Physics Notes - 207105_บทที่ 1 จลน์ศาสตร์และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน PDF
Document Details
Uploaded by HandyDandelion
Chiang Mai University
Tags
Summary
This document contains lecture notes on kinematics and Newton's laws of motion, focusing on free fall. The notes include formulas and examples.
Full Transcript
บทที 1 จลน์ ศาสตร์และกฎการเคลือนทีของนิวตัน 1.3 การตกแบบเสรี (FREE FALL) สมการการตกแบบเสรี การตกแบบเสรี (FREE FALL) เปนการเคลือนทีด้วยความเร่งคงตัวในแนวดิง วัตถุทีตก สมการการเคลือนทีภายใต้ความเร่งคงตัว สําหรับ แบบเสรี...
บทที 1 จลน์ ศาสตร์และกฎการเคลือนทีของนิวตัน 1.3 การตกแบบเสรี (FREE FALL) สมการการตกแบบเสรี การตกแบบเสรี (FREE FALL) เปนการเคลือนทีด้วยความเร่งคงตัวในแนวดิง วัตถุทีตก สมการการเคลือนทีภายใต้ความเร่งคงตัว สําหรับ แบบเสรีไม่ได้จํากัดเฉพาะการปล่อยวัตถุในมือให้ตกลง แนวดิง ได้เปน มาเท่านั น แต่ยังครอบคลุมถึงการโยนวัตถุขึนไปและการ ปาวัตถุลงมาในแนวดิง = + การตกของวัตถุแบบเสรี เปนการเคลือนทีภายใต้แรง + โน้ มถ่วงเพียงแรงเดียวเท่านั น ∆ = 2 ในความเปนจริงการตกแบบเสรีใกล้ผิวโลกเปนเพียงการ 1 ประมาณเท่านั น (เพราะในความเปนจริง มีแรงต้าน ∆ = + 2 อากาศ และรวมทังความผันแปรของค่าความเร่งโน้ ม = +2 ∆ ถ่วง) ความเร่งโน้ มถ่วง (gravitational acceleration, g) มี โดยที = − (เมือกําหนดให้ทิศทางชีขึนเปนทิศ ขนาดประมาณ 9.8 m/s2 และมีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลาง บวก) ของโลก การกําหนดทิศทางของเครืองหมายขึนอยู่กับความ สะดวกในการคํานวณ ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE คลิปวิดีโอความยาว 4.41 นาที แสดงการทดลองการตกอย่างอิสระของวัตถุทีมีนําหนั กต่างกัน โดย BBC (https://youtu.be/E43-CfukEgs) ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 3 ตัวอย่างที 3.1 พิชเชอร์โยนลูกเบสบอลขึนในแนวดิง (แนวแกน y) ด้วย ตัวอย่างที 3.2 บอลลูนกําลังลอยขึนตามแนวดิงด้วยอัตราเร็วคง อัตราเร็ว 12 m/s หากไม่คิดแรงต้านอากาศ (ก) เปนเวลานานเท่าใด ตัว 12 / นั กบินบอลลูนได้ปลดทิงกล่องสัมภาระลงมาจาก ภายหลังการโยนทีลูกเบสบอลขึนไปได้สูงสุด (ข) ลูกเบสบอลขึนไปได้สูงสุด ความสูง 80 เหนื อพืนดิน (ก) เปนเวลานานเท่าใดหลังจาก จากจุดโยนเท่าใด (ค) เปนเวลานานเท่าใด (ภายหลังการโยน) ทีลูกเบสบอล ปลด กล่องสัมภาระจึงจะตกลงถึงพืน (ข) อัตราเร็วของกล่อง ขึนไปได้เหนื อจุดโยน 5.0 m ขณะกระทบพืน ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 4 บทที 1 จลน์ ศาสตร์และกฎการเคลือนทีของนิวตัน 1.4 การเคลือนทีในสองและสามมิติ เวกเตอร์ตําแหน่ ง การกระจัด ความเร็วเฉลีย ความเร็วขณะหนึ ง ความเร่งเฉลีย ความเร่งขณะหนึ ง เวกเตอร์ตําแหน่ ง (POSITION VECTOR) อนุภาคทีอยู่ในปริภูมิหรือทีว่าง สามารถใช้ “เวกเตอร์ตําแหน่ ง (position vector)” ระบุตําแหน่ งของมันได้ เช่น ในระบบ พิกัดคาร์ทีเซียน อนุภาคอันหนึ งอยู่ทีพิกัดตําแหน่ งเปน (−3 , 2 , 5 ) เวกเตอร์ทีลากจากจุดกําเนิ ด (จุด O) ชีไปยังตําแหน่ งของ อนุภาค ถูกเรียกว่า เวกเตอร์ตําแหน่ ง ซึงในการเขียนเราจะใช้ เวกเตอร์หนึ งหน่วย ̂, ̂, เปนตัวกําหนดทิศทางของแต่ละ องค์ประกอบ ดังแสดง ⃗= ̂+ ̂+ ⃗ = −3 ̂ + 2 ̂ + 5 ขนาดของเวกเตอร์ (ความยาว) หาได้จาก = (−3) +(2) +(5) = 38 = + + ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE การกระจัด (DISPLACEMENT) การกระจัด คือเวกเตอร์การเปลียนแปลงตําแหน่ งของวัตถุ เช่น ณ ตอนแรกอนุภาคถูก z ระบุด้วยเวกเตอร์ตําแหน่ ง ⃗ ในเวลาต่อมาอนุภาคถูกระบุด้วยเวกเตอร์ตําแหน่ ง ⃗ ( x1 , y1 , z1 ) ⃗ = ̂+ ̂+ ⃗ = ̂+ ̂+ r ( x2 , y2 , z2 ) r1 ดังนั นการกระจัดคือ ∆ ⃗ = ⃗ − ⃗ = ( − ) ̂+ − ̂+ − r2 ขนาดของการกระจัดมีค่าเปน k̂ iˆ y ĵ ∆ = − + − + − x ตัวอย่างเช่น อนุภาคเคลือนทีจากตําแหน่ ง (1,2,2) ไปยังตําแหน่ ง (3,1,0) ในหน่วยเมตร เวกเตอร์ การกระจัดและขนาดของการกระจัดของอนุภาคนี เปนเท่าใด ∆⃗ = 3 − 1 ̂ + 1 − 2 ̂ + 0 − 2 = 2 ̂− ̂−2 ∆ = 2 + −1 + −2 =3 ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 7 ความเร็ว (velocity) ความเร่ง (acceleration) ความเร็วเฉลีย อัตราส่วนของการกระจัดต่อช่วงเวลา เมืออนุภาคมีการเปลียนแปลงความเร็วตามเวลา กล่าวได้วา่ อนุภาคเคลือนทีด้วยความเร่ง ∆⃗ ⃗ − ⃗ ความเร่งเฉลีย (average acceleration) ⃗ = = ∆ − ∆⃗ ⃗ −⃗ ⃗ = = ∆ − หากต้องการเทอมทีระบุความเร็ว ณ เวลาใดเวลาหนึ ง จะใช้เทอม ถ้าหากต้องการระบุความเร่งในเทอมทีเจาะจง ณ เวลาใดเวลาหนึ ง ทีเรียกว่า ความเร็วขณะหนึ ง จะใช้เทอมทีเรียกว่า ความเร่งขณะหนึ ง ⃗ ⃗ ⃗= ⃗= ⃗= ̂+ ̂+ ⃗= ̂+ ̂+ ⃗= ̂+ ̂+ ⃗= ̂+ ̂+ ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 8 ตัวอย่างที 4.1 กระต่ายตัวหนึ งกําลังวิงในสนามหญ้า โดยตําแหน่ ง เฉลย ⃗ = ̂+ ̂ ⃗ = 66.3 ̂ − 57.0 ̂ ของกระต่ายเปนฟงก์ชันกับเวลามีค่าเปน = 66.3 + (−57) = 87.4 = −0.31 + 7.2 + 28 = 0.22 − 9.1 + 30 −57 เมือทัง และ อยู่ในหน่วยเมตร ทีเวลา = 15 จงหา = = = −41 66.3 (ก) เวกเตอร์ตําแหน่ ง พร้อมระบุขนาดและทิศทางของเวกเตอร์ (ข) ความเร็ว ขนาดความเร็วและทิศทางการเคลือนทีของกระต่าย (ค) ความเร่ง ขนาดความเร่งและทิศทางของความเร่งของกระต่าย ( )= = −. +. ̂+(. −. )̂ ⃗ 15 = −2.1 ̂ − 2.5 ̂ = (−2.1) +(−2.5) = 3.26 / −2.5 = = = 230 (−130°) −2.1 ( )= = −. ̂+(. )̂ ⃗ 15 = −0.62 ̂ + 0.44 ̂ = (−0.62) +(0.44) = 0.76 / 0.44 = = = 145 −0.62 ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 9 ตัวอย่างที 4.2 ในระหว่างการบินของโดรนลํ าหนึ ง ตํ าแหน่ งของมั น (x,y,z) เทียบกับหอควบคุมภาคพืนดิน ในตอนแรก โดรนอยู่ทีตําแหน่ ง (300 m, 200 m, 100 m) ในอีก 60 วินาทีต่อมา เคลือนทีมายังตําแหน่ ง (1200 m, 2100 m, 250 m) กําหนดให้แนวตะวันตก-ตะวันออก เปนแกน , แนวใต้-เหนื อ เปน แกน และความสู งเปนแกน จงหา (ก) เวกเตอร์ตําแหน่ งของโดรนในตอน แรก และในตอนหลัง (ข) การกระจัด (displacement vector) (ค) ขนาด เวกเตอร์การกระจัดของของโดรน (ง) ความเร็วเฉลีย และขนาดความเร็วเฉลีย ของโดรน ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 10 บทที 1 จลน์ ศาสตร์และกฎการเคลือนทีของนิวตัน 1.5 การเคลือนทีแบบโพรเจกไทล์ สมการการเคลือนทีแบบโพรเจกไทล์ ระยะสู งสุ ดในแนวดิง ระยะไกลสุ ดในแนวระดับ โพรเจกไทล์บนพืนเอียง การเคลือนทีแบบโพรเจกไทล์ (PROJECTILE MOTION) เปนการเคลือนทีในระนาบแนวดิงสองมิติ หากการเคลือนทีอยู่ ภายใต้แรงโน้ มถ่วงเพียงอย่างเดียว จะพบว่าการเคลือนที ประกอบด้วย การเคลือนทีในแนวราบ (ไม่มค ี วามเร่ง) และการ เคลือนทีในแนวดิง (มีความเร่งเนื องจากแรงโน้ มถ่วง) เส้นทางหรือวิถี (trajectory) จะเปนแบบพาราโบลา ดังรูป เมืออนุภาคถูกยิงออกไป (ทีจุด A) ด้วยมุมยิง เทียบกับแนว ระดับ ด้วยความเร็วต้น ⃗ สามารถแยกพิจารณาการเคลือนทีในแต่ละแนวได้ แนวระดับ เปนการเคลือนทีด้วยความเร็วคงตัว (ไม่มีความเร่ง) ทําให้ทุกตําแหน่ งตามแนววิถี จะมีองค์ของความเร็วในแนวระดับ ( ) คงตัวตลอดการเคลือนที แนวดิง เปนการเคลือนทีภายใต้ความเร่งคงตัว g ส่งผลทําให้ พิจารณา ณ ตอนเริมต้น (t=0) ทีจุด A องค์ประกอบของความเร็วในแนวดิง ( ) มีการเปลียนแปลง องค์ประกอบของความเร็วเริมต้นในแนวระดับ และในแนวดิง คือ ตลอดเวลา แนวระดับ: = = *ความเร่ง g มีทิศทางชีลงตามแนวดิง แนวดิง: = = ตําแหน่ ง C เปนตําแหน่ งสูงสุด องค์ประกอบความเร็วจะมีเฉพาะ ในแนวระดับ ขณะทีองค์ประกอบความเร็วในแนวดิงเปนศูนย์ ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE การเคลือนทีแบบโพรเจกไทล์ (PROJECTILE MOTION) ณ ตอนเริมต้น ( = 0) ทีจุด A องค์ประกอบของความเร็วเริมต้นในแนวระดับ และในแนวดิง คือ แนวระดับ: = แนวดิง: = ณ เวลา t ใดๆ (เมืออนุภาคถูกยิงออกไป) แรงทีกระทําต่ออนุภาคมีเพียงแรงโน้ มถ่วง ทําให้เกิดความเร่งใน แนวดิงเพียงอย่างเดียว กล่าวคือ = 0, =− แนวระดับ: = = =( ) สมการวิถีการเคลือนทีแบบพาราโบลา แนวดิง: 1 = − = − 2 1 = − 1 2 = −2 = − 2 ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE ระยะสูงสุดในแนวดิง (MAXIMUM HEIGHT) (ตําแหน่ ง A) ตําแหน่ งสูงสุดในแนวดิง =0 = −2 0= −2 ℎ ℎ= = 2 2 หรือ อาจคํานวณจาก เวลาในการขึนไปถึงจุดสูงสุด = − 0= − = 1 1 = − ℎ= − = 2 2 2 ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 14 ระยะไกลสุดในแนวระดับ (HORIZONTAL RANGE) ระยะไกลสุดในแนวระดับ หาได้จาก =( ) = เมือ T คือเวลาจาก O ถึง B 2 หากจุด B อยู่ในระดับเดียวกับจุด O จะพบว่า =2 = ดังนั น 2 2 = = 1 1 2 หรืออาจคํานวณหาเวลา จาก = − 0= − = 2 2 ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 15 โพรเจกไทล์ตามแนวพืนเอียง (ก) จงคํานวณเวลาในการตกลงบนพืนเอียง (ข) ระยะ d (ค) ค่า มุม ทีทําให้ระยะตกตามแนวพืนเอียงไกลทีสุด (ง) ระยะตก ตามแนวพืนเอียงทีไกลสุด คือ อัตราเร็วตอนเริมต้น คือ มุมความลาดเอียงเทียบกับแนวระดับ คือ มุมยิงเทียบกับแนวลาดเอียง คือ ระยะตกตามแนวพืนเอียง ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 16 โพรเจกไทล์ตามแนวพืนเอียง (ก) จงคํานวณเวลาในการตกลงบนพืนเอียง (ข) ระยะ d (ค) ค่า มุม ทีทําให้ระยะตกตามแนวพืนเอียงไกลทีสุด (ง) ระยะตก ตามแนวพืนเอียงทีไกลสุด คือ อัตราเร็วตอนเริมต้น คือ มุมความลาดเอียงเทียบกับแนวระดับ คือ มุมยิงเทียบกับแนวลาดเอียง คือ ระยะตกตามแนวพืนเอียง ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 17 ตัวอย่างที 4.3 ก้อนหินถูกขว้างออกไปจากยอดตึกสูง 45.0 ด้วยอัตราเร็ว 20.0 / ในทิศทางทํามุม 30 กับแนวระดับ (ดังรูป) เมือไม่คิดแรงต้านอากาศ (ก) นานเท่าใดหลังจากขว้าง ก้อนหินจึงตกถึงพืน (ข) อัตราเร็วของก้อนหินก่อน กระทบพืน (ค) ก้อนหินตกกระทบพืนห่างจากขอบตึกเปนระยะเท่าใด ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 18 ตัวอย่างที 4.4 เครืองบินกู้ภัยกําลังบินที ความสู งคงตัว ℎ = 500 เหนื อ ตัวอย่า งที 4.5 นั ก สกี เคลื อนที ออกจากรางสกี ในแนวระดั บ ด้ วยอัต ราเร็ว พืนนําด้วยอัตราเร็ว 55.0 / ในทิ ศเข้าหาผู้ประสบภั ยที อยู่บนพืนผิวนํา 25.0 / ดังรูป ตําแหน่ งบนพืนลาดเอียง (ซึงทํามุม 35.0 กับแนวระดับ) (ก) นั กบินจะต้องปลดแคปซูลทีมุมแนวสายตา เท่าใด จึงจะทําให้แคปซูล ตําแหน่ งใดเปนจุดสัมผัสครังแรกของนั กสกี ตกถึงผู้ประสบภัยได้พอดี (ข) ขนาดความเร็ว และทิศทางของความเร็ว ของ แคปซูล ขณะกระทบผิวนํา ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 19 ตัวอย่างที 4.6 ขว้างลูกบอลออกไปทางซ้ายจากขอบหลังคาตึกสู ง h ลูกบอล กระทบพืนด้านล่างในเวลา 1.5 วินาที ในทิศทํามุม =60 โดยจุดกระทบห่าง จากขอบตึกทีระยะ d=25.0 m จงหา (ก) ความสู ง h (ข) ขนาดความเร็วต้น และทิ ศทาง (มุ ม) ในการขว้างลูกบอล (ค) มุ มในข้อ ข อยู่เหนื อหรือตํากว่า แนวระดับ ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 20 ตัวอย่างที 4.7 ขว้างก้อนหินจากพืนขึนไปยังหลังคาตึก หลังขว้าง 4.0 วินาที ก้อนหินตกบนหลังคาตึกในทิศทํ ามุม =60 สมมติให้หลังคาตึกสู งจากจุด ขว้าง h=20.0 เมตร จงหา (ก) ระยะ d (ข) ขนาดและทิศทางของความเร็ว ต้นในการขว้าง ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 21 บทที 1 จลน์ ศาสตร์และกฎการเคลือนทีของนิวตัน 1.6 การเคลือนทีแบบวงกลมสมําเสมอ ความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง พิสูจน์ สมการความเร่ง ความเร่งในแนวรัศมี และความเร่งในแนวสัมผัส การเคลือนทีแบบวงกลมสมําเสมอ (UNIFORM CIRCULAR MOTION) อนุภาคทีเคลือนทีเปนวงกลมด้วย “อัตราเร็ว (speed) คงตัว” ถูกเรียกว่าเปนการ เคลือนทีแบบวงกลมสมําเสมอ แต่ละตําแหน่ งตามเส้ นทางโคจร ความเร็วมีการเปลี ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา (ผล จากการเปลี ยนแปลงทิ ศทาง) ทํ าให้เ กิ ดความเร่งในทิ ศทางเข้ าสู่ ศูน ย์กลางของ วงกลม เรียก ความเร่งสู่ศูนย์กลาง (centripetal acceleration) โดยมีขนาดเปน = = เมือ v คืออัตราเร็ว, r คือรัศมีวงโคจร ในกรณี ดั ง กล่ า วนี ความเร่ง ( ⃗) และความเร็ว ( ⃗) อยู่ ใ นทิ ศ ทางตั งฉากต่ อ กั น ตลอดเวลา คาบการเคลือนที (period) หาได้จาก 2 2 = = ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE ความเร็วของอนุภาค P ⃗= ̂+ ̂ ⃗= − ̂+ ̂ = (− ) ̂+( )̂ ⃗ ⃗= = − ̂+ ̂= − ̂+ ̂ = (− ) ̂+ ( )̂ ⃗= − ̂+ − ̂= − ̂+ − ̂ = − + − = − = = = (ความเร่งอยู่ในแนวรัศมีชเข้ ี าสู่ศูนย์กลาง) − ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 24 ความเร่งในแนวรัศมี และความเร่งในแนวสัมผัส ความเร่งในแนวรัศมี (ความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง) = = ความเร่งในแนวสัมผัส ⃗ = ความเร่งลัพธ์ ⃗= ⃗ +⃗ ขนาดความเร่งลัพธ์ = + ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 25 ตัว อย่างที 4.8 รถยนต์ คัน หนึ งเคลื อนที ออกจากสั ญ ญาณไฟจราจรด้ ว ย ความเร่งคงที 0.300 / 2 โดยแล่นขนานไปกับพืนถนนและขับผ่านขึนไป บนเนิ นโดยที จุ ดสู งสุ ดของเนิ นมี รู ปร่างคล้ ายกั บ ส่ วนโค้ งของวงกลมซึงมี รัศ มี เ ท่ า กั บ 500 ณ เวลาที รถยนต์ อ ยู่ จุ ด สู ง สุ ด ของเนิ น พอดี ทิ ศ ของ ความเร็วจะอยู่ในแนวราบและมีขนาดเท่ ากับ 6.00 / จงหาขนาดและ ทิศทางของความเร่งลัพธ์ของรถยนต์ ณ ขณะนั น [0.309 / , −13.5] ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 26 ตัวอย่างที 4.9 (เพิมเติมเรืองเวกเตอร์องค์ประกอบ) แผนภาพ แสดงเส้นทางการเดินของชายเมาเหล้าคนหนึ ง ในสนามหญ้าแห่ง หนึ ง เขาเริมต้นเดินทางจากตําแหน่ ง ไปยัง โดยที = 30°, = 50°, = 80° และ = 5.0 , = 8.0 , = 12.0 จงหาขนาดและทิศทางของการกระจัดจาก ไปยัง ℏ PHYSICS AND MATERIALS SCIENCE 27