื่อการแก้ปัญหา ความเจ็บป่ วย บรรเทา ความรุนแรงหรืออาการของโรค เพื่อให้ผปู้ ่ วยพ้นภาวะการเจ็บป่ วยหรือภาวะวิกฤต “การเจ็บป่ วยฉุกเฉิน” หมายความว่า การได้รบ ั บาดเจ็บหรือการเจ็บป่ วยกะทันหัน ซึ่งเป็ นภยันตรายต่อการดารงชีวิตหรือ การทางานของอวัยวะสาคัญ จาเป็ นต้องได้รบั การประเมิน การจัดการ และการบาบัดรักษาอย่างทันท่วงที ต้องดาเนินการ ช่วยเหลือและการดูแลรักษาทันที และให้หมายความ รวมถึงการปฐมพยาบาล การปฏิบตั ิและการเคลื่อนย้ายผูป้ ่ วยฉุกเฉิน และวิกฤต ตัง้ แต่จุดเกิดเหตุ หรือจุดแรกพบผูป้ ่ วย จนกระทั่งผูป้ ่ วยได้รบั การรักษาที่ถกู วิธีจากผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม เพื่อป้องกันการเสียชีวิตหรืออาการรุนแรงขึน้ จากการบาดเจ็บหรืออาการป่ วยนัน้ “การเจ็บป่ วยวิกฤต” หมายความว่า การเจ็บป่ วยที่มีความรุนแรงถึงหรือที่มีผลต่อชีวิต หรือการทางานของอวัยวะสาคัญถึง ขัน้ ที่อาจทาให้ผปู้ ่ วยถึงแก่ชีวิตหรือพิการได้ “การปฐมพยาบาล” หมายความว่า การให้ความช่วยเหลือแก่ผท ู้ ี่บาดเจ็บหรือเจ็บป่ วย โดยดูแลเพื่อบรรเทาอาการหรือ ป้องกันมิให้ภาวะนัน้ เลวลง หรือเพื่อส่งเสริมการฟื ้ นหายก่อนได้รบั การช่วยเหลือจากผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม “การสร้างเสริมภูมิคม ุ้ กันโรค” หมายความว่า กระบวนการที่ทาให้ร่างกายสร้าง หรือเกิดภูมิคมุ้ กันหรือมีภูมิตา้ นทานต่อ โรคที่ตอ้ งการโดยการให้วคั ซีน ข้อ ๕ ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาล ชัน้ หนึ่ง ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชัน้ หนึ่ ง กระทาการ พยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล ๕.๑ การกระทาต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล การตรวจประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและ การบาดเจ็บ การควบคุมการแพร่กระจายโรค การปฐมพยาบาล การบาบัดโรคเบือ้ งต้น และการฟื ้ นฟูสขุ ภาพ ทัง้ รายทั่วไป รายที่ย่งุ ยาก ซับซ้อน หรือเป็ นการเจ็บป่ วยฉุกเฉิน หรือวิกฤต ๕.๒ การสอน การแนะนา การให้คาปรึกษาและการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย การวางแผนการดูแลต่อเนื่อง และการเสริมสร้างพลังอานาจในการดูแลตนเองของประชาชน ๕.๓ การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน การควบคุม และ การแก้ปัญหาความเจ็บป่ วย ๕.๔ การ ปฏิบตั ิการพยาบาลตามแผนการพยาบาลและ/หรือแผนการรักษาของผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม การใช้เครื่องมือพิเศษ การติดตามผล รวมทัง้ การประสานทีมสุขภาพ ในการจัดบริการ ให้เป็ นไปตามมาตรฐานการพยาบาลที่สภาการพยาบาล ประกาศกาหนด ๕.๕ การให้การพยาบาลที่บา้ นและการส่งเสริมความสามารถของบุคคล ครอบครัว และชุมชน เพื่อใช้ชีวิตอย่างปกติสขุ หรือสามารถจัดการวิถีชีวิตให้อยู่กบั ความเจ็บป่ วยและมีคณ ุ ภาพชีวิตที่ดีตามศักยภาพ สาหรับเรื่องการให้ยา ให้อยู่ภายใต้เงื่อนไข ดังนี้ ๑ ห้ามให้ยา หรือสารละลายในช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง หรือช่องไขสันหลัง หรือ สายสวนทางหลอดเลือดดาส่วนกลาง (Peripherally Inserted Central Catheter) และช่องทางอื่น ตามที่สภาการพยาบาลประกาศกาหนด ๒ ห้ามให้ยา หรือสารละลาย หรือสารที่เกี่ยวข้องกับรังสีวินิจฉัย และยาอื่น ตามที่สภาการพยาบาลประกาศกาหนด ข้อ ๙ ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาล ชัน้ หนึ่ง ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชัน้ หนึ่ง กระทาการ พยาบาลโดยการทาหัตถการตามขอบเขตที่กาหนด ดังนี้ ๙.๑ การทาแผล การตกแต่งบาดแผล การเย็บแผลขนาดลึกไม่ เกินชัน้ เนือ้ เยื่อไขมันใต้ผิวหนัง (subcutaneous tissue) และไม่อยู่ในตาแหน่งซึ่งเป็ นอันตรายต่ออวัยวะสาคัญของ ร่างกาย โดยใช้ยาระงับความรูส้ ึกเฉพาะที่ หรือการตัดไหมในตาแหน่งที่ไม่เป็ นอันตราย การดูแลรักษาบาดแผลไหม้ แผล นา้ ร้อนลวก หรือสารเคมี ไม่เกินระดับ ๒ ของแผลไหม้ ๙.๒ การผ่าตัดเอาสิ่งแปลกปลอม การผ่าฝี การผ่าตัดตาปลา การ เลาะก้อนใต้ผิวหนัง ในบริเวณที่อยู่ในตาแหน่งซึ่งไม่เป็ นอันตรายต่ออวัยวะที่สาคัญของร่างกาย โดยใช้ยาระงับความรูส้ ึก ทางผิวหนังหรือฉีดยาชาเฉพาะที่ ในการเอาสิ่งแปลกปลอมออกจากอวัยวะ ๙.๓ การถอดเล็บ การจีห้ ดู หรือจีต้ าปลา โดย ใช้ยาระงับความรูส้ ึกทางผิวหนังหรือฉีดยาชาเฉพาะที่ ๙.๔ การให้ออกซิเจน ๙.๕ การให้สารนา้ ทางหลอดเลือดดา ใน ผูป้ ่ วยที่มีภาวะวิกฤต ภาวะสูญเสียสมดุล ของสารนา้ ในร่างกาย ผูป้ ่ วยที่มีความเสี่ยงต่อภาวะช็อค การปฐมพยาบาล หรือ ตามแผนการรักษาของผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม ๙.๖ การให้ยา ทางปาก ทางผิวหนัง ทางหลอดเลือ ดดา หรือช่องทางอื่น ๆ ตามแผนการรักษาของผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือตามที่สภาการพยาบาลประกาศกาหนด ๙.๗ การให้เลือด (Blood Transfusion) ตามแผนการรักษาของผูป้ ระกอบวิชาชีพ เวชกรรม ๙.๘ การเปิ ดทางเดินหายใจให้โล่งด้วยการดูด เสมหะ การเคาะปอด ๙.๙ การช่วยฟื ้ นคืนชีพ (Cardio pulmonary resuscitation) เพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤติ ของผูป้ ่ วย ๙.๑๐ การเช็ดตา ล้างตา (Eye irrigation) หยอดตา ป้ายตา ปิ ดตา หรือการล้างจมูก ๙.๑๑ การสอดใส่สายยางลงไปใน กระเพาะอาหาร (Nasogastric tube) เพื่อให้อาหาร ให้ยา หรือล้างกระเพาะอาหารในรายที่กินสารพิษ หรือตามแผนการ รักษาของผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม ๙.๑๒ การสวนปั สสาวะ หรือการเปลี่ยนสายสวนปั สสาวะ ในรายที่ไม่มีความผิดปกติ ของระบบทางเดินปั สสาวะ ๙.๑๓ การสวนทางทวารหนัก ในรายที่ไม่มีขอ้ บ่งชีอ้ นั ตราย ๙.๑๔ การดาม หรือการใส่เฝื อก ชั่วคราว ๙.๑๕ การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ๙.๑๖ การเจาะเก็บตัวอย่างเลือดจากหลอดเลือดดาส่วนปลายหรือปลาย นิว้ หรือสารคัดหลั่ง เพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ ตามข้อบังคับหรือประกาศที่สภาการพยาบาลประกาศกาหนด ๙.๑๗ หัตถการอื่น ๆ ตามที่สภาการพยาบาลประกาศกาหนด ข้อ ๑๐ ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาล ชัน้ หนึ่ง ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชัน้ หนึ่ง ให้กระทาการ ประกอบวิชาชีพการพยาบาลตามข้อกาหนดของสภาการพยาบาลในการรักษาโรคเบือ้ งต้นและการให้ภูมิคมุ้ กันโรค ดังนี้ ๑๐.๑ ไข้ตัวร้อน ๑๐.๒ ไข้และมีผื่นหรือจุด ๑๐.๓ ไข้จับสั่น ๑๐.๔ ไอ ๑๐.๕ ปวดศีรษะ๑๐.๖ ปวดเมื่อย ๑๐.๗ ปวดหลัง ๑๐.๘ ปวดเอว ๑๐.๙ ปวดท้อง ๑๐.๑๐ ท้องผูก ๑๐.๑๑ ท้องเดิน ๑๐.๑๒ คลื่นไส้อาเจียน ๑๐.๑๓ การอักเสบต่าง ๆ ๑๐.๑๔ โลหิตจาง ๑๐.๑๕ ดีซ่าน ๑๐.๑๖ โรคขาดสารอาหาร ๑๐.๑๗ อาหารเป็ นพิษ ๑๐.๑๘ โรคพยาธิล าไส้ ๑๐.๑๙ โรคบิด ๑๐.๒๐ โรคไข้หวัด ๑๐.๒๑ โรคหัด ๑๐.๒๒ โรคสุกใส ๑๐.๒๓ โรคคางทูม ๑๐.๒๔ โรคไอกรน ๑๐.๒๕ โรคผิวหนัง เหน็บชา ๑๐.๒๖ ปวดฟัน ๑๐.๒๗ เหงือกอักเสบ ๑๐.๒๘ เจ็บตา๑๐.๒๙ เจ็บหู ๑๐.๓๐ โรคติดต่อตามประกาศกระทรวง สาธารณสุข ๑๐.๓๑ ภาวะแท้งคุกคามหรือหลังแท้งแล้ว ๑๐.๓๒ การให้ภูมิคมุ้ กันโรคแก่บุคคลทั่วไป หญิงมีครรภ์ หญิง หลังคลอด ทารกและเด็ก ๑๐.๓๓ ความเจ็บป่ วยอื่น ๆ ตามที่สภาการพยาบาลประกาศกาหนด ข้อ ๑๒ ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาล ชัน้ หนึ่ง ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชัน้ หนึ่ง ต้องกระทาการ รักษาโรคเบือ้ งต้นตามข้อกาหนดของสภาการพยาบาลในการรักษาโรคเบือ้ งต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรคโดย ๑๒.๑ ตรวจวินิจฉัยและบาบัดรักษาโรคตามมาตรฐานของการประกอบวิชาชีพการพยาบาล ที่สภาการพยาบาลประกาศ กาหนด ๑๒.๒ ให้ส่งผูป้ ่ วยไปรับการบาบัดรักษาจากผูป้ ระกอบวิชาชีพอื่น เมื่อปรากฏ ตรวจพบ หรือพิจารณาแล้วเห็นว่า อาการไม่บรรเทา อาการรุนแรงเพิ่มขึน้ มีโรคหรือภาวะแทรกซ้อน เป็ นโรคติดต่อ ที่ตอ้ งแจ้งความตามกฎหมายว่าด้วย โรคติดต่อ หรือมีเหตุอนั ควรอื่น ๆ เกี่ยวกับการบาบัดรักษา ข้อ ๑๓ ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาล ชัน้ หนึ่ง ผูป้ ระกอบ วิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ ชัน้ หนึ่ง ถ้าจาเป็ นต้องใช้ยาให้ใช้ยาได้ตามคู่มือการใช้ยาที่สภาการพยาบาล ประกาศกาหนด ข้อ ๑๔ ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาล ชัน้ หนึ่ง ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์ ชัน้ หนึ่ง ในการให้ภูมิคมุ้ กันโรค ต้องปฏิบตั ิตามแนวทางการให้ภูมิคมุ้ กันโรค ที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด ข้อ ๑๕ ต้องมี บันทึกรายงานเกี่ยวกับประวัติของผูป้ ่ วย หรือผูร้ บั บริการ อาการ และ การเจ็บป่ วย โรค การพยาบาล การให้การรักษา หรือ การให้บริการ วันเวลาในการให้บริการ ชื่อผูป้ ระกอบวิชาชีพ ตามความเป็ นจริงตามแบบของสภาการพยาบาล เก็บบันทึก และรายงาน ไว้เป็ นหลักฐานเป็ นเวลา ๕ ปี สาหรับการวางแผนครอบครัว ให้บริการดังนี้ ๑. การให้บริการวางแผนครอบครัวแบบใช้ยาหรือใช้อปุ กรณ์ ๑.๑.ยาเม็ด คุมกาเนิด (Oral contraceptive pills) ๑.๒ ยาฉีดคุมกาเนิด (DMPA ) ๑..๓ ถุงยางอนามัย ๑..๔ วงแหวนคุมกาเนิด ๑..๕ แผ่นแปะคุมกาเนิด/ยาคุมกาเนิดชนิดแผ่นแปะผิวหนัง ๑..๖ การฝังและถอดยาคุมกาเนิด (Nor Plant ) ๑..๗ อื่น ๆ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ผูป้ ระกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชัน้ หนึ่ง ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชัน้ หนึ่ง สามารถทาการคัด กรองมารดาทารก ๑. การทา Pap smear ๒. การประเมินภาวะสุขภาพ ความผิดปกติและความพิการของทารก ประกาศสภาการพยาบาล เรื่อง กาหนดรายการยาและสารวินิจฉัย สาหรับพยาบาลวิชาชีพ และพยาบาลเวชปฏิบตั ิในการ รักษาโรคเบือ้ งต้น พ.ศ. ๒๕๖๕ ให้นิยาม ดังนี้ “พยาบาลวิชาชีพ ” หมายความว่า ผูป ้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาล ชัน้ หนึ่ง หรือผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์ ชัน้ หนึ่ง “พยาบาลเวชปฏิบต ั ิ” หมายความว่า ผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาล ชัน้ หนึ่ง ผูป้ ระกอบ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุง ครรภ์ ชัน้ หนึ่ง ซึ่งผ่านการอบรมหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบตั ิท่วั ไป (การรักษาโรคเบือ้ งต้น) หรือสาเร็จ การศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลเวชปฏิบตั ิชุมชน จากสถาบันที่สภาการพยาบาลให้การ รับรองและได้ขนึ ้ ทะเบียน ไว้กบั สภาการพยาบาล ข้อ ๒ พยาบาลวิชาชีพในการรักษาโรคเบือ้ งต้นและการให้ภูมิคมุ้ กันโรค ตามที่กาหนดไว้ ในข้อ ๑๐ ตามข้อบังคับสภาการ พยาบาล ว่าด้วยข้อจากัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ หากจาเป็ นต้อง ใช้ยา นอกจากที่ได้กาหนดไว้ในแผนการรักษา ของผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมแล้ว ให้ใช้ยาตามที่กาหนด

Use Quizgecko on...
Browser
Browser