Perception, Learning, Memory, Thinking and Language PDF

Summary

This document provides a lecture on perception, learning, memory, thinking, and language. It includes various theories and concepts related to these areas.

Full Transcript

Perception, Learning, Memory, Thinking and Language Hathaichanok IMPHENG, Ph.D. Department of Physiology, Faculty of Medical science, Naresuan University Email: [email protected] Human Behavior @H.IM...

Perception, Learning, Memory, Thinking and Language Hathaichanok IMPHENG, Ph.D. Department of Physiology, Faculty of Medical science, Naresuan University Email: [email protected] Human Behavior @H.IMPHENG Objectives สามารถอธิบายความหมาย องค์ประกอบ และกลไกในการรับรู ้ เรี ยนรู ้ ความจา ความคิดและภาษาได้ สามารถบอกถึงปั จจัยที่ส่งผลต่อการรับรู ้ เรี ยนรู ้ ความจา ความคิดและภาษาได้ สามารถอธิบายความเชื่อมโยงของความคิดและภาษาได้ สามารถบอกวิธีพฒั นาการรับรู ้ เรี ยนรู ้ และความจาได้ Human Behavior @H.IMPHENG การรั บร้ ู (Perception) Human Behavior @H.IMPHENG การรั บร้ ู (Perception) กระบวนการแปลความหมายของสมอง ต่อการได้รับสัมผัสจากสิ่ งเร้าทั้งจาก ภายนอกและภายใน รวมถึงสิ่ งกระตุน้ ในจิตใจ โดยการรั บร้ ูต้องอาศัยการ เรี ยนร้ ู https://nantana20.blogspot.com/2015/09/week4-090958.html Human Behavior @H.IMPHENG กลไกการรั บร้ ู *** การรั บร้ ูต้องอาศัยการเรี ยนร้ ู*** https://www.braingymmer.com/en/blog/perception/ Human Behavior @H.IMPHENG กลไกการรั บร้ ู สิ่ งกระตุ้นภายนอก สิ่ งกระตุ้นภายใน อวัยวะสั มผัสภายนอก อวัยวะสั มผัสภายใน เปลีย่ นสิ่ งกระตุ้นเป็ นสั ญญาณประสาท กระแสประสาท สมองส่ วนธาลามัส Cerebral cortex การรับรู้ : แปลและตีความหมาย อาศัยความตื่นตัว สติ ตั้งใจ สั่ งให้ ร่างกายมีพฤติกรรม เรียนรู้ ภาษา อารมณ์ ตอบสนอง ความจา เปรียบเทียบการการรับรู้ อื่น ในบริบทและประสบการณ์ Human Behavior @H.IMPHENG กลไกการรั บร้ ู https://www.braingymmer.com/en/blog/perception/ Human Behavior @H.IMPHENG ประเภทของการรั บร้ ู การรับรู้ ทางวัตถุ การรับรู้ ทางสั งคม กระบวนการรับรู ้และแปล กระบวนการที่จะเรี ยนรู ้และ ความหมายจากสิ่ งกระตุน้ ที่ เข้าใจเพื่อนมนุษย์ โดยมีการนา มีลษั ณะทางกายภาพที่ชีดเจน ตัวเองเข้าไปสัมพันธ์กบั สิ่ งเร้าที่ สามารถวัดได้แน่นอน เช่น แสง เป็ นบุคคลอื่น มีสิ่งที่เป็ น อุณหภูมิ ความดันอากาศ คลื่น นามธรรมที่มีผลต่อการเรี ยนรู ้ เสี ยง กลิ่น เป็ นต้น เช่น ค่านิยม เจตคติ ความเชื่อ เป็ นต้น Human Behavior @H.IMPHENG การรั บร้ ูทางด้ านวัตถุ ธรรมชาติของการเรี ยนร้ ู การรั บร้ ูเป็ นทีเ่ ลือกสรร มีองค์ประกอบ 2 ประการคือ องค์ประกอบจากสิ่ งเร้า และองค์ประกอบจากบุคคล Human Behavior @H.IMPHENG การรั บร้ ูทางด้ านวัตถุ ธรรมชาติของการเรี ยนร้ ู การรั บร้ ูรูปร่ าง : ประเด็นสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการรับรู ้ คือ เรื่ องภาพและ พื้น เรื่ องของการจัดระเบียบ และการจาแนกแบบแผน การรั บร้ ูมีการจัดหมวดหม่ ู : ก่อนที่คนเราจะรับรู ้สิ่งเร้าใดนั้นจะมี กระบวนการจัดหมวดหมู่ของสิ่ งเร้านั้นก่อน เพื่อให้ง่ายต่อการรับรู ้ เรี ยนรู ้ และจดจา แต่การจัดหมวดหมู่มีโอกาศทาให้การรับรู ้ของแต่ละคนแตกต่าง กันไปตามแง่มุมที่จดั หมวดหมู่ Human Behavior @H.IMPHENG การรั บร้ ูทางด้ านวัตถุ ธรรมชาติของการเรี ยนร้ ู การรั บร้ ูรูปร่ าง : ภาพและพืน้ Human Behavior @H.IMPHENG การรั บร้ ูทางด้ านวัตถุ ธรรมชาติของการเรี ยนร้ ู การรั บร้ ูรูปร่ าง : ความต่ อเนื่อง การรั บร้ ูรูปร่ าง : ความเหมือน Human Behavior @H.IMPHENG การรั บร้ ูทางด้ านวัตถุ ธรรมชาติของการเรี ยนร้ ู การรั บร้ ูรูปร่ าง : สิ่ งลวงตาและโครงสร้ างลวง Human Behavior @H.IMPHENG การรั บร้ ูทางด้ านสังคม กระบวนการที่จะเรี ยนรู ้และเข้าใจ เพื่อนมนุษย์ โดยมีการนาตัวเองเข้า ไปสัมพันธ์กบั สิ่ งเร้ าที่เป็ นบุคคลอื่น มีสิ่งที่เป็ นนามธรรมที่มีผลต่อการ เรี ยนรู ้ เช่น **ค่ านิยม เจตคติ ความ เชื่ อ** เป็ นต้น ความรู ้เกี่ยวกับบทบาททางสังคม บรรทัดฐานและแผนผังที่อยูร่ อบๆ สถานการณ์ทางสังคมและ ปฏิสมั พันธ์มีผลต่อการรับรู ้ https://www.youtube.com/watch?v=48A9SU6_bQ8 Human Behavior @H.IMPHENG การรั บร้ ูทางด้ านสังคม เรี ยนรู ้เกี่ยวกับความรู ้สึกของผูอ้ ื่นและอารมณ์ ▪ ลักษณะทางกายภาพ ทางวาจาและอวัจนภาษา ▪ การแสดงออกทางสี หน้า น้ าเสี ยงท่าทางมือและตาแหน่ง ของร่ างกายหรื อการเคลื่อนไหว Example of Facial expression I Answer I Face) เบ้ ปากมองแรง (Unamused https://www.sanook.com/campus/1396245/ Human Behavior @H.IMPHENG Plus 0.25% การรั บร้ ูทางด้ านสังคม องค์ ประกอบหลักของการรั บร้ ู ทางสั งคม บุคคล – อิทธิพลทางกายภาพ สถาณการณ์ – บริ บทจากประสบการณ์ก่อนหน้านี้ การสั งเกต พฤติกรรม - การสื่ อสารอวัจนภาษา 1.ผูค้ นวิเคราะห์พฤติกรรมของผูอ้ ื่นก่อนโดยการระบุแหล่งที่มาภายในอัตโนมัติ การแสดงที่มา 2.แหล่งที่มาตามสถานการณ์ 1.ทฤษฎีรวบรวมข้อมูล บูรณาการ 2.บุคลิกภาพโดยปริ ยาย หลังจากสร้างและรวบรวมระบุที่มา บคุคคลจะสร้างการแสดงผลที่อยูภ่ ายใต้ การยืนยัน อคติยนื ยันและการคุกคามของคาทานายที่ตอบสนองตนเอง Human Behavior @H.IMPHENG การรั บร้ ูทางด้ านสังคม ความสามมารถในการรั บร้ ูของสั งคม เหตุผล 4 ข้อ ที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถของผูค้ นในฐานะ ผูร้ ับรู ้ทาง สังคม 1. ผูค้ นสามารถรับรู ้พฤติกรรมและปฏิสมั พันธ์ทางสังคมได้อย่างแม่นยา มากขึ้นเมื่อมีประวัติ มีประสบการณ์ กบั บุคคลอื่นมากขึ้น 2. สามารถคาดเดาได้อย่างครอบคลุมมากขึ้นว่าบุคคลจะปฏิบตั ิอย่างไร เมื่ออยูต่ ่อหน้าตน 3. ทักษะการรับรู ้ทางสังคมสามารถปรับปรังได้โดยการเรี ยนรู ้กฎของ ความน่าจะเป็ นและตรรกะ 4. สามารถอนุมานได้อย่างแม่นยามากขึ้นเกี่ยวกับผูอ้ ื่นเมื่อมีแรงจูงใจจาก ความกังวล การเปิ ดใจกว้างและความถูกต้อง Human Behavior @H.IMPHENG การเรี ยนร้ ู (Learning) การเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรของ พฤติกรรมซึ่ งเป็ นผลของการฝึ กหัด การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเนื่องมาจาก ประสบการณ์ การเรี ยนรู ้เป็ นกระบวนการสาคัญที่เกิดขึ้น ตลอดชีวิตของมนุษย์ เพื่อปรับตัวให้เข้ากับ สิ่ งแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี ต่างๆ เป็ นต้น Human Behavior @H.IMPHENG กลไกการเรี ยนร้ ู เกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม สิ่ งกระตุ้นภายนอก สิ่ งกระตุ้นภายใน อวัยวะสั มผัสภายนอก อวัยวะสั มผัสภายใน เปลีย่ นสิ่ งกระตุ้นเป็ นสั ญญาณประสาท กระแสประสาท สมองส่ วนธาลามัส Cerebral cortex การรับรู้ : แปลและตีความหมาย อาศัยความตื่นตัว สติ ตั้งใจ สั่ งให้ ร่างกายมีพฤติกรรม เรียนรู้ ภาษา อารมณ์ ตอบสนอง ความจา เปรียบเทียบการการรับรู้ อื่น ในบริบทและประสบการณ์ Human Behavior @H.IMPHENG ธรรมชาติของการเรี ยนร้ ู Stimulus Learning สิ่ งเร้า เกิดการเรี ยนรู ้ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม Sensation Response ประสาทรับสัมผัส ปฏิกิริยาการตอบสนอง Perception Concept การรับรู ้ ความคิดรวบยอด Human Behavior @H.IMPHENG กระบวนการเรี ยนร้ ู การบวนการเรียนรู้ตามหลักศาสนาพุทธ สุ ตมปัญญา คือ การฟัง กระบวนการเรียนรู้ ของบลูม (Bloom) สัญญาปัญญา คือ การจา บลูมเชื่อว่าการเรี ยนรู ้จะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ จินตมปัญญา คือ การคิด ต้องมีการกาหนดวัตถุประสงค์ ทชี่ ัดเจน** ภาวนามยปัญญา คือ การตรวจสอบ การเรี ยนรู ้เกิดขึ้นได้ท้งั 3 ด้าน คือ สติปัญญา ร่ างกาย วิปัสสนาปัญญา คือ ความเข้าใจแจ่มแจ้ง และจิตใจ โดยแต่ละด้านได้แบ่งระดับของการเรี ยนรู ้จาก ระดับต่าไปสู ง ตัวอย่ าง : การเรี ยนรู ้ดา้ นพุทธพิสยั หรื อสติปัญญา (cognitive domain) แบ่งออกเป็ น 6 ระดับ ได้แก่ ความรู ้ ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การ สังเคราะห์ และการประเมินผล Human Behavior @H.IMPHENG Theory of Learning : ทฤษฎีการเรียนรู้ ของบลูม https://www.youtube.com/watch?v=nn4w7g-Mtjw Human Behavior @H.IMPHENG I. ทฤษฎีการเชื่ อมโยงระหว่ างสิ่ งเร้ ากับการตอบสนอง (Stimulus-Response Theory) ทฤษฎีการเรี ยนร้ ู II. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข Learning (Conditional Theory) Theory III. ทฤษฎีสนาม (Field Theory) Human Behavior @H.IMPHENG I. ทฤษฎีการเชื่ อมโยงระหว่ างสิ่ งเร้ ากับการตอบสนอง (Stimulus-Response Theory) 1.1 ทฤษฎีการเรียนรู้ แบบต่ อเนื่อง (Connectionism) ธรอนไดด์ (Edward L Thorndihe) ได้เสนอหลักการว่า “การเรี ยนรู ้เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งเร้า และการตอบสนอง โดยสิ่ งเร้าหนึ่งอาจจะทาให้เกิดการตอบสนองได้หลายอย่าง แต่บุคคลจะเลือกตอบสนองที่พึงพอใจ ไว้ทางหนึ่ง เพื่อใช้ตอบสนองในโอกาสต่อๆไป” การเรี ยนรู ้แบบนี้อาจเรี ยกอีกแบบว่า การเรี ยนรู ้แบบลองผิดลองถูก **โดยการเรียนรู้แบบต่ อเนื่องต้ องอาศัยความพร้ อม การฝึ กหัด และผลลัพธ์ ** 1.2 ทฤษีการเชื่ อมโยง (Guthrie’s Contiguity Theory) ตามทฤษฎีของกัทธรี (ER Guthrie) เสนอหลักการว่า “การเรี ยนรู ้เกิดจากการกระทา” เช่น การฟัง การอ่าน การลงมือทา สามารถทาให้เกิดการเรี ยนรู ้ได้ 1.3 ทฤษีการเรียนรู้ของฮัลล์ (Hull’s Systematic Behavior Theory) หลักการคือ “การเรี ยนรู ้เกิดจากการเสริ มแรง” Human Behavior @H.IMPHENG I. ทฤษฎีการเชื่ อมโยงระหว่ างสิ่ งเร้ ากับการตอบสนอง (Stimulus-Response Theory) https://indiafreenotes.com/theories-of-selling-stimulus-response-theory-product-orientation-theory-need-satisfaction-theory/ Human Behavior @H.IMPHENG II. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditional Theory) 2.1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิ ค (Classic Conditional Theory) ของพาฟลอฟ (Ivan P.Pavlov) องค์ประกอบสาคัญในการเรี ยนรู ้ที่เกิดขึ้นแต่ละครั้ง จะต้อง ประกอบด้วยกระบวนการของส่วนประกอบ 4อย่าง คือ สิ่งเร้ า เป็ นตัวการที่ทาให้บุคคลมีปฏิกิริยาโต้ตอบ ออกมา แรงขับ จะทาให้เกิดปฏิกิริยาหรื อพฤติกรรมที่จะ นาไปสู่การเรี ยนรู ้ต่อไป การตอบสนอง เป็ นปฏิกิริยาหรื อพฤติกรรมที่แสดง ออกมาเมื่อได้รับการ กระตุน้ จากสิ่ งเร้า สิ่งเสริมแรง เป็ นสิ่ งมาเพิ่มกาลังให้เกิดการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่ งเร้ากับการตอบสนองให้มีแรงขับเพิ่มขึ้น https://www.verywellmind.com/classical-conditioning-2794859 https://www.krupatom.com/education_1588/%E0%B8%9E% E0%B8%B2%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0% B8%9F/ Human Behavior @H.IMPHENG II. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditional Theory) สกินเนอร์ได้แบ่งทฤษฎีทางพฤติกรรมออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้แบบ Type S (Response Behavior ซึ่งมีสิ่งเร้า (Stimulus) เป็ นตัวกาหนด การตอบสนองเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ซึ่ง สิ่ งมีชีวิตไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ เช่น การกระพริ บตา น้ าลายไหล หรื อการเกิด อารมณ์ ความรู ้สึกต่างๆ 2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้แบบ Type R (Operant Behavior) 2.2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทา พฤติกรรมหรื อการตอบสนองขึ้นอยูก่ บั การเสริ มแรง (Reinforcement) ของสกินเนอร์ (Burrhus F. Skinner) โดยวิธีการให้การเสริ มแรง มี 2 วิธี คือ 2.1 ตัวเสริ มแรงทางบวก (Positive Reinforcement) หมายถึง สิ่ ง เร้าใด ๆ ซึ่งเมื่อนามาใช้แล้วทาให้อตั ราการตอบสนองเพิ่มมากขึ้น เช่น คาชมเชย รางวัล อาหาร 2.2 ตัวเสริ มแรงทางลบ (Negative Reinforcement) หมายถึง สิ่ ง เร้าใด ๆ ซึ่งเมื่อนามาใช้แล้วทาให้การตอบสนองเพิ่มขึ้นในทางลบ เป็ นตัวเสริ มแรงทาง ลบ https://www.jahnnoom.com/skinner-theory/ Human Behavior @H.IMPHENG II. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditional Theory) Human Behavior @H.IMPHENG II. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditional Theory) Human Behavior @H.IMPHENG II. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditional Theory) การนาหลักการ มาประยกุ ต์ ใช้ Human Behavior @H.IMPHENG III. ทฤษฎีสนาม (Field Theory) Human Behavior @H.IMPHENG III. ทฤษฎีสนาม (Field Theory) 3.1 ทฤษฎีสนาม (Field Theory) ของโคเลอร์ และคณะ (Wolfgang Kohler, et al.) หรื อเรี ยกกลุ่มนักจิตวิทยากลุ่มนี้วา่ กลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt) หลักการคือ “การเรียนรู้ จะพิจารณาสิ่ งเร้ าเป็ นส่ วนรวม แล้ วจึงพิจารณาเป็ นส่ วนย่ อยเพื่อให้ เกิดความรู้ ความเข้ าใจอย่ างแจ่ ม แจ้ ง” สามารถแก้ปัญหาได้แบบหยัง่ รู ้ (Insight) ลองเรื่ อยๆ จนถึง จุดหนึ่งจะเข้าใจ ปัญหาและสามารถ แก้ไขได้ https://tyonote.com/insight_learning/ Human Behavior @H.IMPHENG III. ทฤษฎีสนาม (Field Theory) 3.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ของเลวิน (Lewin’s Field Theory) หลักการคือ “การเรี ยนรู ้เกิดจากกระบวนการรับรู ้และกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหา” โดยเชื่อว่าพฤติกรรมมนุษย์มีพลังและ ทิศทาง (Field and Force) สิ่ งที่อยูใ่ นความสนใจและต้องการจะมีพลังเป็ นบวก สิ่ งใดที่อยูน่ อกเหนือความสนใจจะมี พลังเป็ นลบ Lewin เชื่อว่า พฤติกรรมเป็ นผลของแรง 2 ประเภท ซึ่ งมีบทบาทตรงข้ามกัน แรงต้านและแรงเสริ มให้การ เปลี่ยนแปลง สามารถดัดแปลงไปใช้ได้ 3 กลวิธี 1.เพิม่ ขนาดของแรงเสริ ม 2.ลดขนาดของแรงต้าน 3.เพิ่มขนาดของแรงเสริ ม ขณะเดียวกันก็ลดขนาดของแรงต้าน https://lifestyemyself.blogspot.com/p/1_22.html Human Behavior @H.IMPHENG III. ทฤษฎีสนาม (Field Theory) https://www.youtube.com/watch?v=9qD-Hr7vssw III. ทฤษฎีสนาม (Field Theory) 3.3 ทฤษฎีการเรียนรู้ ของทอลแมน (Tolman’s Sign Learning Theory) หลักการคือ “การเรี ยนรู ้เกิดจากที่บุคคลตอบสนองต่อ สิ่ งเร้าโดบใช้เครื่ องหมายหรื อสัญลักษณ์เป็ นแนวทาง ไปสู่ เป้าหมาย ทาให้เกิดการเรี ยนรู ้เพื่อความเข้าใจ” ผูเ้ รี ยนก็จะเกิดการเรี ยนรู ้เครื่ องหมาย สัญลักษณ์ สถานที่ และสิ่ งอื่นๆที่เป็ นเครื่ องชี้ โดยจะปรับการเรี ยนรู ้ไปตาม สถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ผูเ้ รี ยนอาจไม่แสดงออกการ เรี ยนรู ้ในทันที อาจแฝงอยูใ่ นผูเ้ รี ยน เมื่อถึงเวลาที่ เหมาะสมหรื อจาเป็ นจึงจะแสดงออก (latent learning) https://www.youtube.com/watch?v=zmaWafT3D-A Human Behavior @H.IMPHENG ความจา (Memory) Human Behavior @H.IMPHENG Human Behavior @H.IMPHENG Human Behavior @H.IMPHENG ระบบความจา (System of Memory) https://www.pinterest.co.uk/pin/137289488778642718/ Human Behavior @H.IMPHENG Human Behavior @H.IMPHENG การคิดและการใช้ ภาษา (Thinking and Language) Human Behavior @H.IMPHENG Thinking ความคิดประกอบด้วย 3 ส่วน การคิด เป็ นพฤติกกรรมอย่างหนึ่งที่เกิดขึน้ จากการ ทางานอย่างซับซ้อนที่สดุ ของสมอง การคิดเป็ น 1.มโนภาพ (Image) เป็ นรูปร่าง หน้าตา ภาพที่ กระบวนการเรียนรูแ้ ละทาความเข้าใจโดยการใช้ เราจดจาไว้ สัญลักษณ์เป็ นตัวแทนของเหตุการณ์หรือสิ่งของ 2.ความคิดรวบยอด (Concept) คือการสรุป ต่างๆ ที่เราคิดได้ ความคิดและแยกแยะความแตกต่าง 3.ภาษา (Language) คือ สัญญาลักษณ์ท่ีมี มากกว่าสัญลักษณ์ประเภทอื่น ทาให้เราคิดโดย ใช้ภาษาเป็ นส่วนใหญ่ โดยภาษามีทงั้ ภาษาที่ใช้ พูดหรือเขียน (verbal language) และ ภาษาที่ ไม่ใช้การพูดหรือเขียน (nonverbal language) https://dreampath.ca/have-you-ever-thought-about-thinking/ Human Behavior @H.IMPHENG Development of Thinking Human Behavior @H.IMPHENG Development of Thinking กรอบความคิดของการคิด ตามทฤษฎีการเรียนรูก้ ระบวนการคิด แบ่งเป็ น 3 กลุม่ ใหญ่ กลุ่มที่ 1 ทักษะความคิด หรือทักษะการคิดพืน้ ฐาน ที่มี ขัน้ ตอน การคิดไม่ซับซ้อน กลุ่มที่ 2 ลักษณะการคิด หรือการคิดขัน้ กลาง/ระดับกลาง เป็ นการคิดที่มีลกั ษณะการคิดแต่ละลักษณะอาศัยการคิด ขั้นพืน้ ฐานมากบ้างน้อยบ้าง กลุ่มที่ 3 กระบวนการคิดหรือการคิดระดับสูง คือ มีขนั้ ตอน ในการคิดซับซ้อนและต้องอาศัยทักษะความคิดและ ลักษณะความคิดเป็ นพืน้ ฐานในการคิด กระบวนการคิดมี อยู่หลายกระบวนการ เช่น กระบวนการแก้ปัญญา กระบวนการตัดสินใจ Human Behavior @H.IMPHENG Development of Thinking การพัฒนากระบวนการคิดต้องอาศัยตัวร่วมขณะคิด 4 ตัวร่วม ตัวร่วมที่ 1 กรอบโลกทัศน์/ชีวทัศน์ คือตัวร่วมสาคัญที่ผสมผสานในระหว่างที่เราคิด เราคิดอย่างไร จะสรุปความคิดของ เราออกมาเช่นไร จะยึดกรอบเดิมหรือสร้างกรอบใหม่ ตัวร่วมที่ 2 นิสัย มีผลเชื่อมโยงกับรูปแบบวิธีคิดของเราเป็ นอย่างมาก เนื่องจากเป็ นตัวกาหนดการคิด และการแก้ปัญหา ตัวร่วมที่ 3 อารมณ์ เมื่อเราเกิดอารมณ์ใดก็ตาม สมองมักสร้างมโนภาพในใจหรือจินตนาการถ่ายทอดอารมณ์นนั้ ตัวร่วมที่ 4 แรงจูงใจ ในการตัดสินใจกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างเฉพาะเจาะจง เรามักกระตุน้ แรงขับภายใน ได้แก่ แรงขับ ความต้องการพืน้ ฐาน แรงขับความอยากรูอ้ ยากเห็น กระบวนการแก้ปัญหา Human Behavior @H.IMPHENG Human Behavior @H.IMPHENG Human Behavior @H.IMPHENG Human Behavior @H.IMPHENG https://www.sasimasuk.com/17083804 Human Behavior @H.IMPHENG Language พัฒนาการทางภาษาถูกแบ่งออกเป็ น 2 ด้าน 1. ความเข้าใจภาษา คือ การที่เด็กเข้าใจในสิ่งที่คนอื่นพูดสื่อสาร ทัง้ ในแง่ของการเข้าใจคาศัพท์ การเข้าใจคาสั่ง คาถาม ตลอดจนเข้าใจประโยค เรือ่ งเล่ายาวๆ หรือการสนทนาที่ซบั ซ้อนได้ 2. การสื่อสาร / การพูด คือ การที่เด็กสื่อสารโดยใช้ทงั้ สีหน้า ท่าทางภากาย รวมทัง้ การใช้คาพูดในการสือสารกับคูส่ นทนา หรือสื่สารกับผูอ้ ่ืนได้ ตลอดจนสามารถสื่อสารโดยใช้ประโยคยาวที่มีความซับซ้อน หรือใช้ภาษาในการอธิ บาย และเล่าเรือ่ งได้ Human Behavior @H.IMPHENG https://www.structural-learning.com/post/language-development Human Behavior @H.IMPHENG Development of Language Human Behavior @H.IMPHENG Development of Language Human Behavior @H.IMPHENG Development of Language **ช่ วงอายมุ ากว่ า 12 ปี เด็กจะสามารถคิดได้ ทงั้ ในเชิงรูปธรรมและนามธรรม สามารถคิดวิเคราะห์ ได้ *** Human Behavior @H.IMPHENG ปัจจัยที่มีผลต่ อการพัฒนาภาษา 1. สุขภาพ 2. สติปัญญา 3. ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม 4. อายุและเพศ 5. ความสัมพันธ์ในครอบครัว 6. การพูดหลายภาษา Human Behavior @H.IMPHENG How to develop language skill in adult Human Behavior @H.IMPHENG Human Behavior @H.IMPHENG Human Behavior @H.IMPHENG Activity 1.2% Infographic How to improve yourself? Learning Memory Thinking Language ***Note : ใส่ ชื่อตนเองลงบน infographic ด้ วย*** ***Submit before 23/08/2024*** Human Behavior @H.IMPHENG Human Behavior @H.IMPHENG

Use Quizgecko on...
Browser
Browser