บทที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค

Document Details

BetterIdiom

Uploaded by BetterIdiom

Chiang Mai University

Tags

consumer protection marketing ethics consumer rights business

Summary

This document discusses consumer protection and marketing ethics. It covers topics including the meaning of consumer protection, its importance, types of protection, and consumer rights in Thailand. It also examines factors affecting consumer protection, laws, and marketing ethics. The document also details various aspects of consumer protection in relation to different sectors.

Full Transcript

บทที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค และจริยธรรมทางการตลาด Agenda 1. ความหมายของการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค 2. ความสาคัญของการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค 3. ลักษณะของการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค 4. การคุม้ ครองสิทธิของผูบ้ ริโภคในประเทศไทย 5. ประเภทการคุม้ ครองสิทธิในด้านต่างๆ 6. ปั จจัยที่มีผลต่...

บทที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค และจริยธรรมทางการตลาด Agenda 1. ความหมายของการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค 2. ความสาคัญของการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค 3. ลักษณะของการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค 4. การคุม้ ครองสิทธิของผูบ้ ริโภคในประเทศไทย 5. ประเภทการคุม้ ครองสิทธิในด้านต่างๆ 6. ปั จจัยที่มีผลต่อการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค 7. พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ 8. จรรยาบรรณนักการตลาด 9. กลยุทธ์ทางการตลาดในการพัฒนาให้ผบู้ ริโภคได้รบั สิทธิตา่ งๆดีย่งิ ขึน้ 1.ความหมายของการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค การคุม้ ครองผูบ้ ริโภค หมายถึง การดาเนินการแนะนาเผยแพร่ความรู้แก่ ผูบ้ ริโภค คอยปกป้ องคุ้มครองสิทธิตา่ ง ๆ ของประชาชน เพื่อที่จะส่งเสริมให้ ผู้บริโภคมีความเป็ นอยู่ดี มีความสุขปลอดภัยจากสิ่งเป็ นพิษต่าง ๆ รวมทัง้ ได้รับความเป็ นธรรมและเกิดความประหยัดจากการเลือกสินค้า และบริการ 2. ความสาคัญของการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค จากสานักข่าวไทย ซือ้ หมูสามชัน้ มีนา้ แข็งรองพืน้ วอนอย่าเอาเปรียบผูบ้ ริโภค - สานักข่าวไทย อสมท (mcot.net) 3. ลักษณะของการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค 3.1 การคุม้ ครองโดยส่วนรวม 3.2 การคุม้ ครองเป็ นรายบุคคล (General Protection) (Individual Protection) - ใช้มาตรการทางกฎหมายและรณรงค์เผยแพร่ - ให้สิทธิแก่บคุ คลสามารถฟ้องร้องได้ตามกฎหมาย ความรูแ้ ก่ผบู้ ริโภค 4. การคุม้ ครองสิ ทธิของผูบ้ ริ โภคในประเทศไทย พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ได้กาหนดสิ ทธิ ของผูบ้ ริ โภคในอันที่จะอุปโภค บริ โภคสิ นค้าไว้ 4 ประการ คือ 1) สิ ทธิ ที่จะได้รับข่าวสาร รวมทั้งคาพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับ สิ นค้าและบริ การ 2) สิ ทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าและบริ การ คือ สิ ทธิที่จะได้รับสิ นค้า และบริ การที่ปลอดภัยมีคุณภาพและมาตรฐาน 3) สิ ทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสิ นค้าและบริ การ ซึ่ งเป็ นสิ ทธิซ่ ึ งผูบ้ ริ โภคจะปราศจาก การชักจูงอันไม่เป็ นธรรม 4) สิ ทธิ ที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยการเสี ยหาย เมื่อเกิดการละเมิด ตามข้อ 1-3 4. การคุม้ ครองสิ ทธิของผูบ้ ริ โภคในประเทศไทย การคุ้มครองใน 3 ด้ าน คือ (1) การคุม้ ครองผูบ้ ริ โภคในด้านโฆษณา (2) การคุม้ ครองผูบ้ ริ โภคในด้านป้ายฉลาก (3) การคุม้ ครองในด้านอื่น ๆ 5. องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค 1.หน่วยงานรัฐบาล ทาหน้าที่คมุ้ ครองผูบ้ ริโภคตามกฎหมายต่างๆ เช่น คณะกรรมการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค, คณะกรรมการอาหารและยา 2. ผู้ประกอบธุรกิจ มีสว่ นในการผลิตสินค้าและบริการที่มีคณ ุ ภพ ได้มาตรฐาน และให้ขอ้ มูลที่เพียงพอแก่ผบู้ ริโภค ซึง่ ต้องมีจรรยาบรรณ ทางการตลาด 3.ผู้บริโภค รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย มาตรา ๖๑ บัญญัตวิ า่ "สิทธิของบุคคลซึ่งเป็ นผูบ ้ ริโภคย่อมได้รบั ความคุม้ ครองในการได้รบั ข้อมูลที่เป็ น ความจริงและมีสทิ ธิรอ้ งเรียนเพื่อให้ได้รบั การแก้ไขเยียวยาความเสียหาย รวมทัง้ มีสทิ ธิรวมตัวกันเพื่อพิทกั ษ์สทิ ธิของผูบ้ ริโภค ให้มีองค์การเพื่อการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค ที่เป็ นอิสระจากหน่วยงานของรัฐ ซึ่งประกอบไปด้วยตัวแทนผูบ้ ริโภค ทาหน้าที่ให้ความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของหน่วยงานของรัฐในการตราและการบังใช้ กฎหมายและกฎ และให้เห็นในการกาหนดมารตการต่างๆ เพื่อคุม้ ครองผูบ้ ริโภครวมทัง้ ตรวจสอบและรายงานการกระทาหรือละเลยการกระทาอันเป็ นการคุม้ ครอง ผูบ้ ริโภค ทัง้ นีใ้ ห้รฐั สนับสนุนงบประมาณในการดาเนินการขององค์การอิสระดังกล่าวด้วย" 5.3สิ ทธิของผูบ้ ริ โภค สานักงานคณะกรรมการการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค พระราชบัญญัติคมุ้ ครองผูบ้ ริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคมุ้ ครองผูบ้ ริโภค (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ ได้ บัญญัติสทิ ธิของผูบ้ ริโภคที่จะได้รบั ความคุม้ ครองตามกฎหมาย ๕ ประการ ดังนี ้ ๑. สิทธิท่ีจะได้รบั ข่าวสารรวมทัง้ คาพรรณนาคุณภาพที่ถกู ต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ได้แก่ สิทธิท่ีจะได้รบั การโฆษณาหรือการแสดงฉลากตามความเป็ นจริงและปราศจากพิษภัยแก่ผบู้ ริโภค รวมตลอดถึงสิทธิท่ีจะได้รบั ทราบข้อมูล เกี่ยวกับสินค้าหรือบริการอย่างถูกต้อง และเพียงพอที่จะไม่หลงผิดในการซือ้ สินค้าหรือรับบริการโดยไม่เป็ นธรรม ๒. สิทธิท่ีจะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ ได้แก่ สิทธิท่ีจะได้รบั สินค้าหรือรับบริการโดยความสมัครใจของผูบ้ ริโภค และปราศจากการชักจูงใจอันไม่เป็ นธรรม ๓. สิทธิท่ีจะได้รบั ความปลอดภัยจากการใช้สนิ ค้าหรือบริการ ได้แก่ สิทธิท่ีจะได้รบั สินค้าหรือบริการที่ปลอดภัย มีสภาพและ คุณภาพได้มาตรฐาน เหมาะสมแก่การใช้ ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกายหรือทรัพย์สนิ ในกรณีใช้ตามคาแนะนาหรือ ระมัดระวังตามสภาพของสินค้าหรือบริการนัน้ แล้ว ๔. สิทธิท่ีจะได้รบั ความเป็ นธรรมในการทาสัญญา ได้แก่ สิทธิท่ีจะได้รบั ข้อสัญญาโดยไม่ถกู เอารัดเอาเปรียบจากผูป้ ระกอบ ธุรกิจ ๕. สิทธิท่ีจะได้รบั การพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ได้แก่ สิทธิท่ีจะได้รบั การคุม้ ครองและชดเชยค่าเสียหาย เมื่อมีการ ละเมิดสิทธิของผูบ้ ริโภคตามข้อ ๑, ๒, ๓, และ ๔ ดังกล่าว 6. ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการคุ้มครองผู้บริโภค 6.1 พฤติกรรมทางสังคมของผู้บริโภค Social behaviors of consumers โดยที่พบว่าพืน้ ฐานทางสังคมของไทยในปั จจุบนั มีผลต่อการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคได้แก่ - ได้รบั การศึกษาไม่เพียงพอ - ประเพณีการกินอยู่ของท้องถิ่นไม่ถกู หลักโภชนาการ- มีความมักง่ายในการซือ้ หาสินค้าและบริการ- ต้องการความ สะดวกในการบริโภค อุปโภค - ชอบเอาอย่างกัน มีการแข่งขันกันสูง - สังคมในเมืองแบบต่างคนต่างอยู่ 6.2 ภาวะเศรษฐกิจของผู้บริโภค Consumers ' economic ปั จจัยทางเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค ได้แก่ - อานาจซือ้ ต่า จึงต้องยอมรับสินค้าที่คณ ุ ภาพต่า – การกระจายรายได้ไม่ท่วั ถึง – การขาดแคลนทรัพยากร 6.3 ระบบการตลาด Marketing System ระบบการตลาด – มีการแบ่งแยกเป็ นตลาดในเมืองใหญ่และตลาดชนบท – เกิดตลาดผูกขาดโดยผูผ้ ลิตหรือผูจ้ าหน่าย - การส่งเสริมการส่งออกมาเกินไปทาให้ไม่เห็นความสาคัญของตลาดภายในประเทศ 7.พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ 8.จรรยาบรรณนักการตลาด (Marketing Ethics) “ หลักการหรือมาตรฐานในการปฏิบตั ิงานทางการการตลาด ซึง่ เป็ นหลักการร่วมกันที่ นักการตลาดพึงยึดปฏิบตั ิอย่างมีคณ ุ ธรรมเพื่อให้เกิดความถูกต้อง ดีงาม เหมาะสมในการ ประกอบวิชาชีพด้านการตลาด และมีความรับผิดชอบต่อผลการกระทาของตน ” 8.จรรยาบรรณนักการตลาด (Marketing Ethics) 8.1 หลักการทัว่ ไป 8.จรรยาบรรณนักการตลาด (Marketing Ethics) 8.2 ข้อพึงปฏิบตั ิต่อกลุม่ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการบริหารงานทางการตลาด 1. ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ 2. ด้านการตัง้ ราคา 8.จรรยาบรรณนักการตลาด (Marketing Ethics) 8.2 ข้อพึงปฏิบตั ิตอ่ กลุม่ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการบริหารงานทางการตลาด 3. ด้านการกระจายสินค้า 4. ด้านการส่งเสริมการขาย 5. ด้านการวิจัยตลาด 8.จรรยาบรรณนักการตลาด (Marketing Ethics) 8.3 ข้อพึงปฎิบัตเิ กีย่ วกับสัมพนธภาพองค์กร 8.4 ข้อพึงปฎิบัตเิ กีย่ วกับสภาพแวดล้อม 9.กลยุทธ์ทางการตลาดในการพัฒนาให้ผบู ้ ริ โภคได้รับสิ ทธิ ต่างๆดียงิ่ ขึ้น 9.1การพัฒนาการสือ่ สารระหว่างนักการตลาดกับผู้บริโภค 1) การจัดตัง้ คณะกรรมการให้คาแนะนาแก่ผบู้ ริโภค 2) การรับฟั งข้อตาหนิ/คาร้องของผูบ้ ริโภค (1) การกาจัดกาแพงระหว่างทัง้ สองฝ่ าย (2) จัดทาการสารวจเกี่ยวกับความพอใจของผูบ้ ริโภค 3) ต้องทาให้แน่ใจว่าคาร้องของผูบ้ ริโภคได้รบั ความสนใจจากฝ่ ายจัดการ 4) ต้องมีการจัดการข้อร้องเรียนต่าง ๆ โดยเร็ว 5) การตัดสินข้อร้องเรียน 6) การจัดตัง้ สานักงานกิจกรรมเกี่ยวกับผูบ้ ริโภค 9.กลยุทธ์ทางการตลาดในการพัฒนาให้ผบู ้ ริ โภคได้รับสิ ทธิ ต่างๆดียงิ่ ขึ้น 9.2 การพัฒนาโปรแกรมการให้การศึกษาแก่ผบู้ ริโภค วัตถุประสงค์ของโปรแกรมการให้การศึกษาแก่ผบู้ ริโภคไม่ได้มีไว้เพียงเพื่อให้ขอ้ มูล แต่จดั ทาขึน้ เพื่อ “สอน ให้คนรูว้ า่ เลือก ใช้ และประเมินข้อมูลต่าง ๆ อย่างไร เพื่อช่วยให้ผบู้ ริโภคพัฒนาความสามารถในการซือ้ และการบริโภคผลิตภัณฑ์และบริการที่มีอยูเ่ พื่อความเป็ นอยูท่ ่ีดีขนึ ้ ” PDPA : Personal Data Protection Act https://pdpa.pro/blogs/in-summary-what-is-pdpa คาถามท้ายบท

Use Quizgecko on...
Browser
Browser