🎧 New: AI-Generated Podcasts Turn your study notes into engaging audio conversations. Learn more

หลักการของกฎหมาย ลำดับชั้นของกฎหมาย 100d9dfb0051449c80c7f436d88251c5.pdf

Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...
Loading...

Transcript

หลักการของกฎหมาย ลำดับชั้นของ กฎหมาย Date @April 18, 2024 Subject Laws in Daily Life กฎหมายคืออะไร กฎหมาย คือ กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดตราขึ้น จารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ เพื่อ ใช้ในการบริหารประเทศ ใช้บังคับบุคคลให้ปฏบัติตาม ใช้กำหนดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลต่อบุคคล ใช้กำหนดระเบีย...

หลักการของกฎหมาย ลำดับชั้นของ กฎหมาย Date @April 18, 2024 Subject Laws in Daily Life กฎหมายคืออะไร กฎหมาย คือ กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดตราขึ้น จารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ เพื่อ ใช้ในการบริหารประเทศ ใช้บังคับบุคคลให้ปฏบัติตาม ใช้กำหนดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลต่อบุคคล ใช้กำหนดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลต่อรัฐ หลักการของกฎหมาย ลำดับชั้นของกฎหมาย 1 กฎหมาย คือ คำสั่งหรือข้อบังคับความประพฤติของมนุษย์ บัญญัติโดยผู้มีอำนาจสูงสุดหรือรัฏฐาธิปัตย์ ผู้ใดฝ่าฝืนมีสภาพบังคับ ระบบกฎหมาย Common Law Civil Law ใช้คำพิพากษาของศาลเพื่อกำหนดกฎหมาย ร่างจากกฎหมายเดิมที่มีอยู่ พิจารณาโดยอิงจากคดีที่เกิดขึ้นในอดีต ตัดสินโดยอิงจากกฎที่บัญญัติไว้ กฎหมายบางส่วนมาจากนิติบัญญัติ ศาลออกกฎหมายเองไม่ได้ ประเทศที่ใช้ : UK USA Malaysia Singapore etc. ประเทศที่ใช้ : Thailand France Japan Korea etc. ประเภทกฎหมาย กฎหมายระหว่างประเทศ ข้อตกลงตั้งแต่สองรัฐขึ้นไป ใช้เพื่อพิจารณาข้อพิพาษระหว่าง ประเทศ กฎหมายภายใน กฎหมายที่บัญญัติโดยรัฐ บังคับใช้กับบุคคลที่อยู่ในรัฐใดรัฐหนึ่ง กฎหมายสาระบัญญัติ บัญญัตสิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบ เช่น ประมวลกฎหมายอาญาพระราช บัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค ข้อตกลง สนธิสัญญา พิธีสาร อนุสัญญา ปฏิญญา อนุสัญญาเวียนนา : การจัดทำสนธิสัญญา กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและ การเมือง รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา พระราชกำหนด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 4 ผู้บริโภคมีสิทธิได้รับความคุ้มครอง ดังต่อไปนี้ 1. สิทธิที่จะได้รับข้อมูลข่าวสาร…ที่ถูกต้องและ เพียงพอ 2. สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือ บริการ หลักการของกฎหมาย ลำดับชั้นของกฎหมาย 2 3. สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัย… (3 ทวิ) สิทธที่จะได้รับความเป็นธรรมใน การทำสัญญา 4. สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชย ความเสียหาย กฎหมายวิธีสบัญญัติ บัญญัติวิธีการ ขั้นตอนการใช้สิทธิ เช่น กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้ บริโภค พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 17 ในการที่ผู้ประกอบธุรกิจจะฟ้องผู้ บริโภคเป็นคดีผู้บริโภคและผู้ประกอบธุรกิจมี สิทธิเสนอคำฟ้องต่อศาลที่ผู้บริโภคมีภูมิลำเนา อยู่ในเขตศาลหรือต่อศาลอื่นได้ด้วย ให้ผู้ ประกอบธุรกิจเสนอคำฟ้องต่อศาลที่ผู้บริโภคมี ภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาลได้เพียงอย่างเดียว กฎหมายแพ่ง กำหนดสิทธิ หน้าที่และความรับผิด ชอบ เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 15 สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอด แล้วอยู่รอดเป็นทารกและสิ้นสุดลงเมื่อตาย ทารกในครรภ์ของมารดาก็สามารถมีสิทธิต่างๆ ได้หากภายหลังคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารก เรียกร้องมห้เป็นดังสิทธิ ให้ปฏิบัติตาม หน้าที่ ทำตามสัญญา เรียกค่าสินไหม ทดแทน กฎหมายอาญา กำหนดความรับผิดชอบในทางอาญา มุ่งเอาตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษ โทษ : ปรับ ริบทรัพย์ กักขัง จำคุก ประหารชีวิต ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 334 มาตรา 334 ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้ อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยโดยทุจริต ผู้นั้น กระทำความผิดฐานลลักทรัพย์ต้องระวางโทษจำ คุกไม่เกินสามปีและปรับไม่เกิน 60,000 บาท กฎหมายเอกชน เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน หลักการของกฎหมาย ลำดับชั้นของกฎหมาย 3 เช่น ประมวลกฎหมายแพ่ง กฎหมายมหาชน ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐ รัฐต่อเอกชน เช่น รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติคุ้มครองป่าสงวน ลำดับศักดิ์กฎหมาย รัฐธรรมนูญ กฎหมายต้องสอดคล้องกัน พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ / พระราชกำหนด / ประมวล กฎหมาย พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ / ข้อบังคับ / ข้อบัญญัติท้องถิ่น รัฐธรรมนูญ ไม่ขัดต่อกฎหมายที่มีลำดับ ศักดิ์สูงกว่า กฎหมายลำดับรองมักเป็นการ กำหนดรายละเอียด ทำให้กฎหมายมีความเป็น เอกภาพ กฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ / พระราชกำหนด / ประมวล กฎหมาย ปกครองประเทศ กฎหมายอื่นใดจะขัดแย้งไม่ได้ พระราชกฤษฎีกา ให้อำนาจหน่วยงานต่างๆ ใน การบัญญัติกฎหมาย กฎกระทรวง กฎหมายลูกที่สำคัญ คือ พระ ระเบียบ / ข้อบังคับ / ข้อบัญญัติท้องถิ่น รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ / พระราชกำหนด / ประมวล กฎหมาย พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ / ข้อบังคับ / ข้อบัญญัติท้องถิ่น หลักการของกฎหมาย ลำดับชั้นของกฎหมาย ราชบัญญติประกอบ รัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญให้อำนาจในการ ออก ปกติศักดิ์เท่าพระราช บัญญัติ กำหนดรายละเอียดที่ไม่ สามารถใส่ในรัฐธรรมนูญได้ เช่น พระราชบัญญัติว่าด้วย การเลือกตั้งสมาชิกผู้แทน ราษฎร 4 ยืดหยุ่น แก้ง่ายกว่า รัฐธรรมนูญเมื่อโลกเปลี่ยนไป รัฐธรรมนูญ อาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ / พระราชกำหนด / ประมวล กฎหมาย พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ / ข้อบังคับ / ข้อบัญญัติท้องถิ่น รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ / พระราชกำหนด / ประมวล กฎหมาย พระราชกฤษฎีกา (รธนใ) รัฐสภาออกพระราชบัญญัติ (พรบ.) ส่วนคณะรัฐมนตรี (ครม.) ออกพระราชกฤษฎีกา กำหนดหลักกฎหมายเฉพาะ เรื่อง มีรายละเอียด เป็นลำดับศักดิ์ที่กำหนดโทษ ทางอาญาได้ อาศัยอำนาจตาม รธน. พรบ. พรก. กำหนดความสัมพันธ์บาง อย่างของรัฐ เช่น กำหนดวัน เลือกตั้ง การแบ่งส่วนราชการ กฎกระทรวง ระเบียบ / ข้อบังคับ / ข้อบัญญัติท้องถิ่น รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ / พระราชกำหนด / ประมวล กฎหมาย กำหนดราชละเอียดตามพรบ. เช่น กำหนดค่าธรรมเนียม ประเภทของกิจการที่อยู่ในข่าย บังคับตามพรบ. พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ / ข้อบังคับ / ข้อบัญญัติท้องถิ่น รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ หลักการของกฎหมาย ลำดับชั้นของกฎหมาย กฎสำหรับหน่วยงานต่างๆ ดำเนินการเพื่อปฏิบัติราชการ ให้เป็นไปตามที่กฎหมาย 5 พระราชบัญญัติ / พระราชกำหนด / ประมวล กฎหมาย กำหนดซึ่งโดยมากไเ้รับอำนาจ จากพรบ. พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ระเบียบ / ข้อบังคับ / ข้อบัญญัติท้องถิ่น นิติวิธี (การใช้กฎหมาย) ค้นหาข้อเท็จจริง ค้นหาข้อกฎหมาย วินิจฉัย (ปรับข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย) ผลทางกฎหมาย ค้นหาข้อเท็จจริง สิ่งที่สามารถสรุปได้ว่าจริงหรือเท็จ ค้นหาข้อกฎหมาย กฎหมายแพ่ง มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหาย ต่อชีวิตก็ดี ร่างกสยก็ดี เสรีภาพก็ดี หรือสิทธิอย่างใดอย่างหนึ่งก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิดจำต้อง ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น” กฎหมายอาญา มาตรา 334 “ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือผู้อื่นร่วมเป็นเจ้าของด้วยไปโดยทุจริต ผู้นั้นกระทำ ความผิดฐานลักทรัพย์ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปีและปรับไม่เกิน 60,000 บาท” วินิจฉัย (ปรับข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย) กฎหมายอาญา มาตรา 334 “ผู้ใดเอาไปทรัพย์ผู้อื่นโดยทุจริต ผู้นั้นผิดฐานลักทรัพย์” องค์ประกอบ : ผู้ใด เอาไป ทรัพย์ ผู้อื่น โดยทุจริต = ลักทรัพย์ หลักการของกฎหมาย ลำดับชั้นของกฎหมาย 6 ตัวอย่าง : นาย A ไปวัดถอดรองเท้าขึ้นศาลกลับมารองเท้าหายเหลือบไปเห็นรองเท้านาย B จึง ใส่ไป 1. เหลือบไปเห็นรองเท้านายตัวเอง แต่เข้าใจว่าเป็นของนาย B จึงใส่ไป 2. เหลือบไปเห็นรองเท้านาย B แต่เข้าใจว่าเป็นรองเท้าของตัวเองจึงใส่ไป ผลทางกฎหมาย กฎหมายอาญา มาตรา 334 “ผู้ใดเอาไปทรัพย์ผู้อื่นโดยทุจริต ผู้นั้นผิดฐานลักทรัพย์” ลักทัรพย์ A มีความผิดฐานลักทรพย์? หลักการของกฎหมาย ลำดับชั้นของกฎหมาย 7

Tags

law legislation justice
Use Quizgecko on...
Browser
Browser