Kingdom Animalia PDF
Document Details
Uploaded by NobleBixbite
Tags
Summary
This document provides a detailed overview of the Kingdom Animalia. It explains key characteristics such as multicellularity, heterotrophy, and different types of symmetry found in various animal groups. Includes information on major phyla and their distinguishing features.
Full Transcript
อาณาจักรสัตว์ Kingdom Animalia อาณาจักรสัตว์ A phylogenetic tree proposed by Carl Woese et al. in 1990 จัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสัตว์ ลักษณะสาคัญ ❖ มีหลายเซลล์ (Multicellular organism) ❖ Heterotroph ❖ ไม่มีผนังเซ...
อาณาจักรสัตว์ Kingdom Animalia อาณาจักรสัตว์ A phylogenetic tree proposed by Carl Woese et al. in 1990 จัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสัตว์ ลักษณะสาคัญ ❖ มีหลายเซลล์ (Multicellular organism) ❖ Heterotroph ❖ ไม่มีผนังเซลล์และคลอโรฟิลล์ ❖ เคลื่อนที่ได้ ลักษณะที่สาคัญที่ใช้ในจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ 1. ลักษณะสมมาตร 2. จานวนเนื้อเยื่อ มี 2 ชั้น หรือ 3 ชั้น ชั้นของเนื้อเยื่อเหล่านี้ คือ ectoderm, mesoderm และ endoderm 3. ลักษณะช่องว่างในลาตัว (coelom) สัตว์บางชนิดไม่มีช่องว่างในลาตัว (acoelomate) บางชนิดมีช่องว่างชนิดไม่แท้จริง (pseudocoelomate) บางชนิดมีช่องว่างภายในลาตัวอย่างแท้จริง (coelomate) 4. ลักษณะของร่างกายที่เป็นชุดติดต่อกันตามแกนยาวของลาตัวที่เรียกว่าข้อ หรือปล้อง (Metamerism หรือ segmentation) 5. กระบวนการเจริญ ในระยะตัวอ่อน รวมทั้งการเกิดอวัยวะต่างๆ (Development) 6. ทางเดินอาหาร (Digestive tract) ทางเดินอาหารสมบูรณ์ และไม่ สมบูรณ์ 7. ระบบไหลเวียนเลือด ลักษณะที่สาคัญที่ใช้ในจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ ลักษณะสมมาตร ไม่มีสมมาตร (asymmetry) : ไม่มีซีกใดของร่างกาย เหมือนกันเลย เช่น ฟองน้า. สมมาตรรัศมี (radial symmetry) : เป็นสมมาตรใน ลักษณะที่ส่วนของร่างกายเหมือนกันหลายซีก เช่น ปะการัง กัลปังหา แมงกะพรุน ไฮดรา และเอนไคโน เดอร์มาตา (ระยะตัวเต็มวัย) สมมาตรแบบครึ่งซีก (Bilateral symmetry): ลักษณะที่ ร่างกายเหมือนกันเพียง 2 ซีก (ซ้ายและขวา) เช่น แอนีลิดา มอลลัสกา อาร์โทรโพดา อาณาจักรสัตว์ มีประมาณ 1,200,000 ชนิด 97% เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (Invertebrates) 3% เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrates) โปรโตสโตเมีย (Protostomes) = ช่องปากเกิดก่อน ช่องทวารหนักในขณะที่เป็นตัวอ่อน ดิวเทอโรสโตเมีย (Deuterostomes) = เป็นสัตว์พวกที่ช่อง ปากเกิดภายหลังช่องทวารหนัก Porus (รู) เป็น สัตว์ที่มีรูพรุนทั่วทั้งตัว เรียกทั่วไปว่า ฟองน้า (sponges) Parazoa คือ สัตว์ที่ไม่มีการจัดเรียงเซลล์เป็นเนื้อเยื่อ เป็นสัตว์ที่มีวิวัฒนาการต่า สมมาตรแบบรัศมี หรือไม่มีสมมาตร มีช่องน้าเข้าและช่องน้าออก ไม่มีปล้องลาตัว ไม่มีระบบหมุนเวียน ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย และระบบประสาท มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศ (Budding และ Gemmule) พบมากในน้าเค็ม บางชนิดพบได้ในน้าจืด ลักษณะทั่วไป ไม่มีการจัดเรียงเซลล์เป็นเนื้อเยื่อ ผนังของฟองน้าประกอบด้วยเซลล์ 2 ชั้น รูพรุนเรียกว่า Ostium ช่องว่างกลางตัวฟองน้าเรียกว่า Spongocoel เซลล์รอบ Spongocoel มีลักษณะคล้าย ปลอกคอ และมี flagellum เรียกว่า Choanocyte หรือ Collar cell รูเปิดด้านบนเรียกว่า Osculum Water Ostium Spongocoel Osculum เซลล์ที่เรียกว่า Amoebocytes ทาหน้าร่วมกับ Choanocyte ในด้านการกินอาหาร มีโครงร่างแข็งค้าจุน ที่เรียกว่า Spicule และ Spongin สามารถนามาใช้เป็นเกณฑ์ในการจัด หมวดหมู่ได้ Spicule หรือ ขวาก เป็นโครงสร้างแข็ง พบทั้งที่มีแฉกเดียวและหลายแฉก Spongin มีลักษณะเป็นเส้นใยโปรตีน มีลักษณะอ่อนนุ่ม Spicules Spongin มีโครงร่างแข็งค้าจุน ที่เรียกว่า Spicule และ Spongin สามารถนามาใช้เป็นเกณฑ์ในการจัด หมวดหมู่ได้ 1. Class Calcarea มีโครงร่างเป็นสารพวกหินปูน (calcium carbonate) เช่น ฟองน้าหินปูน 2. Class Hexactinellida ฟองน้าที่มีสาร silica (แก้วหรือทราย) เป็นส่วนประกอบ มีลักษณะเป็นหกแฉก เช่น ฟองน้าแก้ว spicules 3. Class Demospongiae มีโครงร่างเป็นโปรตีนอ่อนนิ่ม เรียกว่า sponging fiber เป็นส่วนประกอบ บางชนิดอาจมี spicule ที่ ประกอบด้วย silica อยู่ด้วย เช่น ฟองน้าถูตัว 3. Class Demospongiae ฟองน้าหูช้าง (Elephant’s ear sponge, Cliona patera (Hardwicke)) บริเวณเกาะล้าน เมืองพัทยา ฟองน้าหูช้างนี้ผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศเข้าใจว่าน่าจะ สูญพันธุ์ไปแล้ว เนื่องจากไม่มีผู้รายงานการค้นพบมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2455 หรือเกือบร้อยปี มาแล้วและเป็นฟองน้าที่หายากมากชนิดหนึ่งของโลก ลักษณะทั่วไป ❖ มีรูปทรงแบบ radial symmetry หรือ bilateral symmetry ❖ ร่างกายประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น ชั้นนอก คือ epidermis ชั้นใน คือ gastrodermis ซึ่งมีเนื้อเยื่อบางๆ ที่เรียกว่า mesoglea กั้นระหว่างชั้นทั้งสอง ❖ ช่องปากล้อมรอบด้วย tentacle และเชื่อมติดกับช่องลาตัว ❖ มีเซลล์เข็มพิษที่เรียกว่าไนโดไซด์ (Cnidocyte) อยู่ที่ผิวพบมากที่ tentacle เพื่อ ใช้ในการป้องกันตัว และ ฆ่าเหยื่อ ❖ ปะการัง กัลปังหา ดอกไม้ทะเล แมงกะพรุน ไฮดรา แมงกะพรุนน้าจืด ลักษณะทั่วไป https://youtu.be/SS_HYY97ehw ลักษณะทั่วไป เซลล์เข็มพิษที่เรียกว่าไนโดไซต์ (Cnidocyte) ลักษณะทั่วไป ❖ ไม่มีระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบหายใจ และระบบขับถ่ายทาหน้าที่โดยเฉพาะ ❖ มีระบบประสาทร่างแห (Nerve net) แผ่กระจายทั่วตัว และหนาแน่นบริเวณหนวด ❖ การสืบพันธุ์เป็นแบบอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศ ❖ มีโครงสร้างเค้าจุลร่างกาย (Hydrostatic skeleton (Mesoglea)) มีหน้าที่ค้าจุล ร่างกาย และทาให้เกิดรูปร่าง ❖ ทางเดินอาหารเป็นแบบถุงไม่สมบูรณ์ (Gastrovascular cavity) ลักษณะทั่วไป มีจานวนสมาชิก ประมาณ 9,000 ชนิด พบทัง้ น้าเค็มและน้าจืด (แมงกระพรุนน้าจืด) ปะการัง กัลปังหา ดอกไม้ทะเล แมงกะพรุน ไฮดรา แมงกะพรุนน้าจืด ❖ การสืบพันธุ์ มีทั้งแบบอาศัยเพศ และแบบไม่อาศัยเพศ https://www.youtube.com/watch?v=o9FRzUsT7-c ❖ มีรูปร่างเป็น 2 แบบ (dimorphism) คือ - รูปร่างแบบต้นไม้เรียกว่า โพลิป (Polyp) เกาะอยู่กับที่ หันช่องปากขึ้นด้านบน - รูปร่างคล้ายร่ม หรือกระดิ่งคว่า หันปากลงด้านล่าง เรียกว่า เมดูซา (Medusa) ❖ แบ่งออกได้เป็น 4 classes โดยใช้ลักษณะความโดดเด่นของรูปร่างในแต่ละระยะ 1. Class Hydrozoa ส่วนใหญ่มีรูปร่างเป็น Polyp บางช่วงเป็น Medusa อยู่รวมกัน เป็นกลุ่ม (Colony) หรืออยู่แบบเดี่ยวๆ เช่น โอบีเลีย แมงกระพรุนน้าจืด แมงกระพรุน ลอย และไฮดรา แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส ไฮดรา โอบีเลีย Physalia physalis ❖ แบ่งออกได้เป็น 4 classes โดยใช้ลักษณะความโดดเด่นของรูปร่างในแต่ละระยะ 1. Class Hydrozoa ส่วนใหญ่มีรูปร่างเป็น Polyp บางช่วงเป็น Medusa อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม (Colony) หรืออยู่แบบเดี่ยวๆ เช่น โอบีเลีย แมงกระพรุนน้าจืด แมงกระพรุนลอย และไฮดรา แมงกะพรุนอมตะ ของ Turritopsis dohrnii (the immortal jellyfish) https://therealimmortaljellyfish.com/ Science Illustrator: Meghan Rocktopus ❖ แบ่งออกได้เป็น 4 classes โดยใช้ลักษณะความโดดเด่นของรูปร่างในแต่ละระยะ 2. Class Scyphozoa ส่วนใหญ่มีรูปร่างเป็น Medusa (รูปร่างคล้ายร่ม ว่ายน้าได้อิสระ) เช่น แมงกระพรุนไฟ แมงกระพรุนจาน: พบในทะเล ❖ แบ่งออกได้เป็น 4 classes โดยใช้ลักษณะความโดดเด่นของรูปร่างในแต่ละระยะ 3. Class Cubozoa เช่น แมงกะพรุนถัง, แมงกระพรุงกล่อง (Box Jellyfish), sea wasps (ต่อทะเล) แมงกระพรุงกล่อง ❖ แบ่งออกได้เป็น 4 classes โดยใช้ลักษณะความโดดเด่นของรูปร่างในแต่ละระยะ 4. Class Anthozoa เช่น ปะการัง กัลปังหา ปะการังอ่อน ดอกไม้ทะเล มีรูปร่างเป็น polyp มีจานวนสมาชิกมากที่สุด พบในทะเล ปะการังอ่อน กัลปังหา ดอกไม้ทะเล ลักษณะทั่วไป ❖ หนอนตัวแบน ❖ มีรูปร่างแบบ bilateral symmetry ❖ ลาตัวแบนบางและนุ่ม ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น (เป็นกลุ่มแรก) แต่ยังไม่มี ช่องว่างลาตัว (acoelomate) ❖ ทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์ มีปาก ไม่มีทวารหนัก หลอดอาหารแยกเป็นกิ่ง บางชนิด อาจไม่มีหลอดอาหาร ❖ มีโครงสร้างขับถ่ายเริ่มแรก เรียกว่า เฟรมเซลล์ (flame cell) ❖ เป็น protostomia คือ อวัยวะ ปาก เกิดขึ้นก่อน ทวารหนัก ❖ ตัวอ่อนไม่ลอกคราบ (trochophore) ลักษณะทั่วไป ❖ ไม่มีระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบหายใจ ❖ ระบบประสาทประกอบด้วยปมประสาท 1 คู่ หรือมีประสาทรูปวงแหวน อยู่ทาง ด้านหน้าจากวงแหวนมีเส้นประสาทตามยาว 1-3 คู่ และมีเส้นประสาทตามขวาง เชื่อมต่อกับเส้นประสาทยาว ❖ การสืบพันธุ์พบทั้งไม่อาศัยเพศ เช่น การงอกใหม่ (regeneration) การหักเป็นท่อน (fragmentation) และ ระบบสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศโดยมีสองเพศอยู่ในตัว เดียวกัน จัดเป็นกะเทย (hermaphrodite) มีการผสมภายใน ไข่เล็กมาก และมี เปลือกหุ้ม ❖ พลานาเรีย (Dugesia), หนอนหัวขวาน, พยาธิใบไม้ ลักษณะทั่วไป พลานาเรีย ระบบขับถ่าย https://youtu.be/m12xsf5g3Bo?t=258 https://www.youtube.com/watch?v=m12xsf5g3Bo&t=2s 1. Class Turbellaria ❖ ส่วนใหญ่ดารงชีพเป็นอิสระ ❖ ลาตัวแบน ไม่เป็นปล้อง ❖ ผิวลาตัวมีขน (cilia) สามารถคืบคลานได้ อาจมีเข็มใช้ป้องกันตัว ❖ ปากอยู่ทางด้านล่างของตัว ❖ ส่วนหัวมักมีอวัยวะรับแสง 1-3 คู่ ❖ สืบพันธุ์โดยวิธี regeneration หรืออาศัยเพศ ❖ ซึ่งมีสมาชิกประมาณ 4,500 ชนิด เช่น พลานาเรีย ซึ่งดารงชีพโดยหากินอย่างอิสระ 1. Class Turbellaria ❖ พลานาเรีย (Dugesia), หนอนหัวขวาน (Bipalium) polyclad หนอนหัวขวาน 2. Class Trematoda ❖ รูปร่างคล้ายใบไม้ ลาตัวไม่แบ่งเป็นปล้อง ❖ ผิวมี cuticle หนา ❖ ปากอยู่ทางด้านหน้า ❖ มักมีอวัยวะยึดเกาะ 1-2 อัน ❖ ลาไส้เป็นสองแฉก ❖ ดารงชีวิตเป็นปรสิต มี host หลากหลาย ❖ พยาธิใบไม้ในลาใส้ (Fasciolopsis buski) พยาธิใบไม้ตับ (Opisthorchis viverrini) พยาธิใบไม้เลือด (Schistosoma japonicum) 2. Class Trematoda 3. Class Cestoda ❖ ผิวภายนอกมีลักษณะเป็นปล้อง มี cuticle หนา ❖ ไม่มีทางเดินอาหาร และอวัยวะรับความรู้สึก ❖ ส่วนหัวมีอวัยวะยึดเกาะ ❖ แต่ละปล้องมีอวัยวะสืบพันธุ์ทั้งสองเพศ ❖ ส่วนใหญ่มีโฮสต์สลับ ❖ มีประมาณ 3,400 ชนิด ซึ่งดารงชีพโดยเป็นปรสิต ❖ พยาธิตืดหมู (Taenia solium) พยาธิตืดวัว (Taenia saginata) พยาธิตืดปลา (Dibothriocephalus latus) 3. Class Cestoda 3. Class Cestoda พยาธิตืดหมู, พยาธิเม็ดสาคู หนอนตัวกลม มีเนื้อเยื่อสามชั้น สมมาตรแบบ Bilateral symmetry มีช่องว่างในลาตัวแบบเทียม (Pseudocoelomate animal) ลาตัวกลม ยาว แหลมหัวแหลมท้าย ไม่มีข้อปล้อง ผิวลาตัวเรียบ มีสารคิวทิเคิลหนาหุ้มตัว ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด ทางเดินอาหารสมบูรณ์ (เป็นกลุม่ แรก) ประกอบด้วยปากและทวารหนัก การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ระบบประสาท ประกอบด้วยปมประสาทรูปวงแหวน (Nerve ring) อยู่รอบคอหอย และมีแขนง ประสาทแยกออกทางด้านท้อง และทางด้านหลัง มีระบบกล้ามเนื้อยาวตลอดลาตัว (Longitudinal muscle) ไม่มีอวัยวะหายใจ พบทั้งอิสระ และเป็นปรสิต มีการลอกคลาบเพื่อเปลี่ยนระยะตัวอ่อน เกิดปากก่อนทวารหนัก พยาธิเส้นด้าย ไส้เดือนฝอย พยาธิตัวจี๊ด ลักษณะทั่วไป ❖หนอนปล้อง (segmented worm) ❖ Annual = วงแหวน ❖ ลาตัวแบ่งเป็นปล้องชัดเจน ❖ มีขนแข็ง ซึ่งประกอบด้วยสาร Chitin และรยางค์ที่เรียกว่า Setae และ parapodia (ช่วย เคลื่อนที่ได้) ❖ ที่ผิวมี cuticle ปกคลุม ❖ มีช่องว่างลาตัวอย่างแท้จริง ❖ หลอดอาหารเป็นหลอดตรงสมบูรณ์ แบ่งเป็นส่วนๆ แต่ละส่วนทาหน้าที่ต่างกัน ❖ มี nephridia เป็นอวัยวะขับถ่าย ❖ ระบบหมุนเวียนโลหิตเป็นแบบปิด มีกลไกลฉีดโลหิตไปทั่วร่างกาย ❖ ระบบประสาทมีปมสมอง 1 คู่ เชื่อมไปยังเส้นประสาทส่วนกลางตัวด้านล่าง มีเส้นประสาท ฝอยไปเลี้ยงอวัยวะทุกปล้อง ❖ อวัยวะรับความรู้สึกมีเซลล์สัมผัส ❖ การหายใจโดยการซึมของก๊าซผ่านผิวหนัง หรือใช้เหงือกหายใจ ❖ เป็นกระเทย เมื่อจะผสมพันธุ์จะต้องผสมข้ามตัว (cross fertilization) เนื่องจากเซลล์ สืบพันธุ์สุกไม่พร้อมกัน บางชนิดสืบพันธุแ์ บบไม่อาศัยเพศ โดยการแตกหน่อ ❖ สร้างถุงฟักไข่ (cocoon) ตัวอ่อนจะฟักในถุงและเจริญออกมาก ❖ พบทั้งบนบกและในน้า Setae Setae (ช่วย เคลื่อนที่ได้) มีเส้นประสาทฝอยไปเลี้ยงอวัยวะทุกปล้อง nephridia เป็นอวัยวะขับถ่าย ❖ สร้างถุงฟักไข่ (cocoon) ตัวอ่อนจะฟักในถุงและเจริญออกมาก ❖ สร้างถุงฟักไข่ (cocoon) ตัวอ่อนจะฟักในถุงและเจริญออกมาก สร้างถุงฟักไข่ (cocoon) 1. Class Polychaeta = สัตว์ที่มขี นหรือเดือยจานวนมาก เช่น แม่เพรียง (Nereis sp.) (ไส้เดือน ทะเล) เจริญอยู่ในทะเล มี setae จานวนมากอยู่บน พาราพอเดีย (parapodia) ทาหน้าที่ช่วยในการเคลื่อนนที่ (คล้ายใบพาย) แม่เพรียง บุ้งทะเล 2. Class Oligochaeta ลักษณะมีขนหรือเดือยจานวนไม่มากนัก ไม่มี parapodia มีแค่ setae เช่น ไส้เดือนดิน (Pheretima peguana) หนอนแดง 3. Class Hirudinea มีปุ่มดูดอยู่ทั้งด้านหน้าและด้านท้าย ชื่อ class มาจากชื่อสารที่สัตว์กลุม่ นี้สร้าง hirudin เป็นสารป้องการแข็งตัวของเลือด เช่น ปลิง (Hirudo medicinalis) ทากด ูดเลือด สัตว์ลาตัวนิ่ม มักมีเปลือกหุ้มซึ่งประกอบด้วยสารพวกหินปูน ไม่มีปล้อง สมมาตรแบบครึ่งซีก ระบบทางเดินอาหารเป็นแบบสมบูรณ์ คือ มีปากและทวารหนัก มีช่องตัวที่แท้จริง (coelom) หัวใจ 3 ห้อง ตัวอ่อนไม่ลอกคราบ มีกล้ามเนื้อเท้าด้านล่างที่แข็งแรงใช้สาหรับเคลื่อนทีห่ รือขุดอาหาร ระบบหมุนเวียนโลหิตเป็นระบบเปิด (open circulation system) ยกเว้นหมึกที่มี ระบบหมุนเวียนระบบปิด ระบบขับถ่ายมีไต 1 ถึง 6 คู่ หรือ เนฟริเดียม (nephridium) ปากมี radula ใช้ขูดกินอาหาร หายใจโดยใช้เหงือก (ในน้า) หรือ ปอด แมนเทิล หรือผิวลาตัว ระบบประสาทมีปมประสาท 3 คู่ และมีเส้นประสาทเชือ่ โยงระหว่างปม บางชนิดมี อวัยวะรับสัมผัส เกิดปากก่อนทวารหนัก ระบบสืบพันธุ์ มีทั้งแบบแยกเพศและกระเทย บางชนิดอาจเปลีย่ นเพศได้ (protandrous hermaphrodite) ส่วนใหญ่ออกเป็นไข่ ร่างกาย หัวส่วนหัวและเท้าเจริญดีและเชื่อมติดกัน อวัยวะภายในจะถูกห่อหุ้มด้วยเนื้อเยื่อ ทาให้อวัยวะรวมกันลักษณะเป็นก้อน มี mantle ใช้ในการสร้างเปลือก อาศัยอยู่ในน้าทั้งน้าจืดและน้าทะเล มีอาศัยอยู่บนบกบ้าง มีเยื่อ mantle ใช้ในการสร้างเปลือก ปากมี radula ใช้ขูดกินอาหาร แบ่งออกได้เป็น 7 classes โดยอาศัยลักษณะของเปลือกและเท้าเป็นหลัก 1. Class Aplacophora รูปร่างคล้ายหนอน ไม่มีเปลือก แต่มี mantle อยู่ด้านท้อง แบ่งออกได้เป็น 7 classes โดยอาศัยลักษณะของเปลือกและเท้าเป็นหลัก 2. Class Monoplacophora มีเปลือก 1 ชิ้นรูปร่างคล้ายฝาชี เช่น หอยฝาละมี (Neopilina sp.) - มีกล้ามเนื้อหดเท้า แต่ส่วนหัวไม่เจริญ ไม่มีหนวด ไม่มีตา ❖ เดิมเชื่อว่าสัตว์ชนิดนี้สูญพันธุ์หมดแล้ว ต่อมาพบสัตว์ชนิดนี้จากดินที่ตักมาจากทะเลทาง ตะวันตกของคอสตาริกาเมื่อ พ.ศ. 2495 แบ่งออกได้เป็น 7 classes โดยอาศัยลักษณะของเปลือกและเท้าเป็นหลัก 3. Class Polyplacophora - ลิ่นทะเล (Chiton) หรือ หอยแปดเกล็ด (ไม่ใช่ ลิ้นทะเล เป็นส่วนที่เป็นของแข็งอยู่ภายในลาตัวของสัตว์จาพวกหมึก) - ลาตัววงรี ด้านหลังโค้งนูน - มีเปลือก 8 แผ่น แบ่งออกได้เป็น 7 classes โดยอาศัยลักษณะของเปลือกและเท้าเป็นหลัก 4. Class Gastropoda - หอยฝาเดียว และทาก (ไม่ใชกลุ่มทากดูดเลือดนะ) เช่น หอยโข่งทะเล หอยเต้าปูน ทาก ทากเปลือก หอยเชอรี่ หอย เป๋าฮื้อ - มีหนวด มีตา - มีเปลือก 1 ชิ้น บิดเป็นเกลียว - บางชนิดไม่มีเปลือก เช่น ทาก (slug) - บางชนิดมีฝาปิด-เปิด (operculum) หอยขม (operculum) slug แบ่งออกได้เป็น 7 classes โดยอาศัยลักษณะของเปลือกและเท้าเป็นหลัก 4. Gastropoda ❖ หอยเต้าปูน พิษของหอยเต้าปูนมีชื่อว่า โคโนทอกซิน (conotoxins) เป็นหนึ่งในพิษที่ร้ายแรงมาก มีประสิทธิภาพในการ ยับยั้งการปวดมากกว่า มอร์ฟีนถึง 1000 เท่า ทากร่ม Conus geographus ที่ รู้จักกันชื่อ หอยบุหรี่ แบ่งออกได้เป็น 7 classes โดยอาศัยลักษณะของเปลือกและเท้าเป็นหลัก 5. Pelecypoda (Bivalvia) หอย 2 ฝา เปลือกมี 2 ชิ้นประกบกัน กินอาหารด้วยการกรอง (filter feeding) ไม่มีหนวด ไม่มีตา ปากมีขนาดเล็กมาก เปลือกมีขนาดเท่าๆ กัน ยกเว้นหอยนางรม เช่น หอยแมลงผู้ หอยลาย หอยมือเสือ (มีขนาดใหญ่) หอยมุก 5. Pelecypoda (Bivalvia) 5. Pelecypoda (Bivalvia) หอยหลอด เพรียงเจาะไม้ แบ่งออกได้เป็น 7 classes โดยอาศัยลักษณะของเปลือกและเท้าเป็นหลัก 6. Class Scaphopoda หอยงาช้าง (ไม่ใช่หอยงวงช้าง) เปลือกมีลักษณะคล้ายงาช้าง แบ่งออกได้เป็น 7 classes โดยอาศัยลักษณะของเปลือกและเท้าเป็นหลัก 7. Class Cephalopoda หอยงวงช้าง (Nautilus) หมึก (Squid) หมึกยักษ์ (Octopus) มีระบบประสาท และตา ที่เจริญดี มีส่วนหัวขนาดใหญ่ ชัดเจน มีเม็ดสี (chromatophore) สามารถเปลี่ยนสีได้ เท้าเปลี่ยนไปเป็นหนวด หมึกมีหนวด 10 เส้น หมึกยักษ์มี 8 เส้น เปลือกพบได้ในหอยงวงช้าง หมึกกล้วยมี เพน (pen) เป็นโครงสร้างภายใน หมึกกระดองมีโครงสร้างหินปูนที่เรียกว่า ลิ้นทะเล (ลิ่นทะเล (Chiton) Class Polyplacophora) แบ่งออกได้เป็น 7 classes โดยอาศัยลักษณะของเปลือกและเท้าเป็นหลัก 7. Class Cephalopoda หอยงวงช้าง (Nautilus) หมึก (Squid) หมึกยักษ์ (Octopus) หมึกมีหนวด 10 เส้น หมึกยักษ์มี 8 เส้น หมึกกล้วยมี เพน (pen) เป็นโครงสร้างภายใน หมึกกระดองมีโครงสร้างหินปูนที่เรียกว่า ลิ้นทะเล (ลิ่นทะเล (Chiton) Class Polyplacophora) ลิ้นทะเล (พบในหมึกกระดอง) pen แบ่งออกได้เป็น 7 classes โดยอาศัยลักษณะของเปลือกและเท้าเป็นหลัก 7. Class Cephalopoda มี 9 สมองซึ่ง 1 สมองหลักทำหน้ำที่ควบคุมระบบ ประสำทและกำรตัดสินใจส่วนใหญ่ 8 สมองเล็กๆ ที่ ควบคุมหนวดแต่ละเส้น ตุ่มสัมผัสบนหนวดที่มีประสำท สัมผัสแยกกันโดยสิ้นเชิง หัวใจหลักมี 1 ดวง ทำหน้ำที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่ำงกำย ส่วนหัวใจอีก 2 ดวง ทำหน้ำที่สูบฉีดเลือดไปยังเหงือกใน กำรดูดซับ oxygen จำกน้ำเข้ำสู่ผิวกำย หัวใจของมันจะสูบฉีดเลือดที่เป็นสีเขียวออกน้ำเงิน เนื่องจำกทองแดงเป็นโมเลกุลในกำรจับออกซิเจน ต่ำง จำกคนที่ใช้เหล็กซึ่งทำให้เลือดของคนเป็นสีแดง 7. Class Cephalopoda หอยงวงช้าง Pen (กล้วย) ลิ้นทะเล (หมึกกระดอง) แบ่งออกได้เป็น 7 classes โดยอาศัยลักษณะของเปลือกและเท้าเป็นหลัก 7. Class Cephalopoda มี 9 สมองซึ่ง 1 สมองหลักทำหน้ำที่ควบคุมระบบ ประสำทและกำรตัดสินใจส่วนใหญ่ 8 สมองเล็กๆ ที่ ควบคุมหนวดแต่ละเส้น ตุ่มสัมผัสบนหนวดที่มีประสำท สัมผัสแยกกันโดยสิ้นเชิง หัวใจหลักมี 1 ดวง ทำหน้ำที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่ำงกำย ส่วนหัวใจอีก 2 ดวง ทำหน้ำที่สูบฉีดเลือดไปยังเหงือกใน กำรดูดซับ oxygen จำกน้ำเข้ำสู่ผิวกำย หัวใจของมันจะสูบฉีดเลือดที่เป็นสีเขียวออกน้ำเงิน เนื่องจำกทองแดงเป็นโมเลกุลในกำรจับออกซิเจน ต่ำง จำกคนที่ใช้เหล็กซึ่งทำให้เลือดของคนเป็นสีแดง สัตว์ขาข้อ หรือสัตว์ขาปล้อง สมมาตรครึ่งซีก (Bilateral symmetry) รยางค์ขาเป็นข้อต่อ ลาตัวเป็นข้อหรือปล้อง สามารถแบ่งออกเป็นส่วนหัว อกและท้อง หากส่วนหัวเชื่อมต่อกันเป็นเนื้อเดียวกับส่วนอกเรียกว่า cephalothorax เป็นสัตว์ที่มีโครงสร้างอยู่ภายนอก (exoskeleton) ซึ่งประกอบด้วยสาร chitin โครงสร้างนี้จะ สร้างจากผิวหนัง เมื่อโตขึ้นจะลอกคราบ (molting) ได้ มีจานวนชนิดมากที่สุดในอาณาจักรสัตว์ ประมาณกว่า 9 แสนชนิด คาดว่าอาจมีจานวนมากถึง 10 ล้านชนิด มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น และมีช่องตัวแบบแท้งจริง มีรยางค์ยื่นออกจากลาตัวเป็นคู่ ๆ มีการลอกคราบ (Molting) ทางเดินอาหารเป็นแบบสมบูรณ์ มีปากและทวารหนัก ระบบหมุนเวียนโลหิตเป็นระบบเปิด (Open circulatory system) มีระบบขับถ่ายเป็นลักษณะเฉพาะของกลุม่ ระบบประสาทมีปมประสาทที่หวั 1 คู่ และมีเส้นประสาททางด้านท้อง ทอดไปตามความยาวของ ลาตัว 1 คู่ มีอวัยวะสัมผัสเจริญดี ระบบหายใจมีโครงสร้างหลายแบบ เหงือก เหงือกแผง ปอดแผง ท่อลม (Trachea) ส่วนใหญ่แยกเพศ ปฏิสนธิภายใน ออกไข่ ตัวอ่อนมีหลายระยะ เพื่อเปลี่ยนแปลงเป็นตัวเต็มวัย หรือเป็นแบบ Parthenogenesis (การเพิ่มจานวนของสิ่งมีชีวิตโดยไข่ เจริญเป็นตัวอ่อนโดยไม่ต้องปฏิสนธิกับ สเปิร์ม) เช่น ผึ้ง มด เป็นต้น การสื่อสารมีทั้ง Hormone และ Pheromone บางชนิดอยู่ร่วมกันแบบสังคม พบได้ทั้งบนบก ในน้า อากาศ หรือในร่างกายสัตว์ ท่อลม (Trachae) 1. Subphylum Trilobita สูญพันธุ์ไปแล้ว ไทรโลไบต์” (หมายถึง “สามส่วน”) เชื่อกันว่า แมงดาทะเล วิวัฒนาการจากไทรโลไบต์ 2. Subphylum Chelicerata ไม่มีหนวด แบ่งเป็น 3 classes 2.1 Class Xiphosurida (Merostomata) เช่น แมงดาทะเล (Horseshoes cap) แมงดาหางเหลี่ยม (กินได้; แมงดาจาน) แมงดาหางกลม (มีพิษ; แมงดาถ้วย) 2. Subphylum Chelicerata ไม่มีหนวด 2.1 Class Xiphosurida (Merostomata) เช่น แมงดาทะเล (Horseshoes cap) แมงดาหางเหลี่ยม (กินได้; แมงดาจาน) แมงดาหางกลม (มีพิษ; แมงดาถ้วย) https://click4tanintharyi.com/?m=202208 2. Subphylum Chelicerata ไม่มีหนวด 2.2 Pycnogonida เช่น แมงมุมทะเล 2. Subphylum Chelicerata ไม่มีหนวด 2.3 Class Arachnida เช่น แมงมุม แมงป่อง แมงมุมกล้วย 3. Subphylum Crustacea มีหนวด 2 คู่ - ใช้เหงือกในการแลกเปลี่ยนก๊าซ - เช่น ไรนางฟ้า โคพีพอด เพรียงหิน เพรียงคอห่าน กุ้ง กั้ง ปู เพรียงหิน ไรนางฟ้า โคพีพอด 3. Subphylum Crustacea Class Crustacea แมงสาบทะเล 4. Subphylum Uniramia มีหนวดเพียง 1 คู่ แยกเพศ ปฏิสนธิภายใน ออกลูกเป็นไข่ แบ่งเป็น 3 classes 4. Subphylum Uniramia 4.1 Class Chilopoda ลาตัวแบนแต่ละปล้องมีรยางค์ 1 คู่ รยางค์เปลี่ยนไปเป็นเขี้ยว พิษในปล้องแรก เช่น ตะขาบ 4. Subphylum Uniramia 4.2 Class Diplopoda : แต่ละปล้องมีรยางค์ 2 คู่ โดยคู่แรกไม่มีรยางค์ เช่น กิ้งกือ กระสุนพระ อินทร์ 4. Subphylum Uniramia 4.3 Class Insecta : พวกแมลง มีจานวนมากที่สุดในอาณาจักรสัตว์ จานวนปล่องลดลง ขาต่อปล้องมีจานวนน้อยลง หรือไม่มี ร่างกายแบ่งเป็น 3 ส่วนชัดเจน คือ ส่วน หัว อก และท้อง รยางค์พบที่ส่วนของอก บางชนิดมีปีก บางชนิดไม่มี มีตาประกอบ (compound eyes) รับภาพและแสงได้ดี มีต่อมน้าลาย มี Metamorphosis (การเปลี่ยนแปลงรูปร่างในระยะตัวอ่อนจะมีรูปร่างที่แตกต่างกัน) เช่น แมลง และ ผีเสื้อ 4. Subphylum Uniramia 4.3 Class Insecta : 4. Subphylum Uniramia 4.3 Class Insecta : การเปลี่ยนแปลงรูปร่างในระยะตัวอ่อนจะมีรูปร่างทีแ่ ตกต่างกัน (Metamorphosis) เช่นใน แมลง ผีเสื้อ ดักแด้ 4. Subphylum Uniramia 4.3 Class Insecta : แมลงชีปะขาว 4. Subphylum Uniramia 4.3 Class Insecta : Echinos (หนาม) Derma (ผิวหนัง) สัตว์ผิวหนาม ตัวอ่อนมีสมมาตรแบบครึ่งซีก เมื่อตัวเต็มวัยมีสมมาตรแบบรัศมี เนื้อเยื่อ 3 ชั้น มีระบบท่อน้า (water vascular system) ช่วยในการเคลื่อนที่ ขับถ่าย การหายใจ มีช่องตัวกว้าง และมีเยื่อบุช่องตัว (peritoneum) อวัยวะที่ใช้ในการหายใจ คือ เหงือกที่ผิวหนัง ระบบประสาทเป็นวง มีแขนงแยกในแนวรัศมี ระบบหมุนเวียนโลหิต มีลักษณะลดลงไปอย่างมาก บางชนิดไม่มีเลย ทางเดินอาหารเป็นแบบสมบูรณ์ ยกเว้นสมาชิกใน Class Ophiuroidea ทางเดินอาหารจะไม่มีทวารหนัก เช่น ดาวเปราะ ส่วนใหญ่เคลื่อนที่โดยใช้เท้าท่อ (Tube feet) โดยการบีบหรือคลายตัวของ Ampulla ทาให้ tube feet ยืดและหดตัว ทาให้สมารถเคลื่อนที่ได้ มีเพศแยกกัน ส่วนหัวและท้ายตัวไม่ชัดเจน เกิดทวารหนักก่อนปาก สืบพันธ์ส่วนใหญ่แบบอาศัยเพศ เป็นสัตว์น้าเค็ม https://youtu.be/BnJ8preFDdA 1. Class Asteroidea เช่น ดาวทะเล 2. Class Ophiuroidea เช่น ดาวเปราะ 3. Class Echinoidea เช่น เม่นทะเล อีแปะทะเล 4. Class Holothuroidea เช่น ปลิงทะเล 5. Class Crinoidea เช่น พลับพลึงทะเล ดาวทะเล ดาวเปราะ หอยเม่น ปลิงทะเล พลับพลึงทะเล อีแปะทะเล 1. Class Asteroidea = ดาวทะเล มีรูปร่าง 5 แฉกยื่นออกมาจากกลางลาตัว (central disk) ทวารหนักและทางน้าเข้าด้านบน (madreporite) ปากอยู่ด้านล่างตรงข้ามกับทวารหนัก แต่ละแขนมีร่องกลางตามยาว ซึ่งมี tube feet เรียงอยู่เป็นแถว มีโครงสร้างค้าจุนภายใน (endoskeleton) และมีผิวบางขรุขระคลุม 2. Class Ophiuroidea = ดาวเปราะ มีรูปร่าง 5 แฉกยื่นออกมาจากกลาง ลาตัวชัดเจนกว่า Class Asteroidea ไม่มีร่องกลางตามยาวของแขน ไม่มีทวารหนัก 3. Class Echinoidea = เม่นทะเล ไม่มีแขนงยื่นออกมาจากกลางลาตัว ลาตัวกลมหรือรูปไข่ มีหนามแหลมที่สามารถเคลื่อนที่ได้ Tube feet เป็นแบบปุ่มดูด ปากอยู่ด้านล่างตรงข้ามกับทวารหนัก มีอวัยวะช่วยเคี้ยว (Aristotle’s lantern) 4. Class Holothuroidea = ปลิงทะเล ลาตัวยาว อ่อนนิ่ม ลาตัวงอได้ ไม่มีแขนงยื่นออกมาจากลาตัว Tube feet เป็นแบบปุ่มดูด หายใจโดยใช้ respiration tree 5. Class Crinoidea = ดาวขนนก พลับพลึงทะเล ลาตัวยาว อ่อนนิ่ม ส่วนที่ยึดเกาะคือปาก ส่วนบนของลาตัวมีก้านและมีแขนงย่อยเรียงตามยาว Tube feet อยู่ด้านเดียวกับปาก Class Crinoidea มีโนโตคอร์ด (notochord) อย่างน้อยในช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต การมีช่องเหงือก (pharyngeal gill slits) อย่างน้อยในช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต การมีระบบประสาทด้านหลัง (Dorsal hollow nerve cord) มีหางอยู่ทางส่วนท้ายของทวารหนัก Bilateral symmetry เส้นประสาทเป็นหลอดยาว ข้างหน้าเจริญเป็นสมอง เนื้อเยื่อ 3 ชั้น มีระบบอวัยวะที่แบ่งหน้าที่กันเป็นอย่างดี ระบบหายใจ ปอด และเหงือก ระบบขับถ่าย ไต เกิดทวารหนักก่อนปาก ระบบหมุนเวียนโลหิตเป็นระบบปิดโดยมีหัวใจ ทาหน้าที่สูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงร่างกาย ระบบทางเดินอาหารสมบูรณ์ ช่องว่างลาตัวแท้จริง มีระบบกระดูกภายใน เรียกว่า endoskeleton มีเพศแยกกัน พัฒนาสูงสุด สัตว์ใน Phylum Chordata ไม่ทุกชนิดที่มีกระดูกสันหลัง 1. Subphylum Urochordata เช่น เพรียงหัวหอม Notochord ค่อนไปทางหาง ตัวเต็มวัยจะเกาะอยู่กับที่ ทางเดินอาหารคล้ายรูปตัว U มีช่องเปิด 2 ช่องด้านบน 1. Subphylum Urochordata เช่น เพรียงหัวหอม Notochord ค่อนไปทางหาง ตัวเต็มวัยจะเกาะอยู่กับที่ ทางเดินอาหารคล้ายรูปตัว U มีช่องเปิด 2 ช่องด้านบน 2. Subphylum Cephalochordata เช่น Amphioxus 3. Subphylum Vertebrata กลุ่มที่พัฒนา notochord ไปเป็นกระดูกที่แข็งแรงมากยิ่งขึน้ Notocord ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในระยะตัวอ่อนเท่านัน้ และถูกแทนที่ด้วยกระดูก มีกระดูกสันหลัง กะโหลก มีรยางค์ 2 คู่ ระบบประสาทซับซ้อน มีเม็ดเลือดแดง แบ่งออกได้เป็น 2 super classes คือ 3.1 Super class Agnatha (ไม่มีขากรรไกร) 3.2 Super class Gnathostomata (มีขากรรไกร) 3. Subphylum Vertebrata 3.1 Class Cyclostomata ไม่มีขากรรไกร พวกปลาปากกลม เช่น Lamprey ลาตัวยาวคล้ายปลา ไหล ขอบบนของปากและลิ้นมีฟันเล็กๆ แหลมคม ลาตัวนิ่ม ไม่มีเกล็ด ไม่มีครีบคู่เหมือนปลา ทั่วไป เป็นสัตว์ที่มีโนโตคอร์ดปรากฏอยู่ตลอดแม้ในระยะตัวเต็มวัย มีช่องเหงือก 7 คู่ 3. Subphylum Vertebrata 3.2 Class Chondrichthyes ปลากระดูกอ่อน มีช่องเหงือกเห็นชัดเจนจากภายนอก มีครีบคู่ มีเกล็ดลักษณะคล้ายจานยื่นออกมา ไม่มีกระเพาะลม มีปากอยู่ด้านท้อง มีการปฏิสนธิภายใน เป็นสัตว์เลือดเย็น เช่น ปลากระเบน ปลาฉลาม และ ปลา โรนัน เป็นต้น 3. Subphylum Vertebrata 3.3 Class Osteichthyes ได้แก่ ปลากระดูกแข็ง (bony fish) มีแผ่นแก้มปิดช่องเหงือก มีเกล็ดบางๆ เรียงเหลื่อมกัน (placoid scale) กระดูกภายในเป็นกระดูกแข็ง มีกระเพาะลม ปากอยู่ปลายสุดทางหัว ส่วนใหญ่ปฏิสนธิภายนอกร่างกาย เป็นสัตว์เลือดเย็น มีหัวใจ 2 ห้อง มีต่อมเมือกจานวนมาก ได้แก่ ปลาช่อน ปลาดุก ปลาทู ปลาตะเพียน ฯลฯ ปลากระโทงแทง 3. Subphylum Vertebrata 3.4. Class Amphibia ได้แก่ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า มี 4 ขา มี 5 นิ้ว ปลายนิ้วไม่มีเล็บ ตัวอ่อนอยู่ในน้าหายใจด้วยเหงือก ตัวเต็มวัยอยู่บนบกหายใจด้วยปอด มีหัวใจ 3 ห้อง ออกไข่ในน้า ผิวหนังไม่มีเกล็ด ผิวหนังเปียกชื้น มีต่อม เมือก ผสมพันธุ์ภายนอก มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเพื่อการเจริญเติบโต เป็นสัตว์เลือดเย็น ได้แก่ คางคก เขียด อึ่งอ่าง ปาด กบ งูดิน ซาลาแมนเดอร์ 3. Subphylum Vertebrata 3.4. Class Amphibia ได้แก่ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า กบแก้ว (Glass Frog) มีถิ่นอำศัยในป่ำฝนในแถบ อเมริกำกลำง The Mashpi glassfrog (Hyalinobatrachium ผิวหนังชั้นล่ำงของมันโปร่งใสจนสำมำรถเห็นอวัยวะ mashpi), female. Image credit: Jaime Culebras. ภำยในรวมถึงหัวใจที่กำลังเต้น 3. Subphylum Vertebrata 3.4. Class Amphibia ได้แก่ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า https://sites.google.com/site/tornlove0123/ton-a-kob 3. Subphylum Vertebrata 3.5. Class Reptilia ได้แก่ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ในคลาสนี้เป็นสัตว์บก หรือวางไข่บนบก มี 4 ขา ปลายนิ้วมีเล็บ ผิวหนังมีเกล็ดแห้ง หายใจด้วยปอด มีอายุยืน มีหัวใจ 3-4 ห้อง เป็นสัตว์เลือดเย็น คือ เช่น เต่า จระเข้ ตุ๊กแก จิ้งเหลน จิ้งจก งู กิ้งก่า ฯลฯ 3. Subphylum Vertebrata 3.5. Class Reptilia ได้แก่ สัตว์เลื้อยคลาน 3. Subphylum Vertebrata 3.5. Class Reptilia ได้แก่ สัตว์เลื้อยคลาน https://sites.google.com/site/nguphisxantraythisudnilok/ 3. Subphylum Vertebrata 3.6. Class Aves ได้แก่ สัตว์ปีก เป็นสัตว์เลือดอุ่น ลาตัวมีขน (Feather) ปกคลุม ขามี 2 ข้าง นิ้วมีเล็บ ขาหน้าเปลี่ยนแปลงเป็นปีก กระดูกบางเป็นโพรง จึงมีน้าหนักตัวเบา เพเรกริน มีถุงลม แทรกไปตามช่องว่างของลาตัว และตามโพรง ซึ่งทาให้มีอากาศมากพอที่จะหมุนเวียนใช้หายใจเวลาบิน มีหัวใจ 4 ห้อง ไข่มีเปลือกแข็งหุ้ม มีปริมาณไข่แดงมาก ไม่มีกระเพาะปัสสาวะ ไม่มีต่อมเหงื่อ ไม่มีต่อมน้านม ปฏิสนธิภายใน ตัว เมียมีรังไข่ข้างเดียว เส้นประสาทสมองมี 12 คู่ นกประเภทต่างๆ ทัง้ ทีบ่ นิ ได้และบินไม่ได้ นกอีมู 3. Subphylum Vertebrata 3.7. Class Mammalia ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เรียก สัตว์พวกนี้ว่า แมมมอล (Mammal) มีต่อมน้านม สัตว์เลือดอุ่น มีขนเป็นเส้นๆ (Hair) คลุมตัว มี 4 ขา มีกระดูกคอ 7 ข้อ มีฟันฝังในขากรรไกร มีกล่องเสียง มี กระบังลม หายใจด้วยปอด หัวใจมี 4 ห้อง เม็ดเลือดแดงไม่มีนิวเคลียส ระบบประสาทพัฒนาดีสุด (สมองมีขนาดใหญ่) บางชนิดมีต่อมเหงื่อ ออกลูกเป็นตัว 3. Subphylum Vertebrata 3.7. Class Mammalia ลูกอ่อนเจริญภายในมดลูก สมองส่วนหน้าเจริญดี ได้แก่ ตุ่นปากเป็ด จิงโจ้ สัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนมอื่นๆ ที่ตัวอ่อนมีรก (Placenta) เช่น ลิงกัง ลิงแสม ลิงชิมแปนซี ชะนี เสือ แมว สุนัข สุกร สิงโต หมาใน หมี พังพอน โค กระบือ ช้าง ม้า มนุษย์ หนู ค้างคาว นางอาย ปลาวาฬ โลมา แมวน้า สิงโตทะเล ฯลฯ 3. Subphylum Vertebrata 3.7. Class Mammalia 3.7.1 Subclass Prototheria ไม่มีใบหู ไม่มีมดลูก ไม่มีหัวนม ต่อมน้านมกระจ่ายอยู่บริเวณหน้าอก ออกลูกเป็นไข่ เช่น ตุ่นปากเป็ด, ตัวกินมดหนาม 3. Subphylum Vertebrata 3.7. Class Mammalia 3.7.1 Subclass Theria มีหัวนม ออกลูกเป็นตัว แบ่งออกได้เป็น 2 Infraclass คือ 3. Subphylum Vertebrata 3.7. Class Mammalia 3.7.1 Subclass Theria 3.7.1.1 Infraclass Metatheria สัตว์ที่มีถุงหน้าท้อง เรียกทั่วไปว่า มาซูเปียล (Marsupial) เช่น จิงโจ้ โคอาลา พบได้ในแถบทวีป ออสเตรเลีย 3. Subphylum Vertebrata 3.7. Class Mammalia 3.7.1 Subclass Theria 3.7.1.1 Infraclass Metatheria สัตว์ที่มีถุงหน้าท้อง เรียกทั่วไปว่า มาซูเปียล (Marsupial) เช่น จิงโจ้ โคอาลา พบได้ในแถบทวีป ออสเตรเลีย 3. Subphylum Vertebrata 3.7. Class Mammalia 3.7.1 Subclass Theria 3.7.1.2 Infraclass Eutheria สัตว์ที่มีรก และ ไม่มีถุงหน้าท้อง