🎧 New: AI-Generated Podcasts Turn your study notes into engaging audio conversations. Learn more

พฤติกรรมเบี่ยงเบน และการใช้ความรุนแรง 2567 เอกสาร.pdf

Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

Full Transcript

พฤติกรรมเบี่ยงเบน ความรุนแรง และปัญหาสั งคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุ มนทิ พย์ จิ ตสว่ าง ภาควิ ชาสังคมวิ ทยาและมานุ ษยวิ ทยา คณะรัฐศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย พฤติกรรมเบี่ยงเบน คือ อะไร? ความหมาย...

พฤติกรรมเบี่ยงเบน ความรุนแรง และปัญหาสั งคม รองศาสตราจารย์ ดร.สุ มนทิ พย์ จิ ตสว่ าง ภาควิ ชาสังคมวิ ทยาและมานุ ษยวิ ทยา คณะรัฐศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย พฤติกรรมเบี่ยงเบน คือ อะไร? ความหมายของพฤติกรรมเบี่ยงเบน ลันเบอร์กและคณะ (Lundberg ; et al., 1963: 150) พฤติกรรมเบี่ย งเบน หมายถึง พฤติกรรมใด ๆ ที่ไ ม่เ ป็ นไปตามเกณฑ์ บางอย่างที่ระบุไว้ เกณฑ์ดงั กล่าวอาจจะเป็ นไปในรู ปบรรทัดฐานที่บอกให้ทราบว่า บุคคล ควรจะปฏิบตั ิตนอย่างไร ในสถานการณ์ที่กาหนดให้ พฤติกรรมเบี่ยงเบน หรื อเกณฑ์ดงั กล่าวมีพ้นื ฐานมาจาก พฤติกรรมที่บุคคลส่ วนใหญ่กระทาในสถานการณ์น้นั ๆ ความเบี่ยงเบนจึงถือเป็ นปรากฎการณ์สากล กล่าวคือ เมื่อมีกฎเกณฑ์แล้วก็จะมีคนบางคนที่ไม่ปฏิบตั ิตามอย่าง พฤติกรรมเบี่ยงเบน โคเฮน (Cohen. 1965: 31-37) เสนอว่า พฤติกรรมเบี่ยงเบนเป็ นการละเมิดความคาดหวังของสถาบัน (ความคาดหวังที่มีการรับรู้ และการมีส่วนร่ วม ซึ่งเป็ นเสมือนความชอบธรรมในระบบสังคม) พฤติกรรมเบี่ยงเบน พฤติกรรมเบี่ยงเบนมิใช่เป็ นเรื่ องที่สังคมวิทยาปรุ งแต่งขึ้น แต่เป็ นข้อเท็จจริ งอย่างหนึ่งของชีวติ ทางสังคม โดยบุคคลในสังคมนั้นเป็ นผูว้ างขอบข่ายเอาเองว่า การกระทาชนิดใดบ้างที่จดั ได้วา่ เป็ นการฝ่ าฝื นข้อบังคับ และบุคคลใดบ้างที่เป็ นผูท้ าลายกฎเกณฑ์ พฤติกรรมใดที่เป็ นพฤติกรรมเบี่ยงเบน พฤติกรรมเบี่ยงเบน โคเฮ็นได้กล่าวว่า พฤติกรรมเบี่ยงเบน คือ พฤติกรรมที่ฝ่าฝื นต่อระเบียบกฎเกณฑ์ที่ต้งั ไว้ยงั ไม่เป็ นการเพียงพอ และการที่เข้าใจความหมายของพฤติกรรมเบี่ยงเบนให้แจ่มแจ้งนั้นควร จะพิจารณาปัจจัยต่างๆ ที่เกีย่ วข้องเข้าร่ วมด้วย ปัจจัยต่ างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับพฤติกรรมเบี่ยงเบน 1. ระบบสังคมที่บุคคลถือว่าตนเองเป็ นสมาชิกอยู่ 2. กฎเกณฑ์ต่อระบบสังคมนั้น 3. พฤติกรรมเบี่ยงเบนควรจะหมายรวมถึง พฤติกรรมที่ละเมิดกฎของ สังคม ได้แก่ เด็กและเยาวชนที่ทาผิดกฎ และถูกลงโทษตามกฎเกณฑ์แห่งสังคม นั้นได้กาหนดไว้ ซึ่งพฤติกรรมนี้อาจจะเกิดจากการบังเอิญ หรื อความ ประมาทอันแก้ไขได้ และพฤติกรรมที่เกิดจากนิสัยจิตใจที่สะสมมาด้วยเหตุ ใดก็ตาม แม้จะถูกลงโทษแล้วก็ยงั กระทาอีก 4. การกระทาที่ถือว่าเบี่ยงเบนนั้น เป็ นได้ท้ งั การกระทาของบุคคลคนเดียว หรือ ของหมู่คณะ ความหมาย Biesanz and biesanz พฤติกรรมเบี่ยงเบน หมายถึง พฤติกรรม หรื อความประพฤติที่ขดั แย้งกับ บรรทัดฐานของกลุ่มหรื อสังคมส่ วนรวมซึ่งหากมีการฝ่ าฝื นบรรทัดฐาน ดังกล่าวจะได้รับการลงโทษ พฤติกรรมเบี่ยงเบน : ( Emile Durkheim ) 1. เกีย่ วข้องกับค่านิยม วัฒนธรรม และบรรทัดฐาน เห็นคุณค่าบรรทัดฐาน 2. กาหนดด้วยศีลธรรม 3. ทาให้เห็นถึงความเป็ นหนึ่งเดียวของสังคม 4. นาไปสู่ ความเปลี่ยนแปลงในสังคม Kai Erikson : - พฤติกรรมเบี่ยงเบนทีเ่ ปลีย่ นแปลง = สภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลง - คนในสั งคมเป็ นคนกาหนดพฤติกรรมเบี่ยงเบน องค์ ประกอบของการจัดระเบียบสั งคม บรรทัดฐานทางสังคมหรือปทัสถาน (Norms) หมายถึง มาตรฐานที่คนส่ วนใหญ่ในกลุ่มยึดถือ เป็ นแนวทางในการ ปฏิบตั ิ ได้แก่ กฎ ระเบียบ แบบแผนความประพฤติต่าง ๆ ประเภทของบรรทัดฐานทางสังคม แบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ 1. วิถีประชา หรื อ วิถีชาวบ้าน (Folkways) 2. กฎศีลธรรม หรื อ จารี ต (Morals) 3. กฎหมาย (Laws) ประเภทของบรรทัดฐานทางสั งคม Folkways :วิถีประชา หรื อ วิถีชาวบ้าน เป็ นบรรทัดฐานที่เกิดจากและจัด ระเบียบปฏิสัมพันธ์แบบไม่เป็ นทางการ และเกิดขึ้นจากการทาซ้ า ๆ และกิจวัตร ประจาวัน เช่น การแต่งกาย Mores มีความเข้มงวดมากกว่าวิถีชาวบ้าน เนื่องจากเป็ นตัวกาหนดสิ่ งที่ถือ เป็ นพฤติกรรมทางศีลธรรมและจริ ยธรรม เป็ นสิ่ งกาหนดความแตกต่างระหว่าง ถูกและผิด Taboo ข้อห้าม ถือเป็ นบรรทัดฐานเชิงลบที่แข็งแกร่ งมาก เป็ นการห้าม พฤติกรรมบางอย่างที่เข้มงวดมากจนฝ่ าฝื นส่ งผลให้เกิดความรังเกียจอย่างยิ่ง และถึงขั้นถูกไล่ออกจากกลุ่มหรื อสังคม Laws กฎหมายเป็ นบรรทัดฐานที่ได้รับการจารึ กไว้อย่างเป็ นทางการใน สังคมและบังคับใช้โดยตารวจหรื อเจ้าหน้าที่ของรัฐอื่น ๆ สรุป : พฤติกรรมเบี่ยงเบน คือ พฤติกรรมที่มีความขัดแย้ง หรื อ แตกต่างไปจากบรรทัดฐานในสังคม โดยกลุ่มคนในสังคมเห็นว่าผิด หรื อแตกต่างจากคนทัว่ ไป โดยมีรูปแบบของพฤติกรรมที่แตกต่างจากกลุ่มคนส่ วนใหญ่ *เพียงเล็กน้อยไม่กอ่ ให้เกิดความเสี ยหายต่อสังคม *จนกระทัง่ พฤติกรรมที่กอ่ ให้เกิดความเสี ยหายต่อสังคมส่ วนรวมอย่าง รุ นแรง สรุปพฤติกรรมเบี่ยงเบน ผูม้ ีพฤติกรรมเบี่ยงเบนได้รับโทษ -ไม่เป็ นทางการ โดยได้รับโทษเล็กน้อย -เป็ นทางการ โดยได้รับโทษทางกฎหมาย 1. การควบคุมอย่างไม่เป็ นทางการ (Informal) ทาได้ในกลุ่มเล็กๆ เช่น ครอบครัว กลุ่มเพื่อน เพื่อนบ้าน วิธีการที่ใช้ได้แก่ การว่ากล่าวตักเตือน การวิพากษ์วจิ ารณ์ การประฌามเย้ยหยัน ไม่ยอมคบค้าสมาคมด้วย จนถึงขั้นขับไล่ออกจากกลุ่มหรื อสังคม 2. การควบคุมอย่างเป็ นทางการ (Formal) ใช้กบั สังคมขนาดใหญ่ ซึ่งสมาชิกมีจานวนมาก และมีความหลากหลายในด้านต่างๆ (Hetergeneous group) การควบคุมอย่างเป็ น ทางการนั้นต้องอาศัยกฎหมาย เจ้าหน้าที่ของรัฐ เข้ามาทาหน้าที่จดั ระเบียบ หรื อ การจับกุมผูก้ ระทาผิดมาลงโทษ ความสั มพันธ์ ระหว่ างพฤติกรรมเบี่ยงเบน และพฤติกรรมอาชญากร * พฤติกรรมเบี่ยงเบน - คนในสังคมกาหนด มีบทลงโทษ - ไม่เป็ นทางการ และ เป็ นทางการ *พฤติกรรมอาชญากร - คนในสังคมกาหนดอย่างเป็ นทางการร่วมกัน โดยมีบทลงโทษ * ที่บญั ญัติไว้ใน เป็ นทางการ * กฎหมายอาญาบ้านเมือง * เป็ นลายลักษณ์อกั ษร ประเภทของพฤติกรรมเบี่ยงเบน - Biesanz and Biesanz John Biesanz and Mavis Biesanz ได้แบ่งพฤติกรรม เบี่ยงเบนไว้ดงั นี้ ประเภทของพฤติกรรมเบี่ยงเบน 1. ความประพฤติไม่เหมาะสม ( Improper ) 2. การเป็ นปรปักษ์ต่อผูอ้ ื่น ( antisocial behavior ) 3. ทาลายตัวเอง (Self destructive ) 4. ละเมิดกฎศีลธรรม ( Immoral ) 5. ทาลายสังคม ( Destructive to the society ) 6. ความผิดปกติของร่ างกาย (Disorders of the body) ประเภทของพฤติกรรมเบี่ยงเบน ดร.จานง อภิวฒ ั นสิทธิ์ และคณะ 1.การกระทาเบี่ยงเบน ( deviant acts ) เช่น การฆ่าตัวตาย การก่ออาชญากรรม 2.นิสัยเบี่ยงเบน ( deviant habits ) เช่น เหล้า การพนัน 3.จิตเบี่ยงเบน ( deviant psychology ) เช่น หวาดกลัว หวาดระแวง 4.วัฒนธรรมเบี่ยงเบน ( deviant culture ) เช่น ฮิปปี้ ประเภทพฤติกรรมเบี่ยงเบน คินาร์ด Cinard พฤติกรรมเบี่ยงเบน 10 ประเภท 1. อาชญากรรมและการกระทาผิด (Crime and delinquency) 2. พฤติกรรมรักร่ วมเพศ (Homosexual behavior) 3. โสเภณี (Prostitution) 4. การติดยาเสพติด (Drug addiction) 5. การติดสุ ราเรื้ อรัง (Alcoholism) 6. ความผิดปกติทางจิต (Mental disorders) พฤติกรรมเบี่ยงเบน 7. การฆ่าตัวตาย(Suicide) 8. ความขัดแย้งในบทบาทของภาวะครอบครัว (Conflicts in marital and family Roles) 9. ความขัดแย้งในบทบาทในฐานะในวัยชรา (Role and status confict in old age) 10. ความมีอคติต่อชนกลุ่มน้อย (Discrimination against minority groups) ลักษณะบางประการของพฤติกรรมเบี่ยงเบน 1. พฤติกรรมธรรมดาและ มีทุกสังคม 2. เกณฑ์การตัดสิ นพฤติกรรมเบี่ยงเบน -ขึ้นกับบรรทัดฐาน ค่านิยม แต่ละสังคม -ขึ้นกับกาลเวลา -ขึ้นกับสถานการณ์ 3.บางสังคมมองว่าเป็ นพฤติกรรมเบี่ยงเบน บางสังคมมองว่าเป็ น พฤติกรรมปกติ ลักษณะบางประการของพฤติกรรมเบี่ยงเบน 4.พฤติกรรมเบี่ยงเบนแต่ละประเภท รุ นแรงไม่เท่ากัน + โทษไม่เท่ากัน 5.พฤติกรรมเบี่ยงเบนบางอย่างเป็ นปัญหาสังคม 6.การเกิดพฤติกรรมเบี่ยงเบน ไม่ต้งั ใจ : เจตนา ลักษณะบางประการของพฤติกรรมเบี่ยงเบน 7.พฤติกรรมเบี่ยงเบนถ้าไม่มีใครรู้เห็นไม่รู้สึกว่ากาลังมี พฤติกรรมเบี่ยงเบน Ex. ฝ่ าฝื นสัญญาณจราจร 8.ทุกคนเคยมีพฤติกรรมเบี่ยงเบน 9.พฤติกรรมเบี่ยงเบนบางอย่างอาจได้รับการยอมรับ /ปฏิบตั ิแพร่ หลายใน เวลาต่อมา ลักษณะบางประการของพฤติกรรมเบี่ยงเบน 10.พฤติกรรมเบี่ยงเบนก่อให้เกิด โทษ , ผลเสี ย : ประโยชน์ , ผลดี 11.มักมีการรวมกลุ่มของผูม้ ีพฤติกรรมเบี่ยงเบนเดียวกัน 12.ความเปลี่ยนแปลงบางประการซึ่งนาการเปลี่ยนแปลงมาสู่ สังคม Ex. การปฏิวตั ิ ผลเสี ยของพฤติกรรมเบี่ยงเบน 1. ทาให้สังคมไม่เป็ นระเบียบเรี ยบร้อย 2. ทาให้คนทัว่ ไปเกิดความสับสนในบรรทัดฐานของสังคม 3. ทาให้รัฐเสี ยงบประมาณในการป้องกันและปราบปราม 4. ความเสื่ อมโทรมของศีลธรรม 5. ทาให้เกิดปัญหาสังคม ผลดีของพฤติกรรมเบี่ยงเบน 1. พฤติกรรมบางอย่างนาไปสู่ การแก้ไขปัญหาสังคม เช่น โสเภณี ป้องกันการข่มขืน 2. พฤติกรรมบางอย่างอาจนาไปสู่ การพัฒนาสังคม สิ ทธิมนุษยชนที่เท่าเทียมกัน พฤติกรรมเบี่ยงเบนเด็กและเยาวชน อัพยา ท้าตี ฟรี เซ็กส์ เด็กแวนท์ ปั ญหาสังคม มีความเกีย่ วข้องกับพฤติกรรมเบี่ยงเบน รวมทั้งการใช้ความรุ นแรง เพราะหากมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนจานวนมากในสังคม จะก่อให้เกิดปัญหา สังคมไร้ระเบียบ อันส่ งผลกระทบต่อคุณภาพชีวติ ของสมาชิกในสังคม และความสงบสุ ขของสังคมโดยตรง โดยเฉพาะปัญหาสังคมที่มีความรุ นแรง คือ อาชญากรรม อาชญากรรม อาชญากรรม หมายถึง การกระทาทีล่ ะเมิดต่ อ กฎหมายทีม่ ีโทษทางอาญา เป็ นพฤติกรรมเบี่ยงเบนทีเ่ กีย่ วข้ องกับ กฎหมาย ปั ญหาสังคมที่สาคัญในสังคมไทย การใช้ความรุ นแรงในสังคมไทย – ความรุนแรงต่อตนเอง : การฆ่าตัวตาย – ความรุนแรงระหว่างบุคคล : ความรุนแรงในครอบครัว เด็ก สตรี คนชรา ปัญหาอาชญากรรม – ความรุนแรงระหว่างกลุ่ม : การกระทาผิดของเด็กและเยาวชน การก่อความไม่สงบ พฤติกรรมเบี่ยงเบนมีความเกี่ยวข้องกับ ความรุ นแรงในสังคม ความรุ นแรงของสังคมไทยในสถานการณ์โลก ความรุนแรงได้พรากชีวิตผู้คนทั่วโลกไปมากกว่า 1.5 ล้านคนทุกปี ไม่ว่าจะมาจาก ฆ่าตัวตาย ฆาตกรรม สงคราม หรือความขัดแย้งรูปแบบอื่น ความรุนแรง (violence) หมายถึง การใช้ กาลัง หรื อพลัง ทางกายโดยเจตนา ต่ อตนเอง ผู้อนื่ กลุ่ม หรื อชุ มชน โดยข่ มขู่ หรื อเพื่ อให้ เกิด หรื อมี ความเป็ นไปได้ สู งว่ า จะเกิ ดการบาดเจ็ บ เสี ยชี วิ ต ทาร้ า ยจิ ต ใจ ส่ งผลต่ อการลิดรอน หรื อการ พัฒนาที่ไม่ เพียงพอ โดยนิ ยา มนี ้ เ กี่ ย ว ข้ อ งกั บ เจต นา ของการก่ อ พฤติ กรรมนั้ น โดยไม่ คานึ งถึงผลที่ตามมา นิ ยามโดยองค์การอนามัยโลก (WHO) ประเภทของความรุนแรง 1.ความรุ1.นความรุ นแรงต่ แรงต่ อตนเอง อตนเอง (self-directed 3. ความรุ นแรงระหว่างกลุ่ม (Self-directed violence) (Collective Violence) Violence) การฆ่าตัวตาย (suicide) ความรุ นแรงทางเศรษฐกิจ 2. ความรุนการฆ่ าตัวตาย ความรุ นแรงทางสั งคม แรงระหว่างบุคคล ความรุ นแรงทางการเมือ ง (Suicide) (interpersonal violence) 2.1 ความรุ นแรงในครอบครั ว นแรงระหว่างบุคคล 2. ความรุ (domestic violence) (Interpersonal Violence) 2.2 ความรุ นแรงในชุมชน (communityความรุ นแรงในครอบครั ว violence) อาทิ (Domestic violence) ความรุ นแรงต่อสตรี ความรุ นแรงในชุ มชน ความรุ นแรงต่อเด็ก (Community อาทิ violence) ความรุ นแรงต่อผู ส้ ู งอายุ ความรุ นแรงต่ อ สตรี ความรุ นแรงต่ อ เด็ก ความรุ นแรงต่ อ ผู้สูงอายุ พ.ศ.2567 ประเทศที่มีความสงบสุ ข ลาดับ 75 ประเทศไทย อันดับที่ 92 ความรุนแรงของสังคมไทยในสถานการณ์โลก ประเทศไทย ลาดับ 103 ปัญหาความรุนแรงของสังคมไทย ในสถานการณ์โลก 22 การใช้ ความรุ นแรงในสังคมไทย เมื่อเปรียบเทียบกับสถานการณ์โลก ความรุนแรง 3 ระดับ ข้ อมูลพื้นฐาน (base line) ความรุนแรงในสั งคมไทยเมื่อเปรียบเทียบกับสถานการณ์โลก อันดับ 113 ใน 163 ความรุนแรงในสังคม 1. ความรุนแรงต่ อตนเอง (Self-directed Violence) การฆ่าตัวตาย ปั ญหาความเครี ยดทางการเงินจากสภาพเศรษฐกิจ การแยกตัวทางสั งคม การว่างงานก่ อให้ เกิดความเสี่ ยง ต่ อการฆ่ าตัวตายเพิ่มขึน้ 2 – 3 เท่า ผลกระทบต่ อสภาวะสุ ขภาพจิตทีส่ ่ งผลระยะยาวจากการ แพร่ ระบาดของโควิด-19 อันอาจทาให้ จานวนการฆ่ าตัวตายไม่ ได้ หมดไปภายหลัง การยุติการแพร่ ระบาดของโควิด-19 2023 ประเทศไทย ความรุนแรงระหว่ างบุคคล (Interpersonal Violence) ความรุนแรงในครอบครัว : สตรี เด็ก คนชรา ความรุนแรงต่อสตรี ความรุนแรงในครอบครัว ข่มขืน : ความรุนแรงทาง เพศ ความรุนแรงในครอบครัว ความรุนแรงต่ อสตรี ถูกฆาตกรรม 11 นาที : 1 คน ประเทศไทย 1 วัน : 4 คน 1 1 ความรุนแรงต่อสตรี รายงานขององค์ การสหประชาชาติ ระหว่ าง ค.ศ.2000-2018 การใช้ความรุ นแรงต่ อสตรี จานวน 161 ประเทศ สตรีจานวนประมาณ 1 ใน 3 (ร้ อยละ 30 ) ของสตรีทั่วโลก อายุระหว่ าง 15-49 ปี ประสบกับการถูกใช้ ความรุนแรงทางร่ างกาย และ/หรือ ความรุนแรงทางเพศ จากคู่รักหรือสามี ความรุนแรงในครอบครัว ข้ อมูลของUNODC พบว่ า ในแต่ ละวันมีผ้ หู ญิงต้ องเสี ยชี วิต โดยเฉลีย่ 137 คนทั่วโลก เหตุ เพราะถูกคู่ครอง หรือคนในครอบครัวสั งหาร ความรุนแรงต่อสตรี When we make a home When we share a dream… The home remains the most dangerous place for women, who continue to bear the heaviest burden of lethal victimization as a result of inequality and gender stereotypes. (UNODC) "บ้ าน" คือสถานที่อันตรายมากที่สุด สาหรั บผ้ หู ญิง จริ งหรื อ? ความรุนแรงต่อเด็ก ความรุนแรงต่อเด็กและเยาวชน  ประเภทของความ รุ นแรงต่ อเด็กและเยาวชน - เด็กและเยาวชน จานวน 1,700,000,000 คน ได้ แก่ - การรั งแกกลั่นแกล้ ง ( หนึ่งพันเจ็ดร้ อยล้ านคน) - การต่ อสู้ - หรือคิดเป็ น 3 ใน 4 ของเด็ก - การทารุ ณกรรม และเยาวชนทั่วโลก - ความรุ นแรงทางเพศ - ตกเป็ นเหยื่อหรื อมีส่วนเกี่ยวข้ อง -การลงโทษทางร่ างกาย กับการใช้ ความรุ นแรงทุก ๆ ปี ในบ้ าน ในสถานศึ กษา ความรุนแรงต่อเด็ก เด็กจานวน 1 ใน 2 หรือ จานวนประมาณ 1 พันล้านคนทั่วโลกถูกใช้ ความรุนแรง เด็กจานวน 3 ใน 4 หรือ จานวนประมาณ 300 ล้านคน - อายุ ระหว่าง 2 – 4 ปี ถูกใช้ ความรุนแรงจากพ่อแม่หรือผู้ปกครอง ด้วยการลงโทษทางด้านร่ างกาย - อายุต่ากว่า 5 ปี ต้องอาศัยอยู่กับแม่ที่ต้องตกเป็ นเหยื่อของความรุนแรงในครอบครัว ความรุนแรงต่อเด็ก ประเทศไทย พ.ศ.2564 : สถิติการให้บริการ ของศูนย์ช่วยเหลือสังคม 1300 การใช้ ความรุนแรงของเด็กและเยาวชนาร กและเยาวชน พ.ศ.2542 พ.ศ.2561 การใช้ ความรุ นแรงของเด็กและเยาวชนทัว่ โลก การรั งแกในโรงเรี ยนทัว่ โลก การกระทาผิดของผู้ทมี่ ีอายุระหว่าง 10 – 29 ปี ทัว่ โลก อันดับที่ 2 ของโลก (รองจากประเทศญี่ปน) ุ่ สถิติอันดับ 8 ของโลก พ.ศ.2556 เด็กและเยาวชนกระทาผิดกระทาผิด ในประชาคมอาเซี ยน เหยื่ อเฉลี่ย 6 แสนคนต่อปี สถิตอันิอันดับดั1บ 1 นักเรียนถูกรังแกจากเพื่อนนักเรียน สู งถึงร้ อยละ 40 ความรุนแรงในครอบครัวที่มีต่อเด็กในประเทศไทย ระหว่ าง ปี พ.ศ. 2556-2563 อันดับ 1 เด็กถูกกระทาความรุนแรงทางร่ างกายมากที่สุด ร้ อยละ 63 อันดับที่ 2 เด็กถูกกระทาความรุนแรงทางเพศ 756 ราย ร้ อยละ 43 และ อันที่ 3 เด็กถูกกระทาความรุนแรงทางจิตใจ 105 ราย ร้ อยละ 6 (ข้อมูลจากกรมกิจการเด็กและเยาวชน) ความรุนแรงต่ อผ้ สู ู งอายุ ความรุนแรงต่อผ้สู ู งอายุทวั่ โลก การศึกษาขององค์การสหประชาชาติ ใน ค.ศ.2017 ศึกษาที่ เกี่ยวข้องกับการใช้ความรุ นแรงต่อผู ้สูงอายุ จานวน 52 เรื่ อง จาก 28 ประเทศทั่วโลกที่ มีรายได้เฉลี่ยในระดับตา่ และปานกลาง ผู้สูงอายุทมี่ ีอายุ 60 ปี ขึน้ ไป ต้ องเผชิ ญกับความรุ นแรง อันดับที่ 1 ความรุ นแรงทางด้ านจิตใจ ร้ อยละ 11.6 อันดับที่ 2 ความรุ นแรงทีเ่ กี่ยวข้ องกับการละเมิดทาง การเงิน /การถูกหลอกลวงทรั พย์ สิน ร้ อยละ 6.8 อันดับที่ 3 การทอดทิง้ ไม่ ดูแล ร้ อยละ 4.2 อันดับที่ 4 การถูกทาร้ ายทางร่ างกาย ร้ อยละ 2.6 อันดับที่ 5 การถูกล่ วงละเมิดทางเพศ ร้ อยละ 0.9 ความรุนแรงต่อผ้สู ู งอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุ ษย์ (พม.) โดย พม.โพล ระบุ ผลสารวจล่ าสุ ดใน พ.ศ. 2562 พบว่ า ผูส้ ู งอายุถูกทาร้ายจิ ตใจ ร้อยละ 35.04 ถู กทอดทิ้ ง ร้อยละ 30.98 และถู กทาร้ายร่ างกาย ร้อยละ 23.5 และประเด็นสาคัญที่ ควรตระหนักให้ความสาคัญ คื อ ผูก้ ระทาความรุ นแรง ส่ วนใหญ่ ร้อยละ 52 เป็ นบุ คคลใกล้ชิดที่ อยู่ใน ครอบครัว ซึ่ งมี ความสอดคล้องกับข้อมู ลของกรมสุ ขภาพจิ ต ความรุนแรงต่อผ้สู ู งอายุ จากผลการศึ กษาขององค์การอนามัยโลกต่ อการใช้ความรุ นแรงต่ อผูส้ ู งอายุ (WHO, 2021) พบว่ า ผูส้ ู งอายุที่มีอายุต้ งั แต่ 60 ปี จานวน 1 ใน 6 มี ประสบการณ์ถูกใช้ความรุ นแรงจากครอบครัว หรื อ ชุ มชนที่ อาศัยอยู่ หากแต่ อตั ราการใช้ความรุ นแรงต่ อผูส้ ู งอายมี จานวนเพิ่มมากขึ้ นในสถาบันที่เกี่ยวข้องกับ ผูส้ ู งอายุ อาทิ ในสถานที่ รับเลี้ ยงดู ผสู ้ ู งอายุ สถานที่ รับเลี้ ยงดู แลผูส้ ู งอายุในระยะเวลานาน ความรุนแรงต่อผ้สู ู งอายุในสถานทีร่ ับเลี้ยงดู อันดับที่ 1 ความรุนแรงทางด้ านจิตใจ ร้ อยละ 33.4 อันดับที่ 2 การถูกทาร้ ายทางร่ างกาย ร้ อยละ 14.1 อันดับที่ 3 ความรุนแรงที่เกีย่ วกับการละเมิดทางการเงิน / การถูกหลอกลวงทรัพย์ สิน ร้ อยละ 13.8 อันดับที่ 4 การทอดทิง้ ไม่ ดูแล ร้ อยละ 11.6 อันดับที่ 5 การถูกล่วงละเมิดทางเพศ ร้ อยละ 1.9 ความรุนแรงในช่ วงการแพร่ ระบาดโควิด-19 ความรุ นแรงในครอบครั ว : จานวนเพิ่มขึ ้น มาตการล็อกดาวน์และห้ามออกจากสถานที่อยูอ่ าศัย ใน พ.ศ.2563 มีผทู้ ี่ตอ้ งตกเป็ นผูถ้ ูกใช้ความรุ นแรงในครอบครัวจานวนกว่า 243 ล้ านคนทั่ วโลก ประเทศไทย พบว่าความรุนแรงในครอบครัวเพิม่ สูงขึ้นถึงร้อยละ 66 ความรุ นแรงต่ อสตรี : 1 ใน 3 ประสบกับความรุ นแรง ความรุ นแรงต่ อเด็ก - โควิด-19 ทาให้ปิดโรงเรี ยน - ส่งผลให้เด็ก 1.5 พันล้านคนทั่วโลก ประสบกับการถูกใช้ความรุ นแรง ความรุนแรงในช่ วงการแพร่ ระบาดโควิด-19 ความรุนแรงที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรม ต่ างประเทศ อาชญากรรมที่เกิดจากความเกลียดชั ง ประเทศไทย อาชญากรรมทีเ่ กี่ยวข้ องกับยาเสพติด และคดีทเี่ กี่ยวข้ องกับทรั พย์ เพิ่มมากขึน้ การใช้ ความรุนแรงของเด็กและเยาวชน การสารวจขององค์ การยูนิเซฟต่ อการใช้ ความรุ น แรงของเด็กและเยาวชน ในสถานศึ กษาในพ.ศ.2561จากทัง้ หมด 122 ประเทศทัว่ โลก พบว่าเยาวชนทัว่ โลกทีม่ ีอายุระหว่าง 13 – 15 ปี กว่าครึ่ ง หรื อ ประมาณ ร้ อยละ 51 หรื อ ประมาณ 150 ล้ านคน เคยประสบกับความรุ นแรงในโรงเรี ยน หรื อเคยถูกกลั่นแกล้ งจากสั งคมรอบข้ าง การใช้ ความรุนแรงของเด็กและเยาวชนในสถานศึกษา พ.ศ.2561 สถานการณ์ความ รุนแรงในสถานศึกษา เด็กไทยถูกรั งแกในโรงเรี ยนเป็ นอันดับที่ 2 ของโลก มีแนวโน้ มสู งขึ้นเรื่ อยๆ รองจากประเทศญี่ปนุ่ เหยื่ อ ความรุ นแรงเฉลี่ย 6 แสนคนต่ อปี 3. ความรุนแรงระหว่ างกลุ่ม (Collective Violence) การก่ อการร้ าย ประเทศไทย : อันดับที่ 22 ความรุ นแรงระหว่างกลุ่ม (Collective Violence) อันดับ 28 เทคโนโลยีและการใช้ ความรุนแรง สื่ อสั งคมออนไลน์ ผลการสารวจทัว่ โลก กลุม่ เปราะบาง นักการเมื องหญิง ร้อยละ 82 เคยประสบความรุ นแรงทางจิตใจในขณะดารงตาแหน่ง นักข่าวหญิ ง มากกว่า ร้อยละ 73 ประสบความรุ นแรงผ่านโซเชียลมี เดีย สหภาพยุโรป : ผู้หญิง 1 ใน 10 เผชิญกับการถูกคุกคามทางเพศผ่านสังคมออนไลน์ เกาหลีใต้ : ผู้หญิงร้อยละ 85 เผชิญกับการถูกใช้ความรุนแรงทางวาจา (Hate Speech) ประเทศไทย : ผู ห้ ญิ งถูกหลอกให้รัก (Romance Scam) มากที่สุดในโลก เด็กไทย 1 ใน 10 คน เคยถูกล่ วงละเมิด แสวงประโยชน์ ทางเพศในโลกออนไลน์ ยี ความรุนแรงทางเศรษฐกิจ การควบคุม กีดกัน หรื อทาลาย ทางเศรษฐกิจ เหยื่ออาจไม่ตระหนักการเป็ น เหยื่อ มูลค่ าความเสี ยหาย ผลกระทบเศรษฐกิจระยะสั้น/ -คอลเซ็ นเตอร์ ต่อเนื่ องระยะยาว 2565-2566 = “5 หมื่นล้ านบาท!!” ร่ างกาย / จิ ตใจ -จีนสี เทา ความยากจน ไม่ต่ากว่า หมื่ นล้ านบาท ความรุ นแรงอื่น ๆ ปั จจัยเสี่ ยง / กระตุ้ น สุ รา /ยาเสพติด อาวุธปื น อาวุธปื นและความรุนแรงในครอบครัว ความรุนแรงในครอบครัวที่เกีย่ วข้ องกับอาวุธปื น -จะส่ งผลต่ อการฆาตกรรมถึง 500 เท่ าของความรุ นแรงในครอบครั วทีไ่ ม่ มีอ าวุธปื น ผลกระทบของความรุ นแรง ผลกระทบของความรุนแรงต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย พ.ศ.2564 มูลค่ าความเสี ยหายทีเ่ กิดจากความรุ นแรง ทั่วโลก : 16.5 ล้ านล้ านดอลล่ าร์ สหรัฐ ประเทศไทย : 55,591.2 ล้ านดอลล่ าร์ สหรัฐ ต่อคน 1,387.5 ดอลล่าร์สหรัฐ (ประมาณ 49,603.125 บาท) ผลกระทบของความรุนแรงต่อเศรษฐกิจของโลกและประเทศไทย พ.ศ.2566 มูลค่ าความเสี ยหายทีเ่ กิดจากความรุ นแรง ทั่วโลก : 19.1 ล้ านล้ านดอลล่ าร์ สหรัฐ =13.5% GDPของโลก ประเทศไทย : 55,661,472,817ล้ านดอลล่ าร์ สหรัฐ ต่อคน 1,319.83 ดอลล่าร์สหรัฐ (ประมาณ 46,418.42 บาท) ผลกระทบต่ อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ความรุนแรงทาให้ ช่วงชีวิตของมนุษย์ส้ันลง ข้ อมูลของUNODCได้ มีการสารวจการฆาตกรรมใน ค.ศ.2018 - ผู้ที่ตกเป็ นเหยื่อที่เสี ยชี วิตจากความรุนแรงมากที่สุดในโลก - มีอายุระหว่ าง 15 – 29 ปี - ต้ องเสี ยชี วิตปี ละประมาณล้านกว่ าคนทั่วโลก ความเสื่ อมโทรมของ สั งคม อุปสรรคต่ อการพัฒนาความยั่งยืน สงบสุ ข ของสั งคม การใช้ ความรุนแรงในสั งคมเป็ นสิ่ งทีส่ ะท้อนให้เห็นถึงปัญหาสั งคม ปั ญหาครอบครั ว ปั ญหาความผูกพันของสมาชิกในสังคม ปั ญหาสุ รา ยาเสพติด ปั ญหาอาวุธหาได้ง่าย โดยเฉพาะ “ปื น” ค่านิ ยม : วัตถุนิยม การใช้ความรุ นแรงเป็ นเรื่ องปกติ สื่ อ : ถ่ายทอดความรุ นแรงเป็ นเรื่ องปกติธรรมดาของสังคม การควบคุมอารมณ์ของสมาชิกในสังคม : “ความโกรธ” ปั ญหาขาดสติไม่สามารถควบคุมตัวได้เมื่ อต้องประสบกับการยัว่ ยุให้เกิดความรุ นแรง ปั ญหาด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ของคนในสังคม การถ่ายทอดวัฏจักรความรุนแรง จากรุ่นไปสู่ รุ่ น ความรุนแรง ความรุนแรง ความรุนแรง ความรุนแรง ความรุนแรง การส่ งต่อวัฏจักรความรุนแรง การศึกษาของ UNICEF ผู้ใหญ่ ที่มีประสบการณ์ ไม่ พึงประสงค์ ในวัยเด็ก - การใช้ ความรุ นแรงต่ อเมื่อเป็ นผู้ใหญ่ 7 เท่า และเยาวชน - ยอมตกอยู่ในสถานภาพเหยื่อความรุ นแรง 7 เท่า - เกี่ยวข้ องกับการฆ่ าตัวตาย 30 เท่า ถูกใช้ความรุ นแรงทางกาย ความรุ นแรงทางเพศ และความรุ นแรงทาง อารมณ์ ตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป การส่ งต่อวัฏจักรความรุนแรงในครอบครัว เพศชาย - มีประสบการณ์ ถูกใช้ ความรุ นแรงทางด้ านร่ างกาย - ความรุ นแรงทางเพศวัยเด็ก การใช้ ความรุนแรง มีแนวโน้ มใช้ ความรุ นแรงต่ อคู่รักเมื่อเติบโตเป็ นผู้ใหญ่ 14 เท่ า - การทาร้ ายร่ างกาย - การใช้ ความรุ นแรงทางเพศ ผลิตผลจากความรุนแรงในครอบครัว การผลิตซ้าความรุนแรงที่ได้เรียนรู้จากครอบครัว วัฏจักรของความรุนแรงหมุนเวียนต่อไป อาชญากรรม อาทิ – อาชญากรรมต่ อเนื่ อง กราดยิงหมู่ – ข้ อมูลในประเทศสหรัฐอเมริกา มีความสั มพันธ์ กบั ความรุนแรงในครอบครัว ความสัมพันธ์ ระหว่างความรุ นแรงในครอบครัว และการกราดยิงหมู่ในสหรัฐอเมริกา การศึกษาการกราดยิงหมู่ในประเทศสหรัฐอเมริการะหว่าง ค.ศ.2014-2019 ร้ อยละ 59.1 มีความเกีย่ วข้ องกับการใช้ ความรุนแรงใน ครอบครัว เหยื่อร้ อยละ 68.2 เป็ นบุคคลในครอบครัว หรือ ผู้กระทาผิดมีการใช้ ความรุนแรงในครอบครัว Number of Mass Shootings by Year and by DV Category สาเหตุของพฤติกรรมเบี่ยงเบน 1.เกิดจากบรรทัดฐาน หรื อ กฎหมายเป็ นตัวกาหนด - พฤติกรรมที่ไม่ เป็ นไปตามบรรทัดฐาน หรื อ กฎหมาย เป็ นพฤติกรรมเบี่ยงเบน สาเหตุของพฤติกรรมเบี่ยงเบน 2.เกิดจากสภาพแวดล้อมเป็ นตัวกาหนด Positive เศรษฐกิจ *ครอบครัว *โรงเรียน กายภาพ/ชีวภาพ บุคลิกที่ *การคบเพือ่ น อ่อนแอ พฤติกรรม สังคม *ที่อยูอ่ าศัย *อาชีพ + เบี่ยงเบน หรือ หรือ *อบายมุข *สื่อ อาชญากรรม การเมือง จิตใจ ป่ วย *ศาสนา สาเหตุของพฤติกรรมเบี่ยงเบน 3.เกิดจากการตีตรา พฤติกรรมเบี่ยงเบน / พฤติกรรมอาชญากร ถูกกาหนดโดยกลุ่มคน รอบๆ ข้ าง หรื อโดยสังคม *พฤติกรรมอาชญากรมิใช่ คุณสมบัติของผู้เป็ นเจ้ าของ แต่ เกิดจากการที่สังคมกาหนดบุคคลต่ างๆ การป้ องกันและแก้ ไข การป้ องกันและแก้ ไข 1.การบังคับใช้ กฎระเบียบ กฎหมาย - พฤติกรรมที่ไม่ เป็ นไปตามบรรทัดฐาน หรื อ กฎหมาย เป็ นพฤติกรรมเบี่ยงเบน 2.การปรับสภาพแวดล้ อม สภาพแวดล้อมเป็ นตัวกาหนด Positive เศรษฐกิจ *ครอบครัว *โรงเรียน กายภาพ/ชีวภาพ บุคลิกที่ *การคบเพือ่ น อ่อนแอ พฤติกรรม สังคม *ที่อยูอ่ าศัย *อาชีพ + เบี่ยงเบน หรือ หรือ *อบายมุข *สื่อ อาชญากรรม การเมือง จิตใจ ป่ วย *ศาสนา 3.ป้ องกันการตีตรา การบาบัดแก้ไขฟื้ นฟู การป้ องกันแก้ ไขปัญหาสั งคม พฤติกรรมเบี่ยงเบน ความรุนแรงในสั งคม อบรมสั่งสอน สร้างภูมิคุม้ กันทางจิตใจ การบังคับใช้กฎหมาย ป้องกันการกระทาผิด ป้องปรามการกระทาผิด การลงโทษ แก้ไขฟื้ นฟู การป้ องกันและแก้ไขปัญหาการใช้ ความรุนแรงต่ อสตรีตาม มาตรฐานสากล (RESPECT) การป้ องกันและลดความรุนแรงต่ อสตรี โดยใน พ.ศ.2562 องค์การอนามัยโลกและองค์การสหประชาชาติได้มีแนวทางในการป้องกันการใช้ความรุนแรงต่อสตรี โดยการเผยแพร่แนวคิ ด การเคารพต่อเพศหญิ ง (“Respect” Woman) มี กลยุทธ์ในการดาเนินการ 7 แนวทาง ดังนี้ 1.Relationship skills strengthening คื อ การเสริ มสร้างความเข้มแข็งของทักษะความสัมพันธ์ 2.Empowerment of women คื อ การเพิ่มขีดความสามารถของเพศหญิ งทั้งทางด้าน เศรษฐกิจและสังคมของเพศหญิ ง 3.Services ensured คื อ การมี บริการที่มนั่ ใจที่จดั หาให้แก ่สตรี ที่ถูกใช้ความรุ นแรง หรื อ ผู ท้ ี่ รอดชีวิตจากความรุ นแรง 4.Poverty reduced คื อ การลดปัญหาความยากจน 5. Environments made safe คื อ การสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและปลอดภัยให้แก ่สตรี 6.Child and adolescent abuse prevented คื อ การป้องกันการใช้ความรุ นแรงหรือ การล่วงละเมิดต่อเด็กและเยาวชน เพื่อตัดวงจรการใช้ความรุนแรง 7.Transformed attitudes, beliefs and norms คื อ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ความเชือ่ บรรทัดฐานซึ่ งนาไปสู ก่ ารใช้ความรุ นแรงต่อสตรี 108 R E S P E C T มอบหมายงาน ศึกษา “แคมเปญ RESPECT” https://www.youtube.com/watch?v=gJFK-0VUfUY แคมเปญดังกล่าวสามารถนาไปสู่ การป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมได้ อย่างไร

Use Quizgecko on...
Browser
Browser