🎧 New: AI-Generated Podcasts Turn your study notes into engaging audio conversations. Learn more

2 แผ่นดินไหวและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ 2567.pdf

Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

Document Details

AmpleBoston564

Uploaded by AmpleBoston564

มหาวิทยาลัยนเรศวร

2567

Tags

earthquake climate change natural disasters

Full Transcript

แผ่นดินไหวและ การเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ LOGO แผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติที่อาจก่อให้เกิดความ เสียหายต่อชีวิต และทรัพย์สินอย่างใหญ่หลวงได้ LOGO 2 LOGO 3 แผ่นดินไหว (EARTHQUAKE) แผ่นดินไหว (Earthquake) คือการสั่นสะเทือน ของ...

แผ่นดินไหวและ การเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ LOGO แผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมชาติที่อาจก่อให้เกิดความ เสียหายต่อชีวิต และทรัพย์สินอย่างใหญ่หลวงได้ LOGO 2 LOGO 3 แผ่นดินไหว (EARTHQUAKE) แผ่นดินไหว (Earthquake) คือการสั่นสะเทือน ของพื้นดิน อันเนื่องมาจากการปลดปล่อยพลังงานเพื่อ ระบายความเครี ย ดที่ ส ะสมไว้ ภ ายในโลกออกมาอย่ า ง ฉับพลัน เพื่อปรับสมดุลของเปลือกโลกให้คงที่ LOGO 4 สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว 1. เกิดจากธรรมชาติ (NATURAL EARTHQUAKE) 2. เกิดจากการกระทาของมนุษย์ (INDUCED SEISMICITY) LOGO 5 แผ่นดินไหวที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ (INDUCED SEISMICITY) - การเก็บกักน้าในเขื่อนขนาดใหญ่ - การทดลองระเบิดปรมาณู/ระเบิดนิวเคลียร์ - การระเบิดจากการทาเหมืองแร่ - การสูบน้าใต้ดินมาใช้มากเกินไป - การผลิตน้ามันและก๊าซธรรมชาติ - การเก็บขยะนิวเคลียร์ใต้ดิน ห้ามได้ - ควบคุมได้ - ป้องกันได้ LOGO 6 แผ่นดินไหวที่เกิดจากธรรมชาติ (NATURAL EARTHQUAKE) มักเกิดมากบริเวณขอบของ plate และตามแนวรอยเลื่อน ห้ามไม่ได้ ควบคุมไม่ได้ แต่ลดความรุนแรงและความ เสียหายได้ ถ้ารู้และมีการเตือนล่วงหน้า LOGO 7 แผ่นดินไหวที่เกิดจากธรรมชาติ (NATURAL EARTHQUAKE) เปลือกโลกเคลื่อนที่ รอยเลื่อนขยับตัว ภูเขาไฟระเบิด ถ้าใต้ดินถล่ม อุกกาบาตชนโลก LOGO 8 แนวที่มีการเกิดแผ่ นดินไหวอย่างต่อเนื่อง คือแนวขอบ หรือบริเวณรอยต่อของเพลต (plate) ต่างๆ ตามทฤษฏี การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก (Plate Tectonic Theory) LOGO 9 Ring of Fire บริเวณที่เกิดแผ่นดินไหวมากที่สุด LOGO 10 แผ่นดินไหวในประเทศไทย Active Fault รอยเลือ ่ นมีพลัง 11 การศึกษาแผ่นดินไหว จากคลื่นแผ่นดินไหว (คลื่นไหวสะเทือน) LOGO 12 คลื่นไหวสะเทือน (seismic waves) คลื่นไหวสะเทือนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. คลื่นพื้นผิว (surface wave) 2. คลื่นในตัวกลาง (body wave) และคลื่นในตัวกลางแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ คลื่นปฐมภูมิและ คลื่นทุติยภูมิ LOGO 13 คลื่นไหวสะเทือน (seismic waves) คลื่นปฐมภูมิ (P-wave) เป็นคลื่นตามยาวที่เกิดจาก ความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดยอนุภาคของตัวกลางนั้น เกิดการเคลื่อนไหวแบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นส่งผ่าน ไป คลื่ น นี้ ส ามารถเคลื่ อ นที่ ผ่ า นตั ว กลางที่ เ ป็ น ของแข็ ง ของเหลว และก๊าซ LOGO 14 คลื่นปฐมภูมิ (P-wave) LOGO 15 คลื่นไหวสะเทือน (seismic waves) ค ลื่ น ป ฐ ม ภู มิ ( P-wave) เ ป็ น ค ลื่ น ที่ ส ถ า นี วั ด แรงสั่นสะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอื่น โดยมีความเร็ว ประมาณ 6–8 กิโลเมตรต่อวินาที คลื่นปฐมภูมิทาให้เกิดการ อัดหรือขยายตัวของชั้นหิน LOGO 16 คลื่นไหวสะเทือน (seismic waves) คลื่นทุติยภูมิ (S-wave) เป็นคลื่นตามขวางที่เกิดจากความ ไหวสะเทือนในตัวกลางโดยอนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้ง ฉากกับทิศทางที่คลื่นผ่าน มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน คลื่ น ทุ ติ ย ภู มิ (S-wave) ผ่ า นได้ เ ฉพาะตั ว กลางที่ เ ป็ น ของแข็งเท่านั้น ไม่สามารถเดินทางผ่านของเหลว คลื่นนี้มี ความเร็วประมาณ 3–4 กิโลเมตรต่อวินาที คลื่นทุติยภูมิทา ให้ชั้นหินเกิดการคดโค้ง LOGO 17 คลืน่ ทุติยภูมิ (S-wave) LOGO 18 คลื่นพื้นผิว SURFACE WAVE ประกอบด้วยคลื่น 2 ชนิด คือ 1. Love Wave เป็น surface wave ที่เคลื่อนที่ได้เร็วกว่า Rayleigh Wave 2. Rayleigh Wave เป็นคลื่นม้วน LOGO 19 คลื่นในตัวกลาง BODY WAVE ประกอบด้วยคลื่น 2 ชนิด คือ 1. P-wave หรือ Primary Wave เป็น คลื่ น ตามยาว ที่ เ คลื่ อ นที่ ไ ด้ เ ร็ ว ที่ สุ ด และสามารถเคลื่อนที่ผ่านได้ทั้งหินแข็งและ ของไหล มีลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่น เป็นแบบ push and pull ในทิศทาง เดียวกันกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น 2. S-wave หรือ Secondary Wave เป็น คลื่นตามขวาง ซึ่งเป็นคลื่นตัวที่สองที่เรา รู้สึกได้เวลาเกิแผ่นดินไหว โดยจะเคลื่อนที่ ได้ช้ากว่าคลื่น P-wave และสามารถ เคลื่ อ นที่ ผ่ า นได้ เ ฉพาะในหิ น แข็ ง เท่ า นั้ น ลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่น จะเคลื่อนที่ ขึ้น-ลง และจาก side-to-side ในทิศทาง ที่ตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น LOGO 20 ภาพรวมของแผ่นดินไหว LOGO 21 จุดกาเนิดคลื่นแผ่นดินไหว และ ตาแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหว แผ่นดินไหวเกิดจากการเคลื่อนตัวทันทีทันใดของรอยเลื่อน (fault) พร้อมๆ กับการปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของคลื่นแผ่นดินไหว LOGO 22 แสดงการเคลื่อนที่ของ คลื่น ปฐมภูมิ และคลื่ น ทุ ติ ย ภู มิ เ มื่ อ ผ่ า น โครงสร้างภายในโลก LOGO 23 คลื่นไหวสะเทือน (seismic waves) คลื่นปฐมภูมิ (P-wave) สามารถเดินทางผ่านศูนย์กลางของ โลกไปยังซีกโลกตรงข้าม โดยมีเขตอับ (Shadow zone) อยู่ ระหว่างมุม 105–140 องศา คลื่นทุติยภูมิ (S-wave) ไม่สามารถเดินทางผ่านชั้น ของเหลวได้ จึ ง ปรากฏแต่ บ นซี ก โลกเดี ย วกั บ จุ ด เกิ ด แผ่นดินไหว LOGO 24 คลื่นไหวสะเทือน (seismic waves) # ข ณ ะ ที่ เ กิ ด แ ผ่ น ดิ น ไ ห ว ( Earthquake) จ ะ เ กิ ด แรงสั่ น สะเทื อ นหรื อ คลื่ น ไหวสะเทื อ นขยายแผ่ จ ากศู น ย์ เ กิ ด แผ่นดินไหวออกไปโดยรอบทุกทิศทุกทาง # เนื่องจากองค์ประกอบภายในของโลกมีความหนาแน่นไม่ เท่า กัน และมี สถานะต่างกัน คลื่นปฐมภูมิแ ละทุติย ภูมิ จึ ง มี ความเร็วและทิศทางที่เปลี่ยนแปลงไป LOGO 25 เครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหว Seismograph คือเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสอบและบันทึกแผ่นดินไหว หรือ การสั่นของพื้นผิวโลก ซึ่งเกิดจากคลื่นแผ่นดินไหว (seismic wave) เส้นกราฟ ขึ้น-ลง ที่ได้จากการบันทึกด้วยเครื่อง Seismograph เรียกว่า Seismogram LOGO 26 Seismogram LOGO 27 มาตราที่ใช้วัดขนาดของแผ่นดินไหว มาตราริกเตอร์ (The Richter Scale) มาตราริกเตอร์เป็นการวัดขนาดของแผ่นดินไหว ซึ่งคิดค้นขึ้นโดย C.F. Richter มีขนาดตั้งแต่ 0-9 โดยแผ่นดินไหวที่มีขนาดต่างกัน 1 ริกเตอร์ จะมีพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาต่างกัน 10 เท่า LOGO 28 มาตราริกเตอร์ ขนาด ความสั่นสะเทือน 1 - 2.9 สั่นไหวเล็กน้อย 3 - 3.9 ผู้คนในอาคารรู้สึกเหมือนรถไฟวิ่งผ่าน 4 - 4.9 สั่นไหวปานกลาง ผู้คนทั้งในและนอกอาคารรู้สึก วัตถุห้อยแขวนแกว่งไกว 5 - 5.9 สั่นไหวรุนแรง เครื่องเรือน วัตถุมีการเคลื่อนที่ 6 - 6.9 สั่นไหวรุนแรงมาก อาคารเริ่มพังเสียหาย 7.0 ขึ้นไป สั่นไหวร้ายแรง อาคารพังเสียหายมาก แผ่นดินแยก วัตถุถูกเหวี่ยงกระเด็น LOGO 29 มาตราที่ใช้วัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว มาตราเมอคัลลี (The Mercalli Scale) เป็ น มาตราส่ ว นที่ ใ ช้ ส าหรั บ วั ด ความรุ น แรงของแผ่ น ดิ น ไหว (Intensity) ที่ เ กิ ด จากการสั่ น และความเสี ย หายที่ เ กิ ด จาก แผ่นดินไหว ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละที่ LOGO 30 ความรุนแรงของแผ่นดินไหว (Intensity) เป็นการวัดความรุนแรงจากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ทั้งขณะเกิดและ หลังการเกิดแผ่นดินไหวที่มีต่อความรู้สึกของผู้คน ลักษณะที่สั่นไหว หรือความเสียหายของสิ่งก่อสร้าง LOGO 31 ระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหว ตามมาตราเมอร์คล ั ลี่ สภาพ สภาพ ความรุนแรง ของ ความรุนแรง ของ แผ่ นดินไหว แผ่ นดินไหว I อ่ อนมาก ไม่ รู้ สึก แต่ เครื่ องสามารถ VII แรงมาก ฝาห้ องแยกร้ าว ตรวจวัดได้ กรุเพดานร่ วง II. อ่ อน หากความรู้ สึกไวจะรู้ สึกว่ า VIII ทาลาย ต้ องหยุดขับรถ ตึกร้ าว แผ่ นดินไหวเล็กน้ อย ปล่ องไฟพัง III เบา คนที่อยู่กบั ที่จะรู้ สึกว่ าพืนน สั่ น IX ทาลายสู ญเสี ย บ้ านพัง มีรอย แยกของแผ่ นดิน IV พอประมาณ คนสั ญจรไปมา X วินาศภัย แผ่ นดินแตกอ้ า จะรู้ สึกได้ ตึกแข็งแรงพัง V ค่ อนข้ างแรง คนที่หลับ ก็ XI วินาศภัยใหญ่ ตึกถล่ ม นาน ท่ วม จะตกใจตื่น แผ่ นดินถล่ ม VI แรง ต้ นไม้ สั่น สิ่ งปลูกสร้ าง XII มหาวิบัติ ทุกอย่ างบนผืนดิน บางชนิ ดพัง LOGO แถบนันนเสี ยหายโดยสินนเชิง 32 ี่ งภัย แผนทีเ่ สย แผ่นดินไหว

Use Quizgecko on...
Browser
Browser