สรุปย่อ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี PDF

Summary

เอกสารสรุปย่ออย่างมีคุณภาพพร้อมเก็งข้อสอบเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 โดยอาจารย์ปลัดเอด มีการระบุลักษณะข้อสอบและตัวอย่างคำศัพท์ที่ควรเรียนรู้

Full Transcript

1 สรุปย่ออย่างมีคุณภาพ พร้อมเก็งข้อสอบ (โดยปลัดเอด ติวสอบราชการ) ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ประกาศ เรื่อง ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)...

1 สรุปย่ออย่างมีคุณภาพ พร้อมเก็งข้อสอบ (โดยปลัดเอด ติวสอบราชการ) ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ประกาศ เรื่อง ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๖๕ บัญญัติให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการ จัดทาแผนต่างๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมาย ดั งกล่ าว และต่ อ มาได้ มี ก ารตราพระราชบั ญ ญั ติ ก ารจั ด ท ายุ ท ธศาสตร์ช าติ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดย กาหนดให้มีคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อรับผิดชอบในการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ และเมื่อ ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติแห่งชาติแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนาขึ้น ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อมีพระบรมราชโองการประกาศใช้เป็นยุทธศาสตร์ชาติต่อไป บัดนี้ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติได้ดาเนินการจัดทาร่างยุทธศาสตร์ชาติเป็นที่เรียบร้อย แล้ ว และคณะรัฐ มนตรีได้ มี ม ติ เมื่ อ วั น ที่ ๕ มิ ถุ น ายน ๒๕๖๑ เห็ น ชอบร่ า งยุ ท ธศาสตร์ช าติ ประกอบกับในคราวประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติเมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ที่ประชุมได้ ลงมติให้ความเห็นชอบร่างยุทธศาสตร์ชาติแล้ว ดังมีสาระสาคัญตามที่แนบท้ายนี้ จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ใช้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๑ เป็นปีที่ ๓ ในรัชกาลปัจจุบัน ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจาฯ วันที่ 13 ตุลาคม 2561 (จาว่า : วันตารวจ) ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 2 ลักษณะข้อสอบ ข้อสอบ : ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ครอบคลุมปีใดถึงปีใด คาตอบ : พ.ศ.2561-2580 ข้อสอบ : ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประกาศ ณ วันใด คาตอบ : 8 ตุลาคม 2561 ข้อสอบ : ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันใด คาตอบ : 13 ตุลาคม 2561 สูตรจา : วันตารวจ 13-5 = 8 ข้อสอบ : รัฐธรรมนูญมาตราใด เป็นที่มาของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี คาตอบ : มาตรา 65 (หกสิบห้า) ข้อสอบ : รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 บัญญัติให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็น เป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักใด คาตอบ : หลักธรรมาภิบาล ข้อสอบ : องค์กรที่เกี่ยวข้องในการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ค าตอบ : คณะกรรมการยุ ท ธศาสตร์ ช าติ (นายกรัฐมนตรีเป็ นประธาน) จัดท าร่างยุท ธศาสตร์ช าติ เสนอ คณะรัฐมนตรี (เพื่อเห็นชอบ) ต่อมา ครม.นาเสนอ สภาผู้แทนราษฎร(เพื่อเห็นชอบ) และวุฒิสภา(เพื่อเห็นชอบ) แต่พอดีในขณะที่เสนอมี “สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ” ทาหน้าที่เป็นทั้งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา (สภา นิติบัญญัติจึงเห็นชอบองค์กรเดียว) จากนั้น นายกรัฐมนตรี นาทูลเกล้าฯ ประกาศเป็น ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 3 ลาดับเนื้อหาที่จะเรียนรู้ โดยปลัดเอด ติวสอบราชการ จะแบ่งออกเป็น 3 บท (Chapter) ได้แก่ 1) Chapter 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการเรียน จะเกี่ยวกับ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) เช่น ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มี 6 ยุ ท ธศาสตร์ อะไรบ้ าง มี ห ลั ก การจ าอย่ า งไร แต่ ล ะยุ ท ธศาสตร์ ห มายความว่ า อย่างไร ประกอบกับ แผนพัฒ นาเศรษฐกิ จและสังคมแห่งชาติ ฉบั บ ที่ 12 (พ.ศ.2560- 2564) ได้ ก าหนดยุ ท ธศาสตร์เหมื อ นยุ ท ธศาสตร์ ช าติ 20 ปี แต่ มี ก ารเพิ่ ม ยุ ท ธศาสตร์ เร่งด่วนเข้าไปอีก 4 ยุทธศาสตร์ มีอะไรบ้าง มีวิธีการจาอย่างไร 2) Chapter 2 เป้าหมายและตัวชี้วัด ของทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการเรียน เพื่ อ ให้ ผู้ เรีย นสามารถวิ เคราะห์ แยกแยะ และท าข้ อ สอบที่ อ อกเกี่ ย วกั บ เป้ า หมาย (Purpose) และ ตัวชี้วัด (KPI : Key Performance Indicator) ของยุทธศาสตร์ชาติทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ได้ 3) Chapter 3 เนื้อหาของยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์ชาติทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ ของการเรีย น เพื่ อ ให้ ผู้ เรีย นมี เทคนิ ค ในการจ า “เนื้ อ หา” ของยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ทั้ ง 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งมีคาศัพท์ทางวิชาการอยู่มากมายที่สามารถจะนามาแปลงเป็น “ข้อสอบ” ทั้งในส่วนของข้อสอบ “ปรนัย” และ “อัตนัย” ตัวอย่างคาศัพท์ในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ที่ต้องเรียนรู้ ก่อนเข้าห้องสอบ) ภาคประชาสังคม องค์กรที่ไม่ใช่รัฐ ผลิตภาพการผลิต ธรรมาภิบาล ดุลยภาพสภาวะ แวดล้อมระหว่างประเทศ องค์รวม เกษตรอัตลักษณ์ พื้ นถิ่น เกษตรปลอดภั ย เกษตร ชีวภาพ เกษตรแปรรูป เกษตรอัจฉริยะ อุตสาหกรรมชีวภาพ ปัญญาประดิษฐ์ โลจิสติกส์ ท่องเที่ ยวเชิ งธุรกิจ ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภ าค เขตเศรษฐกิจพิเศษ เศรษฐกิจมหภาค ผู้ประกอบการอัจฉริยะ ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big DATA) โค้ช ผู้อานวยการการเรียนรู้ ธนาคารหน่ ว ยกิ ต ดิ จิตั ล แพลตฟอร์ม พหุ ปั ญ ญา พหุ วั ฒ นธรรม เศรษฐกิ จฐานราก เศรษฐกิจชีวภาพ หน่วยงานที่มีสมรรถนะสูง ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 4 1) Chapter 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการเรียน : วัตถุประสงค์ของการเรียน จะเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) เช่น ยุ ท ธศาสตร์ช าติ 20 ปี มี 6 ยุ ทธศาสตร์ อะไรบ้ าง มี ห ลั ก การจ าอย่างไร แต่ล ะ ยุทธศาสตร์หมายความว่าอย่างไร ประกอบกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2561- 2565) ได้ ก าหนดยุ ท ธศาสตร์ เหมื อ นยุ ท ธศาสตร์ช าติ 20 ปี แต่ มี ก ารเพิ่ ม ยุ ท ธศาสตร์เร่งด่ ว นเข้ าไปอี ก 4 ยุทธศาสตร์ มีอะไรบ้าง มีวิธีการจาอย่างไร หัวข้อที่ 1 : สรุป “คานา” 1. คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติด้านต่าง ๆ รวม 6 คณะ อัน ประกอบด้วย (เท่ากับจานวนยุทธศาสตร์ชาติ จานวน 6 ด้าน) 1) คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง 2) คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3) คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4) คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม 6) คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ภาครัฐ เพื่อรั บ ผิ ดชอบในการดาเนิ น การจั ดทาร่างยุท ธศาสตร์ช าติให้ เป็ นไปตามหลั กเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่กาหนด ตลอดจนได้จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง อย่างกว้างขวางเพื่อประกอบการพิจารณาจัดทาร่างยุทธศาสตร์ชาติตามที่กฎหมายกาหนด 2. ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทย ลักษณะข้อสอบ ข้อสอบ : ยุทธศาสตร์ชาติ ฉบับแรกของไทย คือฉบับปีใด คาตอบ : 2561-2580 ข้อสอบ : ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มีกี่ยุทธศาสตร์ อะไรบ้าง คาตอบ : 6 ยุทธศาสตร์ 1) มั่นคง / 2) (มั่งคั่ง) ความสามารถในการแข่งขัน / (ยั่งยืน) 3) ทรัพยากรมนุษย์ / 4) สร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม / 5) สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม / 6) ปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 5 “มัง่ คั่ง” 2.การสร้าง ความ สามารถ ในการแข่งขัน 4.การสร้าง โอกาสและ 1.ความมั่นคง 3.การพัฒนา ความเสมอภาค ทางสังคม และเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 6การปรับสมดุล 5.การสร้างการ และพัฒนา เติบโตบน ระบบการ คุณภาพชีวิตที่ บริหารจัดการ เป็นมิตรต่อ ภาครัฐ สิ่งแวดล้อม คาถาม : แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) มีกี่ยุทธศาสตร์ ตอบ : มี 10 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (6 ยุทธศาสตร์ชาติ + 4 ยุทธศาสตร์เพิ่มเติมเพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ 5 ปี) 1) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง (มั่นคง) 2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (มั่งคั่ง) 3) ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (คนยั่งยืน) 4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (สังคมยั่งยืน) 5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ธรรมชาติยังยืน) 6) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ (ระบบราชการยั่งยืน) + 7) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 8) การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 9) การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ 10) ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 6 หัวข้อที่ 2 : สรุป “สถานการณ์ แนวโน้ม วิสัยทัศน์ และเป้าหมายในการพัฒนาประเทศ” 1. สถานการณ์ของประเทศ (อดีตถึงปัจจุบัน) การพัฒนาประเทศไทยนับตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 เป็นต้นมา ได้ส่งผล ให้ประเทศมีการพัฒนาในทุกมิติ ด้านเศรษฐกิจประเทศไทยได้รับการยกระดับเป็นประเทศในกลุ่มบนของกลุ่ม ประเทศระดับรายได้ปานกลาง ด้านสังคมที่มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนส่งผลให้ประเทศไทยหลุด พ้นจากการเป็นประเทศยากจน ด้านสิ่งแวดล้อมที่ประเทศไทยมีข้อได้เปรียบในความหลากหลายเชิงนิเวศ ประเทศไทยยังมีความท้าทายต่อการพัฒนาที่สาคัญ อาทิ 1) ปัญหาด้านเศรษฐกิจ อัต ราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี 2560 ที่ร้อยละ 3.9 ถือว่าอยู่ใน ระดับต่ากว่าศักยภาพ เมื่อเทียบกับร้อยละ 6.0 ต่อปีในช่วงเวลาเกือบ 6 ทศวรรษที่ผ่านมา (จา : เกือบ 60 ปี ที่ผ่านมา เฉลี่ยร้อยละ 6 ต่อปี แต่ปี พ.ศ.60 เติบโตเพียงร้อยละ 3.9) สาเหตุหลักเกิดจาก 1) การชะลอตัวของการลงทุนภายในประเทศ 2) สถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่ยังไม่ฟื้นตัวได้เต็มที่ 3) โครงสร้างเศรษฐกิจไทยที่ยังไม่สามารถขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 4) ภาคบริการและภาคเกษตรมีผลิตภาพการผลิตในระดับต่า 5) ขาดการนาเทคโนโลยีเข้ามาเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต 6) แรงงานไทยยังมีปัญหาเรื่องคุณภาพและสมรรถนะที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการในการ ขับเคลื่อนการพัฒนาของประเทศ 2) ปัญหาด้านความยากจนยังคงเป็นประเด็นท้าทายในการยกระดับการพัฒนาประเทศให้ประชาชน มีรายได้สูงขึ้นและแก้ปัญหาความเหลื่อมล้าอย่างยั่งยืน 3) การพัฒนาประเทศที่ผ่านมายังขาดความชัดเจน ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของ ประเทศยังมีปัญหาการใช้อย่างสิ้นเปลืองและเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว 4) ปัญหาประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 5) การเปลี่ ย นแปลงโครงสร้ างประชากรที่ มี สั ด ส่ ว นประชากรวัย แรงงานและวัยเด็ กที่ ล ดลงและ ประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จะเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญที่จะทาให้การพัฒนาประเทศในมิติต่าง ๆ มี ความท้าทายมากขึ้นโดยเฉพาะในส่วนของเสถียรภาพทางการเงินการคลังของประเทศในการจัดสวัสดิการเพื่อ ดูแลผู้สูงอายุที่เพิ่มสูงขึ้น ลักษณะข้อสอบ ข้อสอบ : เกือบ 60 ปี ที่ผ่านมาเศรษฐกิจไทยเติบโตโดยเฉลี่ยร้อยละเท่าใด คาตอบ : ร้อยละ 6 ข้อสอบ : ปี 2560 เศรษฐกิจไทยเติบโตร้อยละเท่าใด คาตอบ : ร้อยละ 3.9 ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 7 ข้อสอบ : ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ความท้าทายของประเทศไทย ก. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร ข. ปัญหาด้านความยากจน ค. ประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ง. ความเป็นผู้นาอาเซียน เฉลย ง. ข้อสอบ : ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ความท้าทายของประเทศไทย ก. เศรษฐกิจ ข. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศยังมีปัญหาการใช้อย่างสิ้นเปลืองและเสื่อมโทรมลง อย่างรวดเร็ว ค. ประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ง. เงินบาทแข็งค่า เฉลย ง. ข้อสอบ : อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยตกต่าเพราะเหตุใด คาตอบ : 1) การชะลอตัวของการลงทุนภายในประเทศ 2) สถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่ยังไม่ฟื้นตัวได้เต็มที่ 3) โครงสร้างเศรษฐกิจไทยที่ยังไม่สามารถขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 4) ภาคบริการและภาคเกษตรมีผลิตภาพการผลิตในระดับต่า 5) ขาดการนาเทคโนโลยีเข้ามาเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต 6) แรงงานไทยยังมีปัญหาเรื่องคุณภาพและสมรรถนะที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการในการขับเคลื่อน การพัฒนาของประเทศ 2. ปัจจัยและแนวโน้มที่คาดว่าจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ (SWOT ประเทศไทย และแนวโน้มอนาคต) ลักษณะข้อสอบ ข้อสอบ : จงวิเคราะห์ SWOT ประเทศไทย (อัตนัย) คาตอบ : จุดแข็ง Strength 1) ตาแหน่งที่ตั้งที่สามารถเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมโยงในภูมิภาคและเป็นประตูสู่เอเชีย 2) ประเทศไทยคาดว่าจะเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอดในปี พ.ศ. 2574 จะก่อให้เกิดโอกาส ใหม่ ๆ ในการตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคสูงอายุที่จะมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ฯลฯ ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 8 จุดอ่อน Weakness 1) ประชากรไทยมีแนวคิดและความเชื่อที่แตกต่างกัน 2) โครงสร้างประชากรที่เข้าสู่สังคมสูงวัย อาจทาให้เกิดความต้องการแรงงานต่างชาติเพิ่มมากขึ้นเพื่อ ทดแทนจานวนแรงงานไทยที่ลดลง ฯลฯ โอกาส Opportunity 1) ความเปลี่ยนแปลงจากโลกาภิวัตน์และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ได้รับการ พัฒนาอย่างก้าวกระโดดจะก่อให้เกิดนวัตกรรมอย่างพลิกผัน อาทิ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) อินเทอร์เน็ต ในทุกสิ่ ง การวิเคราะห์ ข้อมูลขนาดใหญ่ หุ่ นยนต์และโดรน เทคโนโลยีพันธุกรรมสมัยใหม่ และเทคโนโลยี ทางการเงิน ซึ่งตัวอย่างแนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดดเหล่านี้ คาดว่าจะเป็นปัจจัยสนับสนุน หลักที่ช่วยทาให้เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มที่จะกลับมาขยายตัวได้เข้มแข็งขึ้น 2) พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกรวมถึงการสร้างสมดุลความมั่ นคงด้านพลังงานและอาหารมี แนวโน้มที่จะมีความสาคัญเพิ่มมากขึ้น ฯลฯ อุปสรรค Treat 1) ปัญหาด้านเขตแดนกับประเทศเพื่อนบ้านยังคงเป็นความท้าทายด้านความมั่นคงในอนาคต 2) การขยายอิทธิพลและการเพิ่มบทบาทของประเทศมหาอานาจ ที่อาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ไปสู่ระบบหลายขั้วอานาจ หรือเกิดการย้ายขั้วอานาจทางเศรษฐกิจ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจของประเทศในอนาคต 3) องค์กรที่ไม่ใช่รัฐ อาทิ องค์การระหว่างประเทศ และบรรษัทข้ามชาติ จะมีบทบาทมากขึ้นในการ กาหนดกฎ ระเบียบ ทิศทางความสัมพันธ์และมาตรฐานสากลต่าง ๆ ทั้งในด้านความมั่นคง และเศรษฐกิจ 4) การรวมกลุ่มเศรษฐกิจและการเปิดเสรีในภูมิภาคที่นาไปสู่ความเชื่อมโยงในทุกระบบ อาจก่อให้เกิด ความเสี่ยงด้านอาชญากรรมข้ามชาติและเศรษฐกิจนอกระบบ รวมทั้งปัญหายาเสพติด การค้ามนุษย์ และการ ลักลอบเข้าเมือง 5) การแย่งชิงแรงงานอาจมีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งจะยิ่งทาให้เกิดความเสี่ยงต่อการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงของบริบทสังคมไทย 6) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศคาดว่าจะมีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งจะสร้างความ เสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ระบบโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็น ตลอดจนระบบผลิตทางการเกษตรที่สัมพันธ์ ต่อเนื่องกับความมั่นคงด้านอาหารและน้า 7) ระบบนิ เวศต่ าง ๆ มี แ นวโน้ ม เสื่ อ มโทรมลง และมี ค วามเป็ น ไปได้ ค่ อ นข้ า งสู งในการสู ญ เสี ย ความสามารถในการรองรับความต้องการของมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รวดเร็วและคาดการณ์ได้ยากการเกิดขึ้นของโรคระบาด และโรค อุบัติใหม่ที่จะส่งผลให้การเฝ้าระวังด้านการสาธารณสุขในประเทศ ฯลฯ ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 9 ลักษณะข้อสอบ ข้อสอบ : ประเทศไทยคาดว่าจะเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอดในปี พ.ศ.ใด (ปรนัย) คาตอบ : พ.ศ. 2574 3. วิสัยทัศน์ประเทศไทย “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง” ลักษณะข้อสอบ ข้อสอบ : จงอธิบายความหมายของคติพจน์ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” (ข้อสอบอัตนัย) คาตอบ : ความมั่นคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและ ภายนอกประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และมีความมั่นคง ในทุกมิติ ทั้งมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง สังคมมีความปรองดองและความ สามัคคี สามารถผนึกกาลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ประชาชนมีความ มั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคงพอเพียงกับการดารงชีวิ ต มีการออมสาหรับวัยเกษียณ ความมั่นคงของ อาหาร พลังงาน และน้า มีที่อยู่อาศัยและความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน ความมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีความยั่งยืน จน เข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหลื่อมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุขได้รับผลประโยชน์ จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น และมีการพัฒนาอย่างทั่วถึงทุกภาคส่วนมีคุณภาพชีวิตตามมาตรฐาน ขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีป ระชาชนที่อยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจในประเทศมีความเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่าง ๆทั้งในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศ เพื่อให้สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสร้างฐานเศรษฐกิจและสังคม แห่งอนาคตเพื่อให้สอดรับกับบริบทการพัฒนาที่เปลี่ยนแปลงไป และประเทศไทยมีบทบาทที่สาคัญ ในเวทีโลก และมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่างแน่นแฟ้นกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย เป็นจุดสาคัญของการ เชื่อมโยงในภูมิภาค ทั้งการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน และการทาธุรกิจ เพื่อให้เป็นพลังในการ พัฒนา นอกจากนี้ ยังมีความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่องไปได้ ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทาง ปั ญ ญา ทุ น ทางการเงิ น ทุ น ที่ เป็ น เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งจั ก ร ทุ น ทางสั ง คม และทุ น ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยู่บนหลักการใช้การรักษาและการฟื้นฟูฐาน ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมจนเกิน ความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้นและสิ่งแวดล้อมมี คุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม รัฐบาลมี ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 10 นโยบายที่มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืนและให้ความสาคัญกับการมีส่ วนร่วมของประชาชน และทุกภาค ส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาอย่างสมดุล มีเสถียรภาพ และยั่งยืน 4. เป้าหมายการพัฒนาประเทศ เป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” 5. การประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ (KPI) การประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย 1) ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย 2) ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ 3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ 4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ 6) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเข้าถึงการให้บริการของภาครัฐ ลักษณะข้อสอบ ข้อสอบ : เป้าหมายการพัฒนาประเทศของไทย ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี คือข้อใด ก. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ข. มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ค. ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ง. ประเทศชาติ มั่น คง ประชาชนมี ความสุ ข เศรษฐกิ จพั ฒ นาอย่างต่อ เนื่ อง สั งคมเป็ น ธรรม ฐาน ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน เฉลย ข้อ ง. ข้อสอบ : ตามตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มีการกาหนดให้มีการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ กี่ข้อ อะไรบ้าง ตอบ : 6 ข้อ 1) ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย (ยุทธศาสตร์ชาติ ข้อ 1 ความมั่นคงทาให้อยู่ดีมีสุข สงบ) 2) ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ (ยุทธศาสตร์ชาติ ข้อ 2) 3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติ ข้อ 3) 4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม (ยุทธศาสตร์ชาติ ข้อ 4) 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ (ยุทธศาสตร์ ชาติ ข้อ 5) 6) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเข้าถึงการให้บริการของภาครัฐ (ยุทธศาสตร์ชาติ ข้อ 6) ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 11 2) Chapter 2 เป้าหมายและตัวชี้วัด ของทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการเรียน : วัตถุประสงค์ของการเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ แยกแยะ และทา ข้ อ สอบที่ อ อกเกี่ ย วกั บ เป้ า หมาย (Purpose) และ ตั ว ชี้ วั ด (KPI : Key Performance Indicator) ของ ยุทธศาสตร์ชาติทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ได้ เป้าหมาย (Purpose) และ ตัวชี้วัด (KPI) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง (มั่นคง) 2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (มั่งคั่ง) 3) ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (คนยั่งยืน) 4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (สังคมยั่งยืน) 5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ธรรมชาติยังยืน) 6) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ (ระบบราชการยั่งยืน) 1) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง เป้าหมาย (Goal) (สิ่งที่ต้องการจะบรรลุ เมื่อทางานนี้เสร็จ) 1) ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุข 2) บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิตแิ ละทุกระดับ 3) กองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีความพร้อมในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคง 4) ประเทศไทยมีบทบาทด้านความมั่นคงเป็นที่ชื่นชมและได้รับการยอมรับ โดยประชาคมระหว่าง ประเทศ 5) การบริหารจัดการความมั่นคงมีผลสาเร็จที่เป็นรูปธรรมอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด (KPI) (ตัวบ่งชี้ความสาเร็จในการดาเนินงาน) 1) ความสุขของประชากรไทย (ควรเพิ่มขึ้น) 2) ความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ (ควรเพิ่มขึ้น) 3) ความพร้อมของกองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง และการมีส่วนร่วมของภาครัฐภาคเอกชน และ ภาคประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคง (ควรเพิ่มขึ้น) 4) บทบาทและการยอมรับในด้านความมั่นคงของไทยในประชาคมระหว่างประเทศ (ควรเพิ่มขึ้น) 5) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม (ควรเพิ่มขึ้น) ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 12 2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน เป้าหมาย (Goal) (สิ่งที่ต้องการจะบรรลุ เมื่อทางานนี้เสร็จ) 1) *ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว เศรษฐกิจเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน 2) ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น *ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว (เป็นคาที่มีอยู่ในวิสัยทัศน์) ตัวชี้วัด (KPI) (ตัวบ่งชี้ความสาเร็จในการดาเนินงาน) 1) รายได้ป ระชาชาติ การขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ และการกระจายรายได้ (ควรเพิ่มขึ้น) 2) *ผลิตภาพการผลิตของประเทศ ทั้งในปัจจัยการผลิตและแรงงาน (ควรเพิ่มขึ้น) 3) การลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนา (ควรเพิ่มขึ้น) 4) ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (ควรเพิ่มขึ้น) *ผลิตภาพการผลิต (Productivity) หมายถึง การที่ผลผลิตเพิ่มขึ้น โดยที่เราไม่ต้องเพิ่มทุน (ผู้เขียน) 3) ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ เป้าหมาย (Goal) (สิ่งที่ต้องการจะบรรลุ เมื่อทางานนี้เสร็จ) 1) คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 2) สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ตัวชี้วัด (KPI) (ตัวบ่งชี้ความสาเร็จในการดาเนินงาน) 1) การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดีของคนไทย (ควรเพิ่มขึ้น) 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (ควรเพิ่มขึ้น) 3) การพัฒนาสังคมและครอบครัวไทย (ควรเพิ่มขึ้น) 4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม เป้าหมาย (Goal) (สิ่งที่ต้องการจะบรรลุ เมื่อทางานนี้เสร็จ) 1) สร้างความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ 2) กระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม เพิ่มโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามาเป็นกาลัง ของการพัฒนาประเทศในทุกระดับ 3) เพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา การพึ่งตนเองและการจัดการตนเองเพื่อสร้าง สังคมคุณภาพ ตัวชี้วัด (KPI) (ตัวบ่งชี้ความสาเร็จในการดาเนินงาน) 1) ความแตกต่างของรายได้และการเข้าถึงบริการภาครัฐระหว่างกลุ่มประชากร (ควรลดลง) 2) ความก้าวหน้าของการพัฒนาคน (ควรเพิ่มขึ้น) 3) ความก้าวหน้ าในการพั ฒ นาจั งหวัดในการเป็ น ศูน ย์ก ลางความเจริญ ทางเศรษฐกิจ สั งคมและ เทคโนโลยี (ควรเพิ่มขึ้น) 4) คุณภาพชีวิตของประชากรสูงอายุ (ควรเพิ่มขึ้น) ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 13 5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย (Goal) (สิ่งที่ต้องการจะบรรลุ เมื่อทางานนี้เสร็จ) 1) อนุรักษ์และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ให้คนรุ่นต่อไปได้ใช้อย่างยั่งยืน มีสมดุล 2) ฟื้น ฟู และสร้างใหม่ฐานทรัพ ยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เพื่อลดผลกระทบทางลบจากการ พัฒนาสังคมเศรษฐกิจของประเทศ 3) ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโต บนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้สมดุลภายในขีด ความสามารถของระบบนิเวศ 4) ยกระดับ กระบวนทั ศ น์ เพื่ อ กาหนดอนาคตประเทศด้ านทรัพ ยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้ อ มและ วัฒนธรรม บนหลักของการมีส่วนร่วม และธรรมาภิบาล ตัวชี้วัด (KPI) (ตัวบ่งชี้ความสาเร็จในการดาเนินงาน) 1) พื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ควรเพิ่มขึ้น) 2) สภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมได้รับการฟื้นฟู (ควรเพิ่มขึ้น) 3) การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ควรเพิ่มขึ้น) 4) ปริมาณก๊าซเรือนกระจก (ควรลดลง) มูลค่าเศรษฐกิจฐานชีวภาพ (ควรเพิ่มขึ้น) 6) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เป้าหมาย (Goal) (สิ่งที่ต้องการจะบรรลุ เมื่อทางานนี้เสร็จ) 1) ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทางานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส 2) ภาครัฐมีขนาดที่เล็กลง พร้อมปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง 3) ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ 4) กระบวนการยุติธรรม เป็นไปเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวมของประเทศ ตัวชี้วัด (KPI) (ตัวบ่งชี้ความสาเร็จในการดาเนินงาน) 1) ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการสาธารณะของภาครัฐ (ควรเพิ่มขึ้น) 2) ประสิทธิภาพของการบริการภาครัฐ (ควรเพิ่มขึ้น) 3) ระดับความโปร่งใส (ควรเพิ่มขึ้น) การทุจริต ประพฤติมิชอบ (ควรลดลง) 4) ความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม (ควรเพิ่มขึ้น) ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 14 ลักษณะข้อสอบ (เป้าหมาย ตัวชี้วัด) ข้อสอบ : ข้อใดต่อไปนี้คือเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ก. ภาครัฐมีขนาดที่เล็กลง พร้อมปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ข. ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโต บนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้สมดุลภายในขีด ความสามารถของระบบนิเวศ ค. ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น ง. ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุข เฉลย ข้อ ง. ข้อสอบ : ข้อใดต่อไปนี้คือเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ ก. ภาครัฐมีขนาดที่เล็กลง พร้อมปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ข. ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโต บนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้สมดุลภายในขีด ความสามารถของระบบนิเวศ ค. ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น ง. ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุข เฉลย ข้อ ก. ข้อสอบ : ข้อใดต่อไปนี้คือเป้าหมายของยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ก. ภาครัฐมีขนาดที่เล็กลง พร้อมปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ข. ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโต บนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้สมดุลภายในขีด ความสามารถของระบบนิเวศ ค. ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น ง. ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุข เฉลย ข้อ ค. ข้อสอบ : ข้อใดต่อไปนี้คือเป้าหมายของยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ก. ภาครัฐมีขนาดที่เล็กลง พร้อมปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ข. ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโต บนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้สมดุลภายในขีด ความสามารถของระบบนิเวศ ค. ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น ง. ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุข เฉลย ข้อ ข. ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 15 ข้อสอบ : ข้อใดต่อไปนี้คือตัวชี้วัดของยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ก. ความก้าวหน้าของการพัฒนาคน ข. ปริมาณก๊าซเรือนกระจก ค. ความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม ง. ความสุขของประชากรไทย เฉลย ข้อ ง. ข้อสอบ : ข้อใดต่อไปนี้คือตัวชี้วัด ของยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ ก. ความก้าวหน้าของการพัฒนาคน ข. ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ค. ความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม ง. ความสุขของประชากรไทย เฉลย ข้อ ข. ข้อสอบ : ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ตัวชี้วัดของยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ ก. ความก้าวหน้าของการพัฒนาคน ข. ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ค. การพัฒนาสังคมและครอบครัวไทย ง. การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเป็นอยู่ที่ดีของคนไทย เฉลย ข้อ ก. ข้อสอบ : คุณภาพชีวิตของประชากรสูงอายุ คือตัวชี้วัดของยุทธศาสตร์ชาติด้านใด ก. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสังคม ค. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ง. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง เฉลย ข้อ ข. ข้อสอบ : ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต คือตัวชี้วัดของยุทธศาสตร์ชาติด้านใด ก. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสังคม ค. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ง. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง เฉลย ข้อ ก. ***************************** ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 16 3) Chapter 3 เนื้ อ หาของยุ ท ธศาสตร์ ข องยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ทั้ ง 6 ยุ ท ธศาสตร์ วัตถุประสงค์ของการเรียน : เพื่อให้ผู้เรียนมีเทคนิคในการจา “เนื้อหา” ของยุทธศาสตร์ชาติทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งมีคาศัพท์ทางวิชาการอยู่มากมายที่สามารถจะนามาแปลงเป็น “ข้อสอบ” ทั้งในส่วนของข้อสอบ “ปรนัย” และ “อัตนัย” เนื้อหาของ “ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี” Tip (เทคนิคการอ่าน) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ในรายละเอียด เป็นภาษาที่เข้าใจยาก เป็นภาษาทางวิชาการ บางครั้งเอ่ยมา แบบห้วนๆ โดยมิได้ให้ความหมาย ดังนั้น หากเราอ่านไปเรื่อยๆ จะ “งง” ไปเอง กระผมจึ งแนะน าให้ ท่ าน อ่ านโดยจั บ “Key Word” ที่ ส าคั ญ ๆ เช่ น นั ก วิช าการท่ านหนึ่ ง ชื่ อ อาจารย์ ดร.ณั ฐกรณ์ วิทิตานนท์ อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ให้ ความเห็นเกี่ยวกับ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยจับประเด็น “Key Word” ดังภาพนี้ครับ Tip (เทคนิคการอ่าน) “Key Word” ที่ ส าคัญ ที่ น อกเหนือ จากที่ อาจารย์ ดร. ณั ฐ กร วิทิ ต านนท์ สนใจ / แต่มี ความ เป็นไปได้สูงที่จะออกสอบ ปลัดเอด ขอสรุปว่า จะมีคา (Key Word) หลายคา ดังต่อไปนี้ครับผม ภาคประชาสั งคม องค์ก รที่ ไม่ ใช่ รัฐ ผลิ ต ภาพการผลิ ต ธรรมาภิ บ าล ดุ ล ยภาพสภาวะ แวดล้อมระหว่างประเทศ องค์รวม เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น เกษตรปลอดภัย เกษตรชีวภาพ เกษตรแปรรูป เกษตรอัจฉริยะ อุตสาหกรรมชีวภาพ ปัญญาประดิษฐ์ โลจิสติกส์ ท่องเที่ยว เชิงธุรกิจ ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค เขตเศรษฐกิจพิเศษ เศรษฐกิจมหภาค ผู้ประกอบการ อัจฉริยะ ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big DATA) โค้ช ผู้อานวยการการเรียนรู้ ธนาคารหน่วยกิต ดิ จิ ตั ล แพลตฟอร์ ม พหุ ปั ญ ญา พหุ วั ฒ นธรรม เศรษฐกิ จ ฐานราก เศรษฐกิ จ ชี ว ภาพ หน่วยงานที่มีสมรรถนะสูง ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 17 การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นี้ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่าง การพัฒ นาความมั่น คง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในรูปแบบ “ประชารัฐ” โดยประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ Key Word “ประชารัฐ” “ประชารัฐ” คือ ภาครัฐ (ราชการ) ภาคเอกชน ภาคประชาชน ภาควิชาการ และภาคประชาสังคม ช่ว ยกัน แก้ปั ญ หา และคิ ดหาทางสร้างอนาคตให้ ป ระเทศไทย ผ่ านโครงสร้างการขับ เคลื่ อนเศรษฐกิจของ ประเทศที่มุ่งมั่นลดความเหลื่อมล้า พัฒนาคุณภาพคน และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน แนวคิดประชารัฐ เป็นการเอาจุดเด่นของแต่ละภาคส่วนมารวมกัน 5 ภาคส่วน ภาคราชการ จุดเด่น คือ มีคนมากกระจายอยู่เต็มพื้นที่ มีองค์ความรู้ มีงบประมาณและบทบาท หน้าที่ตามลักษณะงานที่รับผิดชอบ ภาคเอกชน จุดเด่น คือ ทันสมัย บริหารจัดการเก่ง มีทุนที่คล่องตัว ภาคประชาชน จุดเด่น คือ มีฝีมือ มีความสามารถผลิตสินค้า รักบ้านเกิด ภาควิชาการ จุดเด่น คือ มีองค์ความรู้ เทคโนโลยี การค้นคว้าวิจัยเพื่อต่อยอด ภาคประชาสังคม จุดเด่น คือ ทางานเชิงลึก เกาะติด มีเครือข่ายมาก ที่มา : คู่มือดาเนินงานประชารัฐ กรมพัฒนาชุมชน 1) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ด้ านความมั่ น คงมี ป ระเด็ น ยุ ท ธศาสตร์ 1 5 ประเด็ น และใน 5 ประเด็ น ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง จะมีประเด็นยุทธศาสตร์ย่อยอีก 17 ประเด็น ดังนี้ 1) การรักษาความสงบภายในประเทศ (ประเด็นยุทธศาสตร์) 1.1) การพัฒ นาและเสริมสร้างคนในทุกภาคส่วนให้มีความเข้มแข็ง มีความพร้อม ตระหนักในเรื่องความมั่นคง และมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา (ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อย) 1.2) การพั ฒ นาและเสริ ม สร้างความจงรัก ภั ก ดี ต่ อ สถาบั น หลั ก ของชาติ (ประเด็น ยุทธศาสตร์ย่อย) 1.3) ก ารพั ฒ น าและเสริ ม สร้ า งการเมื องใน ระบ อบ ป ระช าธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่มีเสถียรภาพและมี ธรรมาภิบาล2เห็นแก่ประโยชน์ของประเทศชาติมากกว่า ประโยชน์ส่วนตน (ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อย) 1.4) การพัฒนาและเสริมสร้างกลไกที่สามารถป้องกันและขจัดสาเหตุของประเด็น ปัญหาความมั่นคงที่สาคัญ (ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อย) 1 ยุทธศาสตร์ สามารถแตกเป็นประเด็นยุทธศาสตร์ และประเด็นยุทธศาสตร์สามารถแตกเป็นประเด็นยุทธศาสตร์ย่อย ได้อีก สรุป ยุทธศาสตร์ แตกเป็น ประเด็นยุทธศาสตร์ แตกเป็น ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อย 2 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ.2542 ระบุว่า “ธรรมาภิบาล” มีองค์ประกอบ 6 ประกอบ คือ 1)หลักนิติธรรม 2) หลักความโปร่งใส 3) หลักการมีส่วนร่วม 4) หลักความรับผิดชอบตรวจสอบ ได้ 5) หลักความคุม้ ค่า 6) หลักคุณธรรม ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 18 2) การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง 2.1) การแก้ไขปัญหาความมั่นคงในปัจจุบัน 2.2) การติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาที่อาจอุบัติขึ้นใหม่ 2.3) การสร้ า งความปลอดภั ย และความสั น ติ สุ ข อย่ า งถาวรในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ 2.4) การรั ก ษาความมั่ น คงและผลประโยชน์ ท างทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อมทั้งทางบกและทางทะเล 3) การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อความมั่นคงของ ชาติ 3.1) การพัฒนาระบบงานข่าวกรองแห่งชาติแบบบูรณาการอย่างมีประสิทธิภาพ 3.2) การพัฒ นาและผนึกพลั งอานาจแห่ งชาติ กองทัพและหน่ว ยงานความมั่นคง รวมทั้งภาครัฐและภาคประชาชน 3.3) การพัฒ นาระบบเตรียมพร้อมแห่งชาติและการบริหารจัดการภัยคุกคามให้ มี ประสิทธิภาพ 4) การบูรณาการความร่วมมือด้านความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมถึงองค์กร ภาครัฐและที่มิใช่ภาครัฐ3 4.1) การเสริม สร้ างและรัก ษาดุล ยภาพสภาวะแวดล้อ มระหว่างประเทศ (Key Word คือ “ดุลยภาพสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ” หมายถึง การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ในทุกระดับและทุก ด้านกับนานาประเทศ โดยเฉพาะประเทศมหาอานาจและประเทศที่มีความสาคัญทางยุทธศาสตร์ในมิติต่าง ๆ อย่างสมดุล) 4.2) การเสริมสร้างและธารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค 4.3) การร่วมมือทางการพัฒนากับประเทศเพื่อนบ้าน ภูมิภาค โลก รวมถึงองค์กร ภาครัฐและที่มิใช่ภาครัฐ 5) การพั ฒ นากลไกการบริ ห ารจั ด การความมั่ น คงแบบ องค์ ร วม (Key Word คื อ “องค์รวม” หมายความว่า มีการบูรณาการความร่วมมือและการปฏิบัติกับทุกภาคส่วน ไม่ใช่เรื่องของกองทัพ แต่เพียงองค์กรเดียว) 5.1) การพัฒนากลไกให้พร้อมสาหรับการติดตาม เฝ้าระวัง แจ้งเตือน ป้องกันและ แก้ไขปัญหาความมั่นคงแบบองค์รวมอย่างเป็นรูปธรรม 5.2) การบริหารจัดการความมั่นคงให้เอื้ออานวยต่อการพัฒนาประเทศในมิติอื่นๆ 5.3) การพัฒนากลไกและองค์กรขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง 3 “องค์ ก รที่ มิ ใช่ รัฐ ” ก็คือ NGOs ซึ่งย่อมาจากคาว่า Non Governmental Organizations แปลตรงตัว คือ องค์กรที่ ไม่ใช่องค์กรของรัฐ เอ็นจีโอ ในประเทศไทยมีบทบาทในสังคมมายาวนานกว่า 40-50 ปี ในสังคมไทยเอ็นจีโอนั้นมีทั้งที่เป็นกลุ่ม บุคคลและองค์กร ซึ่งรวมไปถึงมูลนิธิหรือหน่วยงานเอกชนต่างๆ ที่ทางานด้านการพัฒนา หากลองยกตัวอย่างองค์กรเอ็นจีโอตัว เก๋าและเป็นที่รู้จักของประเทศไทย ก็เช่น สภากาชาดไทย (สภากาชาดก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ตั้งแต่ในยุค ร.ศ. 112 หรือ พ.ศ. 2436 นั่นเอง) (ที่มา : http://thaingo.in.th) ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 19 ลักษณะข้อสอบ ข้อสอบ : ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง มีกี่ประเด็นยุทธศาสตร์ ? ตอบ : 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ ข้อสอบ : วิธีการใดที่จะทาให้ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง สัมฤทธิ์ผล ? ก. ธรรมาภิบาล ข. การจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม ค. การจัดการความมั่นคงแบบเน้นกองทัพ ง. ถูกทั้ง ข้อ ก. และ ข. เฉลย ข้อ ง. ข้อสอบ : ข้อใดคือการเสริมสร้างและรักษาดุลยภาพสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ ? ก. การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ในทุกระดับและทุกด้านกับนานาประเทศ ข. การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ในทุกระดับและทุกด้านกับนานาประเทศ โดยเฉพาะประเทศมหาอานาจ ค. การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ในทุกระดับและทุกด้านกับนานาประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่มีความสาคัญ ทางยุทธศาสตร์ในมิติต่าง ๆ ง. ถูกทุกข้อ เฉลย ข้อ ง. ข้อสอบ : ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่เป้าหมาย ของยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ? ก. เน้นกองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง เป็นหลักในการป้องกันประเทศ ข. ประเทศไทยมีบทบาทด้านความมั่นคงเป็นที่ชื่นชมและได้รับการยอมรับโดยประชาคมระหว่าง ประเทศ ค. บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ ง. ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุข เฉลย ข้อ ก. ข้อสอบ : ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ตัวชี้วัด ของยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ? ก. ประสิทธิภาพการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม ข. ความพร้อมของกองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง และการมีส่วนร่วมของภาครัฐภาคเอกชน และ ภาคประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคง ค. ความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ง. ความสุขของกรรมกรไทย เฉลย ข้อ ง. ปลัดเอด ติวสอบราชการ สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามคัดลอก เผยแพร่ ด้วยวิธีการใดๆ 20 2) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ (1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตและจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศใน ด้านอื่น ๆ นามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและ สังคมโลกสมัยใหม่ (2) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศในมิติ ต่าง ๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล และการ ปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ (3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมทั้งการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ประเทศไทย สามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลก คว?

Use Quizgecko on...
Browser
Browser