Thai Circuit Analysis Chapter 6 PDF

Document Details

RefreshedSilicon7304

Uploaded by RefreshedSilicon7304

Tags

parallel circuits electrical engineering circuit analysis electronics

Summary

This document details parallel circuit concepts in Thai. It covers calculations of current, voltage, and resistance in parallel circuits. The document also explains the principles behind parallel circuits using diagrams and examples.

Full Transcript

บทที่ 6 วงจรขนาน วงจรไฟฟ้ าในส่ วนของวงจรขนานประกอบไปด้วยความสั มพันธ์ ระหว่างกระแสและ แรงดันไฟฟ้า โดยหาค่าแรงดันไฟฟ้าของวงจรจะมีค่าเท่ากันตลอดทั้งวงจร การหาค่าความต้านทาน รวมของวงจร การหาค่ากระแสไฟฟ้ าทั้งหมด...

บทที่ 6 วงจรขนาน วงจรไฟฟ้ าในส่ วนของวงจรขนานประกอบไปด้วยความสั มพันธ์ ระหว่างกระแสและ แรงดันไฟฟ้า โดยหาค่าแรงดันไฟฟ้าของวงจรจะมีค่าเท่ากันตลอดทั้งวงจร การหาค่าความต้านทาน รวมของวงจร การหาค่ากระแสไฟฟ้ าทั้งหมด การหาค่ากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านในแต่ละสาขา การ เขียนวงจรสมมูลของความต้านทาน การคานวณโดยใช้วงจรสมมูล การหาค่าความนาไฟฟ้า การหา ค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านความนาไฟฟ้ า การเขียนวงจรสมมูลของความนาไฟฟ้า การคานวณโดย ใช้วงจรสมมูลความนาทางไฟฟ้า กฎการแบ่งกระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ าในวงจรขนาน การต่อวงจรขนานจะมี ความแตกต่างจากวงจรอนุ กรมที่ ผ่านมาโดยรู ป แบบของวงจร ขนานแสดงการเชื่อมต่อวงจรใช้งานจริ งดังภาพที่ 6.1(ก)และแทนด้วยสัญลักษณ์ดงั ภาพที่ 6.1(ข) V + L1 L2 L3 + - V − R1 R2 R3 (ก) วงจรจริ ง (ข) วงจรสัญลักษณ์ ภาพที่ 6.1 วงจรขนาน ที่มา : 1 (135) การหาค่าความสัมพันธ์ของวงจรขนานโดยใช้วธิ ี การของโหนด ซึ่ งประกอบด้วยจุดเชื่อม ต่ออุปกรณ์จานวน 2 จุด โดยมีตวั อุปกรณ์ทาการต่อจานวน 2 ตัวหรื อมากกว่า ดังภาพที่ 6.2 2 A A + + V R1 R2 R3 V R1 R2 R3 − − B B ภาพที่ 6.2 แรงดันไฟฟ้าที่โหนด A ถึง โหนด B คงที่ ที่มา : 1 (137) โดยโหนด A ต่ออยูก่ บั ขั้วบวกของแบตเตอรี และโหนด B ต่ออยูก่ บั ขั้วลบของแบตเตอรี จึงทาให้กระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วบวกของแบตเตอรี เข้าสู่ โหนด A และไหลผ่านความต้านทานแต่ ละตัวมายังโหนด B จึงทาให้เกิดแรงดันไฟฟ้าตกคร่ อมระหว่างโหนด A ถึงโหนด B เท่ากันทุกตัว ซึ่ งสามารถสรุ ปเป็ นกฎพื้นฐานในการหาค่าแรงดันไฟฟ้าของวงจรขนานดังสมการที่ 6.1 V1 = V2 = V3 =  = VN (6.1) วงจรขนานในบางครั้งเรี ยกอุปกรณ์ ในการเชื่ อมต่อว่าสาขา (branch) ดังภาพที่ 6.3 วงจร ประกอบไปด้วยความต้านทานจานวน 3 ตัว ซึ่งจะทาให้เกิดกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านทั้ง 3 สาขา แต่ละ สาขา แทนด้วย I1 I 2 และ I 3 I1 I2 I3 + V R1 R2 R3 − ภาพที่ 6.3 การไหลของกระแสไฟฟ้าผ่านสาขาในวงจรขนาน ที่มา : 1 (137) 3 ตัวอย่างที่ 6.1 วงจรดังภาพที่ 6.4 จงคานวณหาค่ากระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว I1 I2 I3 + V = 20V R1 R2 R3 − 5Ω 10Ω 20Ω ภาพที่ 6.4 วงจรของตัวอย่างที่ 6.1 วิธีทา ใช้กฎของโอห์มหาค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านในแต่ละสาขา I V = RT I1 = V ดังนั้น R1 = 20V 5Ω = 4A I2 = V R2 = 20V 10Ω = 2A I3 = V R3 = 20V 20Ω = 1A กระแสไฟฟ้ าทั้งหมดที่ไหลในวงจรจะมีค่าเท่ากับผลรวมของกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านใน แต่ละสาขาโดยใช้กฎของโอห์มคานวณหาค่าในวงจรขนานดังสมการที่ 6.2 I T = I1 +I 2 + I 3 ++ I N (6.2) 4 โดยผลรวมของกระแสไฟฟ้ าจะไหลออกจากขั้วบวกของแบตเตอรี ที่อยู่ดา้ นบนและทา การแบ่งกระแสผ่าน3 สาขาโดยแบ่งเป็ น I1 I 2 และ I 3 ไหลลงสู่ ดา้ นล่างมารวมกันและไหลเข้าขั้ว ลบของแบตเตอรี ดงั ภาพที่ 6.5 IT + V I1 I2 I3 − IT ภาพที่ 6.5 การคานวณหาค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรขนาน ที่มา : 1 (137) ตัวอย่างที่ 6.2 วงจรดังภาพที่ 6.6 จงคานวณหาค่ากระแสไฟฟ้ าที่ไหลออกจากแบตเตอรี 12 โวลต์ ไหลผ่านความต้านทานรวมทั้งหมด I1 I2 I3 + V = 12V R1 R2 R3 − 24 Ω 24Ω 24 Ω ภาพที่ 6.6 วงจรของตัวอย่างที่ 6.2 วิธีทา ใช้กฎของโอห์มหาค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านในแต่ละสาขา I1 = V R1 12V = 24Ω = 0.5 A 5 I2 = V R2 = 12V 24Ω = 0.5 A I3 = V R3 = 12V 24Ω = 0.5 A ผลรวมของกระแสไฟฟ้าในวงจรทั้งหมดที่ไหลผ่านสาขาดังสมการที่ 6.2 จะได้ I T = I1 +I 2 + I3 = 0.5A + 0.5A + 0.5A = 1.5 A กฎการหาค่ากระแสไฟฟ้ าของเคอร์ ชอฟสามารถหาได้จากสมการคณิ ตศาสตร์ โดยการใช้ ผลรวมการไหลของกระแสไฟฟ้ าเข้าจุดหรื อโหนดมี ค่าเท่ากับศู นย์ เมื่ อเปรี ยบเที ยบกับวงจรการ ไหลของ ของเหลวที่ประกอบด้วยทางเข้า 3 ทางและทางออก 1 ทางโดยมีการไหลในอัตราส่ วนลิตร ต่อนาที ดังภาพที่ 6.7 1 2 6 3 ภาพที่ 6.7 ภาพตัวอย่างแสดงทิศทางการไหล ที่มา : 1 (138) 6 จากภาพที่ 6.7 สามารถน ามาเขี ย นเป็ นสมการแสดงการไหลของ ของเหลวจะได้ว่า ผลรวมการไหลของทางเข้า จะเท่ า กับ ทางออก โดยก าหนดให้ ข องเหลวที่ ไ หลเข้าโหนดเป็ น เครื่ อ งหมายบวกและของเหลวที่ ไ หลออกจากโหนดเป็ นลบ สามารถน ามาเขี ย นเป็ นสมการ คณิ ตศาสตร์ได้วา่ ผลรวมของ ของเหลวไหลเข้าสู่ โหนดมีค่าเท่ากับศูนย์ +1 + 2 + 3 − 6 = 0 วงจรไฟฟ้ าที่มีโหนดเป็ นจุดเชื่ อมต่อดังภาพที่ 6.8 และกาหนดทิศทางกระแสไฟฟ้ าไหล เข้าโหนดเป็ นบวกและกระแสไฟฟ้าไหลออกจากโหนดเป็ นลบสามารถนามาเขียนเป็ นสมการทาง คณิ ตศาสตร์จะได้วา่ ผลรวมของกระแสไฟฟ้าไหลเข้าสู่ โหนดมีค่าเท่ากับศูนย์ A 5A 3A 4A 2.5A 1.5A + 5A + 3A − 4A − 1.5A − 2.5A = 0 ภาพที่ 6.8 สมการคณิ ตศาสตร์ ผลรวมกระแสไฟฟ้าไหลเข้าสู่ โหนดมีค่าเท่ากับศูนย์ ที่มา : 1 (138) ตัวอย่างที่ 6.3 จากภาพที่ 6.9 จงคานวณหาค่ากระแส I X 3.25A 1.75A 3.5A IX ภาพที่ 6.9 วงจรของตัวอย่างที่ 6.3 7 วิธีทา ใช้กฎการหาค่ากระแสไฟฟ้าของเคอร์ ชอฟ จะได้ + 1.75A - 3.25A + 3.5A + I X = 0 + 2A+ I X = 0 I X = − 2A กระแส I X มีค่าเท่ากับ 2A ทิศทางของกระแสไฟฟ้าไหลออกจากโหนด ความนาไฟฟ้ า ในการวัด ค่ า ความน าไฟฟ้ า ของอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า หรื อวงจรสนั บ สนุ น การไหลของ กระแสไฟฟ้า เมื่อวงจรมีความนาไฟฟ้ าสู งจะมีความต้านทานไฟฟ้ าต่าและในทางตรงกันข้ามวงจร ที่ มี ค วามน าไฟฟ้ า ต่ า จะมี ค วามต้า นทานไฟฟ้ า สู ง ซึ่ งสามารถน ามาเขี ย นเป็ นสมการแสดง ความสัมพันธ์ ดังสมการที่ 6.3 1 G = R (6.3) G = ความนาไฟฟ้า มีหน่วยเป็ น ซีเมนต์ (S) R = ความต้านทานไฟฟ้า มีหน่วยเป็ น โอห์ม (Ω) ตัวอย่างที่ 6.4 จงหาค่าความนาไฟฟ้าของสายไฟฟ้าเมื่อกาหนดให้สายไฟฟ้ามีค่าความต้านทาน 5Ω วิธีทา จากสมการที่ 6.3 หาค่าความนาไฟฟ้าจะได้ 1 G = R 1 = 5Ω = 0.2S จากกฎของโอห์มนามาใช้ในการหาค่าความต้านทานไฟฟ้าและนาไปหาค่าความนาไฟฟ้า R = V I จากค่าของ G มีค่าผกผันกับ R ดังนั้นจะได้สมการที่ 6.4 8 1 I R = V 1 ดังนั้น G = R G = I (6.4) V ตัวอย่างที่ 6.5 วงจรดังภาพที่ 6.10 จงคานวณหากระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจร + V = 5V G = 4S − ภาพที่ 6.10 วงจรของตัวอย่างที่ 6.5 วิธีทา จากกฎของโอห์มคานวณหาค่ากระแสไฟฟ้าดังสมการที่ 6.4 I G = V I = GV = (4S)(5V) = 20A ในการหาค่าความนาไฟฟ้ าของวงจรขนานจะตรงกันกับค่าความต้านทานในวงจรขนาน เพราะค่าความนาไฟฟ้าจะผกผันกับค่าความต้านทานจึงทาให้การหาค่าผลรวมของความนาไฟฟ้าใน วงจรขนานมีค่าเท่ากับผลรวมของความนาไฟฟ้าในแต่ละสาขาดังสมการที่ 6.5 GT = G1 + G 2 + G 3 + G N (6.5) ตัวอย่างที่ 6.6 วงจรดังภาพที่ 6.11 จงคานวณหาค่าผลรวมของความนาไฟฟ้ าในวงจรขนานและนา ค่าที่ได้มาเขียนเป็ นวงจรสมมูล 9 R1 R2 R3 + V = 15V − 10Ω 5Ω 2Ω ภาพที่ 6.11 วงจรของตัวอย่างที่ 6.6 วิธีทา หาค่าความนาไฟฟ้าของความต้านทานแต่ละตัวจากสมการที่ 6.3 G1 = 1 R1 1 = 10Ω = 0.1 S G2 1 = R 2 1 = 5Ω = 0.2 S G3 = 1 R3 1 = 2Ω = 0.5 S หาค่าความนาไฟฟ้าทั้งหมดจากสมการที่ 6.5 G 1 = G1 + G 2 + G 3 = 0.1S + 0.2S + 0.5S = 0.8 S ใช้กฎของโอห์มหาค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรทั้งหมด I T = VG T = (15V)(0.8 S) = 12 A 10 หาค่าความต้านทานรวมของวงจรโดยใช้ค่าความนาไฟฟ้ารวมทั้งหมดจะได้ RT = 1 GT = 1 0.8 S = 1.25Ω วงจรสมมูลของความนาไฟฟ้ า + G eq + Req V = 15V− 0.8S V = 15V− 1.25 (ก) การนาไฟฟ้า (ข) ความต้านทานไฟฟ้า ภาพที่ 6.12 วงจรสมมูลของตัวอย่างที่ 6.6 วิธีการใช้กระแสไฟฟ้าหาค่าในวงจรขนานดังภาพที่ 6.13 + V− R1 R2 R3 ภาพที่ 6.13 วงจรขนาน ที่มา : 1 (140) วิธีหาค่ากระแสไฟฟ้าจาก 3 สาขาโดยผลรวมของกระแสไฟฟ้าจะหาได้จากแหล่งจ่าย แรงดันไฟฟ้าหารด้วยผลรวมของความต้านทานดังสมการที่ 6.6 IT = V+V+V (6.6) R1 R 2 R 3 11 โดยผลรวมของกระไฟฟ้าจะหาได้จากแรงดันไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าหารด้วยความ ต้านทานรวมทั้งหมดของวงจรแทนลงในสมการที่ 6.6 จะได้ดงั สมการที่ 6.7 V V+V+V (6.7) = RT R1 R1 R 3 นาค่าแรงดันไฟฟ้า V หารตลอดสมการที่ 6.7 จะได้สมการที่ 6.8 1 = 1 + 1 + 1 (6.8) RT R1 R1 R 3 จากสมการที่ 6.8 จะได้ค่าความนาไฟฟ้าซึ่ งจะนาไปหาค่าความต้านทานทางไฟฟ้าโดยจะ มีค่าผกผันกับความต้านทานหรื อเป็ นส่ วนกลับดังสมการที่ 6.9 RT = 1 1 R1 + 1 R 2 + 1 R 3 (6.9) ตัวอย่างที่ 6.7 วงจรดังภาพที่ 6.14 จงคานวณหาค่าความต้านทานรวมโดยใช้วงจรสมมูลและหาค่า กระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรทั้งหมด + V = 25V− 1kΩ 2kΩ 2.5kΩ 10kΩ ภาพที่ 6.14 วงจรของตัวอย่างที่ 6.7 หาค่าความต้านทานรวมของวงจรจากสมการที่ 6.9 RT = 1 1 R1 + 1 R 2 + 1 R 3 + 1 R 4 1 แทนค่าสมการ = 1 1k + 1 2k + 1 2.5k + 1 10k = 500Ω 12 หาค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรทั้งหมด IT = V RT = 25V 500Ω = 0.05 A หรื อ 50 mA ในการหาค่าผลรวมของความต้านทานในวงจรขนานที่ประกอบไปด้วยค่าความต้านทาน เพียง 2 ตัวสามารถใช้วธิ ีคานวณจากสมการที่ 6.10 RT = 1 (6.10) 1 R1 + 1 R 2 ให้นาค่าตัวประกอบโดยใช้ R1 R 2 คูณเพื่อหาค่าตัวคูณร่ วมน้อย จากสมการที่ 6.10 หาค่า R T ในสมการที่ 6.11 RT = 1 (R1R 2 ) + (R1R 2 ) (R1R1R 2 ) (R 2 R1R 2 ) 1 = (R + R ) (R R ) 2 1 2 1 RR = R 1+ R2 (6.11) 1 2 ตัวอย่างที่ 6.8 วงจรดังภาพที่ 6.15 จงคานวณหาค่าความต้านทานรวมและหาค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหล ในวงจรทั้งหมด + V = 12V− 6Ω 9Ω ภาพที่ 6.15 วงจรของตัวอย่างที่ 6.8 13 วิธีทา หาค่าความต้านทานรวมของวงจรจากสมการที่ 6.11 RT = R1R 2 R1 + R 2 = (6Ω)(9Ω) (6Ω ) + (9Ω ) = 3.6Ω จากผลรวมของความต้านทานนาไปหาค่ากระแสไฟฟ้ารวมของวงจรทั้งหมด IT = V RT = 12 V 3.6 Ω = 3.34 A กฎการแบ่ งกระแสไฟฟ้ า การไหลของกระแสไฟฟ้ าเมื่อผลรวมของกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านในแต่ละสาขาจานวน 2 สาขาโดยมี ต ัวต้านทานจานวน 2 ตัว ต่ อขนานกัน อยู่ใ ช้วิธี ก ารหาค่ าผลรวมกระแสไฟฟ้ าของ เคอร์ ชอฟโดยการหาค่ากระแสไฟฟ้าในแต่ละสาขาแล้วนาค่าที่หาได้มารวมกันดังภาพที่ 6.16 I1 IT R1 IT R2 I2 ภาพที่ 6.16 การไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจรขนาน ที่มา : 1 (143) ขั้นตอนการหาค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านค่าความต้านทานในแต่ละสาขา โดยใช้กฎของโอห์ม V1 = I1R1 (6.12) และ V2 = I 2 R 2 (6.13) 14 จากวิธีการแบ่งกระแสไฟฟ้าเมื่อทราบค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านสาขาใดสาขาหนึ่งแล้ว เมื่อวงจรประกอบด้วยตัวต้านทานจานวน 2 ตัวและขนานกันอยู่ ให้นาเทคนิควิธีการหาค่าโดยการ ใช้ค่าแรงดันไฟฟ้ามาทาการหาค่ากระแสไฟฟ้า I1 และกระแสไฟฟ้า I 2 เนื่องจากแรงดันไฟฟ้า ของวงจรขนานมีค่าคงที่จึงทาให้ V1 = V2 (6.14) แทนค่าสมการที่ 6.12 และ 6.13 ลงในสมการที่ 6.14 I1 R 1 = I 2 R 2 (6.15) จากกฎหาค่ากระแสไฟฟ้าของเคอร์ ชอฟ I2 = I T − I1 (6.16) แทนค่า I 2 สมการที่ 6.16 ในสมการที่ 6.15 I1R1 = (I T − I1 ) R 2 (6.17) แก้สมการเพื่อหาค่า I1 I1 R 1 = I T R 2 − I1R 2 I1R1 + I1R 2 = IT R 2 I1 (R1 + R 2 ) = IT R 2 I1 = IT R 2 (6.18) (R1 + R 2 ) I2 = I T R1 ดังนั้นจึงทาให้ R1 + R 2 (6.19) ตัวอย่างที่ 6.9 วงจรดังภาพที่ 6.17 จงคานวณหาค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านสาขาโดยใช้กฎการแบ่ง กระแสไฟฟ้า R1 = 8Ω 6A R 2 = 2Ω ภาพที่ 6.17 วงจรของตัวอย่างที่ 6.9 15 วิธีทา จากกฎของการแบ่งกระไฟฟ้าหาค่า I1 จากสมการที่ 6.18 I1 = IT R 2 (R1 + R 2 ) แทนค่าลงในสมการ หาค่า I1 I1 = (6A)(2Ω) (8Ω) + (2Ω) = 1.2 A หาค่า I 2 จากสมการที่ 6.19 I T R1 I2 = R1 + R 2 แทนค่าลงในสมการ หาค่า I 2 I2 = (6A)(8Ω ) (8Ω ) + (2Ω ) = 4.8 A ตัวอย่างที่ 6.10 วงจรดังภาพที่ 6.17 จงคานวณหาค่ากระแสไฟฟ้ที่ไหลผ่านสาขา โดยใช้วงจรสมมูล ของความต้านทาน วิธีทา หาค่าความต้านทานรวมของวงจรจากวงจรสมมูลดังสมการที่ 6.11 RT = R1R 2 R1 + R 2 = (8Ω )(2Ω ) (8Ω ) + (2Ω ) = 1.6Ω นากฎของโอห์มมาใช้ในการหาค่าแรงดันไฟฟ้าตกคร่ อมความต้านทาน V = IR = (6A)(1.6Ω) = 9.6 V 16 จากคุณสมบัติของวงจรขนานแรงดันไฟฟ้าตกคร่ อมตัวต้านทานแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากัน ทั้งวงจรจึงทาให้หาค่ากระแส I1 และ I 2 V I1 = R1 9.6V = 8Ω = 1.2 A I2 = V R2 = 9.6V 2Ω = 4.8 A สรุ ป 1. การต่อวงจรขนานจะต่อคร่ อมกันไปจึงทาให้แรงดันไฟฟ้าจะมีค่าเท่ากันทั้งวงจร เมื่อ V1 = V2 = V3 =  = VN 2. กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานจะมีค่ามากหรื อน้อยขึ้นอยูก่ บั ค่าความต้านทานใน แต่ละตัว เมื่อ I = V R 3. วงจรไฟฟ้ า จะประกอบด้ว ยโหนดเป็ นจุ ด เชื่ อ มต่ อ และมี ก ารก าหนดทิ ศ ทางของ กระแสไฟฟ้าไหลเข้าโหนดเป็ นบวกและกระแสไฟฟ้าไหลออกจากโหนดเป็ นลบและสามารถนามา เขียนเป็ นสมการจะได้ (KCL;  I = 0) หรื อ I T = I1 +I 2 + I 3 +  + I N 4. การหาค่าความนาไฟฟ้ าของวงจรขนานจะตรงกันข้ามกับการหาค่าความต้านทานใน วงจรขนาน G T = G1 + G 2 + G 3 ++ G N 5. การหาค่าความต้านทานรวมของวงจรขนานจะได้ RT = 1 1 R1 + 1 R 2 + 1 R 3 +  + 1 R N 6. การนากฎของการแบ่งกระแสไฟฟ้ าไปใช้งานจะใช้ได้เฉพาะวงจรที่มีความต้านทาน เพียง 2 ตัวเท่านั้น

Use Quizgecko on...
Browser
Browser