บุคลิกภาพ และกลไกการป้องกันทางจิต PDF
Document Details
Uploaded by WellMadeTopaz3028
มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผศ.ดร.นสพ.เกริกเกียรติ จินดา
Tags
Summary
เอกสารนีเ้ กี่ยวกับบุคลิกภาพและกลไกการป้องกันทางจิต ซึ่งอธิบายถึงความหมายและชนิดของบุคลิกภาพ รวมถึงปัจจัยที่กำหนดบุคลิกภาพ และทฤษฎีบุคลิกภาพต่างๆ
Full Transcript
บุคลิกภาพ และกลไกการป้ องกันทางจิต ผศ.ดร.นสพ.เกริกเกียรติ จิ นดา [email protected] ความหมายของบุคลิกภาพ โดยทั่วไปแล้วบุคลิกภาพ หมายถึง ประสิทธิภาพทางสังคมของบุคคลซึง่ แสดงถึง ความมีเสน่หใ์ นสายตาของผูอ้ ่นื โฆษณาพัฒนาบุคลิกภาพ สอนทั...
บุคลิกภาพ และกลไกการป้ องกันทางจิต ผศ.ดร.นสพ.เกริกเกียรติ จิ นดา [email protected] ความหมายของบุคลิกภาพ โดยทั่วไปแล้วบุคลิกภาพ หมายถึง ประสิทธิภาพทางสังคมของบุคคลซึง่ แสดงถึง ความมีเสน่หใ์ นสายตาของผูอ้ ่นื โฆษณาพัฒนาบุคลิกภาพ สอนทักษะทางสังคมและปรับปรุงการแสดงออกหรือกริยา ท่าทางของบุคคลให้ประทับใจ และพอใจแก่บคุ คลอื่น ความหมายของบุคลิกภาพ ในบางครัง้ พบว่าบุคลิกภาพก็ถกู ใช้ไปในความหมายของการพูดถึงลักษณะเด่น ติชา่ เป็ นคนที่ความมั่นใจ พี่บีเป็ นคนที่รา้ ยกาจ พี่ลกู เกดมีบคุ ลิกภาพที่ดุ เจสซี่มีบคุ คลิกภาพที่ขีอ้ าย ความหมายของบุคลิกภาพ ในทางจิตวิทยาแล้ว บุคลิกภาพ หมายถึง ลักษณะพฤติกรรมและวิธีการคิดซึง่ กาหนดแนวทางการปรับตัวของบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม ลักษณะ หมายถึง ความคงที่ของพฤติกรรม โดยบุคคลมีแนวโน้มที่จะกระทาหรือคิดด้วย วิธีแบบเดิมในสถานการณ์ตา่ งๆ เช่น บางคนไม่แสดงอาการโกรธ ไม่ว่าจะถูกแหย่หรือยั่วโมโหอย่างหนัก ชนิดของบุคลิกภาพ บุคลิกภาพของมนุษย์แบ่งเป็ น 2 ลักษณะ คือ 1. บุคลิกภาพภายนอก (External Personality) เป็ นสิ่งที่สงั เกตเห็นได้ชดั หรือสัมผัส ได้ดว้ ยประสาททัง้ 5 เช่น รูปร่างหน้าตา กิรยิ ามารยาท การพูดการสนทนา 2. บุคลิกภาพภายใน (Internal Personality) เป็ นสิ่งที่มองไม่เห็น สัมผัสยาก ต้องอยู่ ด้วยกันนานๆ จึงจะเห็นบุคลิกภาพภายในชัดเจน เช่น ความคิด ค่านิยม ทัศนคติ ความรู ้ ความสามารถ บุคลิกภาพภายใน ปัจจัยกำหนดบุคลิกภำพ มี 2 ปั จจัยหลัก คือ 1. ศักยภาพทีม่ มี าแต่กาเนิด เป็ นผลจากพันธุกรรม เช่น รูปร่าง ผิวพรรณ หน้าตา ความสมบูรณ์หรือพิการของร่างกาย เด็กบางคนมีลกั ษณะว่องไว ขีร้ าคาญ สนใจบุคคล และวัตถุใหม่ๆ เด็กบางคนมีลกั ษณะเงียบ ไม่สนใจสิ่งใหม่ๆ 2. ประสบการณ์ มนุษย์เรียนรูจ้ ากประสบการณ์ตา่ งๆ จากสิ่งแวดล้อม หล่อหลอมทา ให้เกิดบุคลิกภาพ เช่น เด็กที่อยูใ่ นสภาวะบ้านแตก ด่าทอทะเลาะเบาะแว้ง ย่อมมีโอกาส ในการใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหามากกว่าเด็กที่อยูใ่ นครอบครัวอบอุน่ ปัจจัยกำหนดบุคลิกภำพ ประสบการณ์ของบุคคลแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ ประสบการณ์ร่วม (Common Experience) ประสบการณ์ที่บคุ คลมีเหมือนกันในวัฒนธรรมนัน้ ๆ ประสบการณ์เฉพาะ (Unique Experience) ประสบการณ์เฉพาะของบุคคลซึง่ แตกต่างจากบุคคลอื่นแม้จะอยูใ่ นกลุม่ เดียวกัน ปัจจัยกำหนดบุคลิกภำพ (ประสบการณ์ร่วม) บุคคลที่เติบโตขึน้ มาในวัฒนธรรมเดียวกัน จะมีประสบการณ์ทเี่ หมือนกัน โดยเฉพาะในเรื่องความเชื่อ ประเพณี และค่านิยม วัฒนธรรมเป็ นตัวกาหนด ความคาดหวังของสังคม → แนวประพฤติปฏิบตั ิตน 1. บทบาททางเพศ แต่ละวัฒนธรรมแตกต่างกัน ปัจจัยกำหนดบุคลิกภำพ (ประสบการณ์ร่วม) 2. อาชีพ ความรู ้ และทักษะในการประกอบอาชีพอย่างเดียวไม่เพียงพอ ต้องประพฤติปฏิบตั ิตน ตามแบบคนในอาชีพนัน้ 3. สถานการณ์บางอย่าง งานศพ งานแต่งงาน ปัจจัยกำหนดบุคลิกภำพ (ประสบการณ์ร่วม) แม้ว่าวัฒนธรรมจะมีอิทธิพลทาให้บคุ คลในวัฒนธรรมนัน้ มีลกั ษณะคล้ายกัน แต่ วัฒนธรรมอย่างเดียวไม่สามารถทานายบุคลิกภาพของบุคคลได้อย่างสมบูรณ์ เนื่องจาก 1. อิทธิพลของวัฒนธรรมไม่เป็ นเพียงรูปแบบเดียวเท่านัน้ เพราะผูถ้ ่ายทอดวัฒนธรรม คือ บิดา มารดา และผูอ้ ่นื ซึง่ มีคา่ นิยมและวิธีการฝึ กหัดที่ไม่เหมือนกัน ทาให้วฒ ั นธรรม มีอิทธิพลต่อบุคคลไม่เท่ากัน 2. บุคคลแต่ละคนมีประสบการณ์เฉพาะของตนเองแตกต่างจากผูอ้ ่นื ปัจจัยกำหนดบุคลิกภำพ (ประสบการณ์เฉพาะ) บุคคลแต่ละคนจะมีวิธีการที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าทางสังคมที่แตกต่างกันออกไป ขึน้ อยู่กบั ความแข็งแรงของร่างกาย / จิตใจ ความไวของประสาทรับความรูส้ กึ การอบรมสั่งสอนของบิดา มารดา การให้รางวัล และการลงโทษ ประสบการณ์พิเศษ การเจ็บป่ วยเป็ นระยะเวลานาน การโยกย้ายถิ่นฐาน การเสียชีวิตของบิดา มารดา ทฤษฎีบุคลิกภาพ แบ่งเป็ น 4 กลุม่ ดังนี ้ 1. กลุม่ แนวคิดลักษณะนิสยั (The Trait Approach) 2. กลุม่ แนวคิดจิตวิเคราะห์ (The Psychoanalytic Approach) 3. กลุม่ แนวคิดการเรียนรูท้ างสังคม (The Social Learning Approach) 4. กลุม่ แนวคิดปรากฏการณ์หรือมนุษยนิยม (The Phenomenological of Humanistic Approach) ทฤษฎีบุคลิกภาพ (แนวคิดลักษณะนิสยั ) ทฤษฏีท่ีอธิบายว่า มนุษย์มีลกั ษณะที่หลากหลาย ซึง่ ลักษณะ/นิสยั ที่โดดเด่นของ แต่ละบุคคลจะเป็ นสิ่งที่บง่ บอกถึงบุคลิกภาพหลักของบุคคลนัน้ ซึง่ จะส่งผลต่อ พฤติกรรม นักทฤษฏีกลุม่ นี ้ ได้แก่ แบบของบุคลิกภาพ (Personality Types) Ernst Kretschmer William Herbert Sheldon ลักษณะนิสยั (Traits) Raymond B. Cattell ทฤษฎีบุคลิกภาพ (แนวคิดลักษณะนิสยั ) Ernst Kretschmer นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน แบ่งบุคลิกภาพโดยนาไปสัมพันธ์กบั ลักษณะทางร่างกาย (Somatotypes) โดยใช้ผปู้ ่ วยโรคจิตในโรงพยาบาล แบ่งผูป้ ่ วยตาม Morphology ได้เป็ น 3 ประเภท คือ 1. Pyknic 2. Asthenic 3. Athletic ทฤษฎีบุคลิกภาพ (แนวคิดลักษณะนิสยั ) แบบของบุคลิกภาพ (Personality Types) 1. Pyknic คือ รูปร่างอ้วน เตีย้ แขนขาสัน้ มีแนวโน้มเป็ นคนที่มีอารมณ์เปลี่ยนไปเปลี่ยนมา บางครัง้ คืน้ เครง บางครัง้ เศร้าสร้อย 2. Asthenic คือ รูปร่างสูง ผอม แขนขายาว มีแนวโน้มเป็ นคนเก็บตัว ขีอ้ าย เยือกเย็น คิดมาก บางครัง้ ซึม อืดอาดและเฉื่อยชา 3. Athletic คือผูป้ ่ วยที่มีรูปร่างระหว่าง 2 ชนิดข้างต้น เต็มไปด้วยกล้ามเนือ้ เป็ นคนที่มีพลังกระตือรือร้น ก้าวร้าว และสดใสร่าเริง ทฤษฎีบุคลิกภาพ (แนวคิดลักษณะนิสยั ) เครทชเมอร์เชื่อว่า Hormone เป็ นสาเหตุของ รูปร่าง บุคลิกภาพ ทฤษฎีของเขาไม่ได้รบั การยอมรับมากนัก เพราะ 1. ยากที่จะจัดบุคคลทัง้ โลกเป็ น 3 กลุม่ ตามที่เขาอธิบาย 2. มีคนจานวนมากที่รูปร่าง Pyknic มีบคุ ลิกภาพแบบ Asthenic และมีคนรูปร่าง Athletic มีบคุ ลิกภาพแบบ Pyknic หรือ Athletic ทฤษฎีบุคลิกภาพ (แนวคิดลักษณะนิสยั ) เซลดัน (William Herbert Sheldon) นักจิตวิทยาชาวอเมริกนั ได้แบ่งลักษณะ บุคลิกภาพตามลักษณะทางร่างกาย โดยใช้ชนั้ ของเนือ้ เยื่อมาเป็ นเกณฑ์ ได้แก่ 1. Endomorphs พัฒนาไปเป็ นระบบการย่อยอาหารและอวัยวะภายในทัง้ หลาย 2. Mesomorphs พัฒนาไปเป็ นกระดูกและกล้ามเนือ้ 3. Ectomorphs พัฒนาไปเป็ นระบบประสาทส่วนกลาง เขาเชื่อว่าแบบแผนทางพันธุกรรมของแต่ละบุคคลเป็ นสาเหตุท่ีทาให้เนือ้ เยื่อชัน้ ใดชัน้ หนึ่งพัฒนาเด่นชัดกว่าชัน้ อื่น ซึง่ ชัน้ ใดที่พฒ ั นาเด่นชัดก็จะมีผลต่อ บุคลิกภาพของบุคคลนัน้ โดยเขาได้เก็บกลุม่ ตัวอย่างจาก นักศึกษาชาย จานวน 4,000 คน ทฤษฎีบุคลิกภาพ (แนวคิดลักษณะนิสยั ) แบบของบุคลิกภาพ (Personality Types) 1. Endomorphs พัฒนามากกว่า รูปร่างอ้วน เตีย้ พึงพอใจกับการกิน และชอบสังคม ชอบพักผ่อน เฉื่อยชา พูดมาก และชอบใช้ชีวิตที่มีความ สะดวกสบายทางร่างกาย 2. Mesomorphs พัฒนามากกว่า รูปร่างสมส่วน แข็งแรง กระดูกและกล้ามเนือ้ แข็งแรง ชอบออกกาลังกาย ชอบการแข่งขันกีฬา กระตือรือร้น ชอบแสดงออก กล้าหาญ สดชื่น ว่องไว 3. Ectomorphs พัฒนามากกว่า รูปร่างผอม สูง แขนขายาว ศรีษะใหญ่ เป็ นคนเก็บตัว ชอบอยูค่ นเดียวมากกว่าอยูใ่ นกลุม่ คน หักห้ามตัวเองได้ดี ชอบใช้สมองคิด ทฤษฎีบุคลิกภาพ (แนวคิดลักษณะนิสยั ) ทฤษฎีบุคลิกภาพ (แนวคิดลักษณะนิสยั ) ข้อจากัด ของทฤษฎีบคุ ลิกภาพ แบบของบุคลิกภาพ (Personality Types) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะกับบุคลิกภาพ พบว่ามีความสัมพันธ์กนั ต่า นักจิตวิทยาจึงไม่ให้ความสนใจมากนัก แค่ชว่ ยให้สงั เกตบุคลิกภาพได้ง่ายๆ เท่านัน้ ทฤษฎีบุคลิกภาพ (แนวคิดลักษณะนิสยั ) ลักษณะนิสัย (Traits) ลักษณะนิสัย หมายถึง ลักษณะต่างๆ ที่บคุ คลมีแตกต่างจากบุคคลอื่น และเป็ น ลักษณะที่คอ่ นข้างจะคงที่ นักจิตวิทยาแนวคิดลักษณะนิสยั ให้ความสนใจ 2 ประการ คือ 1. กาหนดนิสยั พืน้ ฐาน เพื่อให้ได้มาซึง่ ความหมายของบุคลิกภาพ 2. จัดลักษณะนิสยั เหล่านัน้ โดยใช้ตาแหน่งที่อยูบ่ นมาตราวัด Raymond B. Cattell เป็ นนักจิตวิทยา ได้อธิบายว่าลักษณะนิสยั ของคนนัน้ มี 2 ส่วน คือ นิสัยส่วนผิว (Surface Traits) ลักษณะที่แสดงออกมา นิสัยส่วนซ่อนเร้นภายใน (Source Traits) อุปนิสยั ที่แท้จริง ทฤษฎีบุคลิกภาพ (แนวคิดลักษณะนิสยั ) เมื่อนิสยั ส่วนผิวหลายๆ อันมีเนือ้ หาของพฤติกรรมที่มาจากเค้าเงื่อนเดียวกัน ก็จะ ถูกกาหนดให้อยู่ในนิสยั ซ่อนเร้นเดียวกัน เขาพบว่ามีลักษณะซ่อนเร้นมีอยู่ 16 อย่าง โดยลักษณะนิสยั หนึ่งๆ ย่อมมี ระดับจากต่าสุดไปสูงสุด 1. อารีอารอบ vs. เบียดเบียน 9. ริษยา vs. ยอมรับสถานการณ์ 2. เชาวน์ไว vs. ทึบซึม 10. ใฝ่ ฝัน vs. ทาตามสถานการณ์ 3. หนักแน่น vs. หวั่นไหว 11. เจ้าพิธี vs. เรียบง่าย 4. ใฝ่ อานาจ vs. ยอมตาม 12. กระวนกระวาย vs. มั่นใจ 5. มีหลักการ vs. ปล่อยตามเรือ่ 13. หาแนวใหม่ vs. ชอบประเพณี 6. เบิกบาน vs. เหงาซึม 14. พึ่งตัวเอง vs. พึ่งพวกพ้อง 7. องอาจ vs. ขลาดอาย 15. ยึดอุดมการณ์ vs. ปล่อยตามพวกมาก 8. อ่อนไหว vs. เด็ดขาด 16. ตื่นเต้น vs. นิ่งเฉย ทฤษฎีบุคลิกภาพ (แนวคิดลักษณะนิสยั ) ลักษณะนิสยั (Traits) อารีอารอบ vs. เบียดเบียน อารีอารอบ นิสยั ส่วนผิว คือ ใจดี, สนใจต่อผูอ้ ื่น, วางใจผูอ้ ื่น เบียดเบียน นิสยั ส่วนผิว คือ คิดจะเอา, อวดตัว, ขีร้ ะแวง หนักแน่น vs. หวั่นไหว หนักแน่น นิสยั ส่วนผิว คือ อดใจรอไว้, รูค้ ิด, มานะ หวั่นไหว นิสยั ส่วนผิว คือ ใจเร็วด่วนได้, ลังเล ท้อถอย เบิกบาน vs. เหงาซึม เบิกบาน นิสยั ส่วนผิว คือ ร่าเริง, ชอบโต้ตอบ, กระปรีก้ ระเปร่า เหงาซึม นิสยั ส่วนผิว คือ โศก, เฉย, หงอย ทฤษฎีบุคลิกภาพ (แนวคิดลักษณะนิสยั ) ทฤษฎีบุคลิกภาพ (แนวคิดลักษณะนิสยั ) ลักษณะนิสยั (Traits) แม้ว่านักทฤษฎีแนวคิดลักษณะนิสยั จะใช้วิธีการศึกษาบคุลิกภาพด้วยวิธีการที่เป็ น วิทยาศาสตร์ แต่ยงั พบปัญหาหลายอย่างคือ 1. ไม่มีแบบทดสอบใดที่สามารถจะใช้ทานายบุคลิกภาพได้ ความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบกับการวัดพฤติกรรมด้วยวิธีอื่น มี ความสัมพันธ์ในระดับที่ต่า 2. นักทฤษฎีแนวคิดลักษณะนิสยั มีแนวคิดที่ม่งุ ความสนใจไปที่ลกั ษณะนิสยั แต่ละชนิด แยกจากกัน โดยไม่พยายามชีใ้ ห้เห็นว่าลักษณะนิสยั เหล่านัน้ มีการรวมกันเป็ น บุคลิกภาพ 3. บุคคลจะแสดงพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปหลายอย่างในสถานการณ์ท่ตี า่ งกัน เด็กที่ทาแบบทดสอบ ได้คะแนนสูงในองค์ประกอบ “ใฝ่ อานาจ” อาจแสดงลักษณะนีก้ บั เพื่อนที่ โรงเรียนเท่านัน้ แต่ไม่แสดงกับบิดา มารดาหรือครู หรือเพื่อนสนิท มีประโยชน์ในการแยกคนผิดปกติทางจิตออกจากคนปกติ ➔ สมัครงาน แนวคิดจิ ตวิเคราะห์ อธิบายบุคลิกภาพของคนโดยเน้นความสาคัญของจิตไร้สานึก (Unconscious) Sigmund Freud จิตของคนเปรียบเสมือนภูเขานา้ แข็ง ลอยอยู่บนผิวนา้ มีนอ้ ยสุด แสดงถึงประสบการณ์ของจิตสานึก (Conscious) อยู่ใต้นา้ ส่วนใหญ่ แสดงถึงจิตก่อนสานึก (Preconscious) และจิตไร้สานึก (Unconscious) แนวคิดจิ ตวิเคราะห์ แนวคิดจิ ตวิเคราะห์ Freud เชื่อว่าจิตไร้สานึกเป็ นส่วนสาคัญในการกาหนดพฤติกรรมของมนุษย์ เขาใช้วิธีการที่เรียกว่า ความสัมพันธ์อิสระ (Free Association) ให้บคุ คลเล่าเรื่องทุกอย่างที่ผ่านเข้ามาในห้วงสานึกในขณะนัน้ นาเรื่องที่เล่า + ความฝัน + เรื่องราวในวัยเด็ก วิเคราะห์ ➔ เข้าใจบุคลิกภาพของบุคคลและหาทางแก้ปัญหาของบุคคลนัน้ Freud ให้ความเห็นว่า บุคลิกภาพของคนเราประกอบด้วยโครงสร้าง 3 ระบบ คือ 1. Id 2. Ego 3. Superego แนวคิดจิ ตวิเคราะห์ 1. อิด (Id) คือ ทุกๆ สิ่งที่ติดตัวมาแต่กาเนิด รวมทัง้ แรงขับ (Drive) ตามสัญชาตญาณ อันได้แก่ แรงขับทางเพศ แรงขับก้าวร้าว มีความสัมพันธ์กบั ขบวนการทางชีววิทยา เป็ นที่เก็บของพลังจิต และจ่ายพลังงานให้แก่ Ego และ Superego การเพิ่มพลังไม่ว่าจะเป็ นจากสิ่งเร้าภายนอกหรือสิ่งเร้าภายใน ทาให้ Id อยูใ่ นภาวะตึง เครียด ไม่สบาย Id จะทางานตามกฎความพึงพอใจ (Pleasure Principle) เหมือนเด็กที่อยากได้อะไร ก็จะทาทันทีเพื่อตอบสนองความต้องการ โดยไม่คานึงถึงความเป็ นจริง Id จะหาทางขจัดความเครียดออกไปทันทีเพื่อให้รา่ งกายเกิดความสบาย และพึงพอใจ แนวคิดจิ ตวิเคราะห์ 1. อิด (Id) กระบวนการหนึ่งที่ Id พยายามลดความเครียด คือ การสร้างภาพในจิต (Mental image) หรือภาพหลอน (Hallucination) เพื่อตอบสนองความต้องการตามความ ปรารถนา (Wish fulfillment) คนที่อดอาหาร จะสร้างภายอาหารที่ตนเองชอบเป็ นการทดแทน ซึง่ ภาพวัตถุหรือเหตุการณ์ตา่ งๆ ที่เห็นนัน้ เป็ นการพยายามที่จะสนองตอบต่อแรงผลักดันของ Id เพื่อให้บรรลุผลตามความต้องการอย่างปราศจากเหตุผล ไม่พิจารณาถึงความเป็ นจริง เป็ นกระบวนการคิดขัน้ ต้นเท่านัน้ แนวคิดจิ ตวิเคราะห์ 2. ซุปเปอร์อโี ก้ (Superego) เป็ นตัวแทนของคุณค่าและศีลธรรมของสังคม ซึง่ บิดามารดาสอนให้เด็ก เป็ นตัวตัดสินว่าการกระทาถูกหรือผิดตามมาตรฐานของสังคม หล่อหลอมขึน้ ในวัยเด็ก กระทาถูก พ่อแม่ชื่นชม เด็กจะได้รางวัล การกระทานัน้ จะกลายเป็ นอุดมคติ (Ego-ideal) กระทาผิด พ่อแม่ว่ากล่าว เด็กจะได้การลงโทษ การกระทานัน้ จะกลายเป็ นธรรมสานึก (Conscious) เมื่อโตขึน้ เมื่อกระทาผิด ไม่ตอ้ งมีใครมาบอกว่าเขาทาผิด แต่ธรรมสานึกของ Superego จะเป็ นผูบ้ อกตัว เขาเอง เมื่อกระทาถูกต้อง ไม่ตอ้ งมีใครมาชื่นชม แต่อดุ มคติจะทาให้เขาภาคภูมิใจในตนเอง แนวคิดจิ ตวิเคราะห์ 3. อีโก้ (Ego) พัฒนาขึน้ มา เพราะความจาเป็ นที่รา่ งกายต้องการปฏิบตั ิท่เี หมาะสมกับโลกภายนอก ทาตามกฎของความเป็ นจริง (Reality Principle) ตรวจสอบความเป็ นจริงของโลกภายนอก และจะชะลอเวลาที่จะปลดปล่อยความเครียด จนกระทั่งมีสถานการณ์แวดล้อมที่เหมาะสมเสียก่อน เปรียบเสมือนเป็ นผูจ้ ดั การที่คอยจัดการบุคลิกภาพ ต้องตัดสินใจว่าเมื่อไหร่จึงมีโอกาสเหมาะที่จะตอบสนองความต้องการของ Id ความเป็ นจริงของ โลกภายนอก และความต้องการของ Superego เป็ นกระบวนการคิดขัน้ ที่สอง ผสมผสานการรับรู ้ การคิด การเรียนรู ้ การจา การหาเหตุผล และการตัดสินใจ แนวคิดจิ ตวิเคราะห์ ตามกระบวนการแล้ว Id, Ego และ Superego จะทางานอย่างผสมกลมกลืนกัน โดย ego เป็ นตัวกระทาอย่างมีเหตุผลเพื่อให้เกิดความสมหวังของ Id และ Superego จะเป็ นตัวกระทาให้เกิดความถูกต้องตามครรลองครองธรรม แนวคิดจิ ตวิเคราะห์ ความขัดแย้งสามารถเกิดขึน้ ได้ โดยเฉพาะ Id กับ Superego Ego ต้องคอยทาหน้าที่ประสาน Id และ Superego ให้เหมาะสมตามความเป็ นจริง บุคคลที่มีสขุ ภาพจิตดี ต้องมี Ego ที่แข็งแรง สามารถยืดหยุ่นระหว่าง Id กับ Superego ได้ ถ้า Ego ทางานไม่สาเร็จ คือ ไม่สามารถยืดหยุน่ การสนองความต้องการของ Id หรือ Superego ได้ ก็จะเป็ นที่มาของการโรคจิต หรือโรคประสาททัง้ หลาย แนวคิดจิ ตวิเคราะห์ พัฒนาการของบุคลิกภาพ Freud เชื่อว่าบุคลิกภาพส่วนใหญ่ เป็ นผลมาจาก 5 ปี แรกของชีวิต บุคคลโตขึน้ เป็ นผูใ้ หญ่มีบคุ ลิกภาพต่างกันไปก็ขนึ ้ อยูก่ บั ว่า บุคคลนัน้ ใช้วิธีการใด แก้ปัญหาที่เกิดขึน้ ในแต่ละขัน้ ของการพัฒนา ที่เรียกว่า Psychosexual development ขัน้ พัฒนาการบุคลิกภาพของ Freud แบ่งตามการแสวงหาความสุขตามส่วนต่างๆ ของ ร่างกายเป็ นไปตามลาดับ ดังนี ้ 1. Oral stage 2. Anal stage 3. Phallic stage 4. Latency stage 5. Genital stage แนวคิดจิตวิเคราะห์ (พัฒนาการของบุคลิกภาพ) 1. Oral stage แรกคลอด – 1 ขวบ ทารกมีความสุขกับการใช้ปากเป็ นเครื่องตอบสนองความต้องการมากกว่าส่วนอื่น 2. Anal stage 1 – 2 ขวบ เด็กสามารถควบคุมอวัยวะขับถ่ายได้แล้ว เด็กจะมุ่งความสนใจไปที่บริเวณทวารหนัก โดยจะมีความสุขในการกักไว้และปล่อยออก แนวคิดจิตวิเคราะห์ (พัฒนาการของบุคลิกภาพ) 3. Phallic stage (Oedipal Period) 3 – 5 ขวบ ความพึงพอใจของเด็กอยูท่ ่ีอวัยวะเพศ เด็กเริ่มสารวจร่างกายตัวเอง รูส้ กึ ถึงความแตกต่างทางเพศ เด็กชาย รูส้ กึ รักแม่ โกรธพ่อ และต้องการจะฆ่าพ่อ แต่พ่อตัวโตกว่ามีอานาจมากกว่า กลัวว่าพ่อจะตัดอวัยวะเพศของตน (Castration fear) การที่เด็กรักแม่แต่กลัวพ่อก่อให้เกิดความขัดแย้งที่เรียกว่า Oedipal conflict ข้ามความขัดแย้งไปได้ Superego จะแข็งแรงมากขึน้ เลิกคิดว่าถึงแม่ในลักษณะตัวแทนทางเพศ ซึง่ จะทาให้เลิกโกรธและกลัวพ่อ เลียนแบบบทบาทพ่อ อันเป็ นที่มาของบทบาททางเพศที่ถกู ต้อง แนวคิดจิตวิเคราะห์ (พัฒนาการของบุคลิกภาพ) 3. Phallic stage (Oedipal Period) เด็กหญิง ยุง่ ยากและซับซ้อน แม่เป็ นตัวแทนทางเพศครัง้ แรกของเด็กหญิง เด็กหญิงจะค้นพบว่าตนเองด้อยกว่าเด็กชาย เพราะไม่มีอวัยวะเพศแบบเด็กชาย เรียกว่า ความอิจฉาอวัยวะเพศชาย (Penis envy) เด็กหญิงเลยมุง่ ร้ายต่อแม่ เพราะคิดว่าแม่เป็ นสาเหตุที่ทาให้ตนเองมีลกั ษณะแบบนี ้ ถ้าพัฒนาผ่านขัน้ นีไ้ ปได้ดว้ ยดี การแก้ไขปั ญหานีค้ ือการที่เด็กยอมรับว่าการสามารถมีลกู ได้เป็ นสิ่งที่ดี นาไปใช้ทดแทน ความรูส้ กึ ที่ไม่มีอวัยวะเพศเหมือนผูช้ าย เด็กจะเลียนแบบบทบาททางเพศของแม่ แนวคิดจิตวิเคราะห์ (พัฒนาการของบุคลิกภาพ) 4. Latency stage 5 – 12 ขวบ แรงขับดันทางเพศสงบ ความสนใจมุ่งไปสิ่งต่างๆ รอบตัว เด็กเริ่มเข้าโรงเรียน พยายามแสวงหาบทบาทที่เหมาะสม มีการพัฒนาด้านสติปัญญาเชิงสังคม 5. Genital stage 12 – 20 ขวบ พัฒนาการความพึงพอใจทางเพศสมบูรณ์ ความสนใจจากเพศเดียวกันสูเ่ พศตรงข้าม แนวคิดจิตวิเคราะห์ (พัฒนาการของบุคลิกภาพ) พัฒนาการจะเป็ นไปตามลาดับ ถ้าเด็กได้รบั การสนองตอบเป็ นที่พงึ พอใจ เด็กจะมีพฒ ั นาการที่ดี ถ้าเด็กไม่ได้รบั การสนองตอบเป็ นที่พงึ พอใจในขัน้ ใด ก็จะเกิดการติดข้อง (Fixation) ซึง่ จะมีผลต่อบุคลิกภาพในวัยต่อมา Oral stage: จะมีพฤติกรรมเกี่ยวกับปากไปตลอดชีวิต เช่น เมื่อขับข้องใจก็จะใช้การกิน เป็ นทางออก ติดบุหรี่ นินทา เยาะเย้ย ถากถางผูอ้ ่นื Anal stage: พิธีพิถนั เกินไป เด็กจะเกิดความวิตกกังวลว่าตนเองขาดความรัก มีทศั นะ คติไม่ดีตอ่ การใช่อานาจ เป็ นคนจูจ้ จี ้ กุ จิก อาจเป็ นคนเจ้าระเบียบ หรือพิธีพิถนั จนเกินไป หรือไม่ก็เป็ นคนสกปรกไปเลย Phallic stage: เด็กชายโตมาเป็ นคนที่มีบคุ ลิกเย็นชา มีความสัมพันธ์ทางเพศกับผูห้ ญิง เป็ นจานวนมาก หรืออาจเป็ นรักร่วมเพศ ส่วนเด็กหญิงอาจมีพฤติกรรมเลียนแบบเพศ ชาย อาจชอบยั่วยวน มีความสัมพันธ์ทางเพศกับผูช้ ายจานวนมาก Freud จึงให้ความสาคัญของการพัฒนาใน 3 ระยะแรกมาก แนวคิดจิตวิเคราะห์ ทฤษฎีจิตวิเคราะห์มีผลกระทบต่อความคิดของนักจิตวิทยาและนักปรัชญา เกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์อย่างมาก แต่ก็มีขอ้ โต้แย้งคือ 1. Freud สังเกตและเก็บข้อมูลในสมัยวิคตอเรีย ซึง่ มีการวางมาตรฐานเกี่ยวกับ พฤติกรรมทางเพศที่เคร่งครัด ทาให้ผปู้ ่ วยทางจิตส่วนใหญ่ท่ี Freud ศึกษา เป็ นมี ความผิดปกติเนื่องมาจากความขัดแย้งเกี่ยวกับความต้องการทางเพศ ซึง่ ในปั จจุบนั การควบคุมของสังคมในเรือ่ งพฤติกรรมทางเพศน้อยลง แต่จานวนผูป้ ่ วยทางจิตก็ ไม่ได้ลดลง ดังนัน้ ความขัดแย้งทางเพศเป็ นเพียงสาเหตุหนึง่ ของบุคลิกภาพที่ผิดปกติเท่านั้น ไม่ได้เป็ นสาเหตุ สาคัญดังเช่นที่ Freud กล่าว แนวคิดจิตวิเคราะห์ 2. ทฤษฎีของ Freud สร้างขึน้ มาจากการศึกษาเฉพาะบุคคลที่ผิดปกติทางจิต ดังนัน้ อาจ ไม่เหมาะสมที่จะนามาใช้อธิบายพฤติกรรมของบุคคลที่มีสขุ ภาพจิตปกติ 3. มีงานวิจยั ที่แสดงให้เห็นว่าการที่บคุ คลมีลกั ษณะบุคลิกภาพแบบ Oral หรือแบบ Anal นัน้ เกิดขึน้ เพราะลักษณะวิธีการสอนของพ่อแม่ เช่น เข้มงวดกวดขันในเรื่องความ เป็ นระเบียบเรียบร้อย ตลอดจนความพิถีพิถนั ในการปกครอง ไม่ปล่อยให้เด็กเป็ นอิสระ แนวคิดการเรียนรู้ทางสังคม นักจิตวิทยาแนวคิดการเรียนรูท้ างสังคม เห็นว่าสิ่งแวดล้อม/สถานการณ์มีบทบาท สาคัญในการกาหนดพฤติกรรมของบุคคล โดยสภาพแวดล้อมจะเป็ นตัววางรูปแบบพฤติกรรมโดยผ่านการเรียนรูข้ องบุคคล และบุคคลก็เป็ นผูจ้ ดั และเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมด้วย ดังนั้นบุคคลและสถานการณ์ / สิง่ แวดล้อมจึงมีอทิ ธิพลซึง่ กันและกัน แนวคิดการเรียนรู้ทางสังคม บุคคลจะประเมินสถานการณ์แต่ละสถานการณ์ เพื่อจะแสดงพฤติกรรมให้เหมาะสม โดย เลือกแสดงพฤติกรรมที่เคยได้รบั การเสริมแรงมาก่อนในสถานการณ์ท่ีคล้ายๆ กัน หรือสังเกตพฤติกรรมของบุคคลอื่นในสถานการณ์ท่ีคล้ายกับของตน บุคคลสามารถเรียนรู้ และแยกแยะ (Discrimination) ว่า พฤติกรรมใดเหมาะสม หรือไม่เหมาะสมในแต่ละสถานการณ์ การที่บคุ คลได้รบั การเสริมแรงจากการกระทาชนิดเดียวกัน ในสถานการณ์ท่ีแตกต่าง กัน จะทาให้บคุ คลเกิดการสรุ ปกฎเกณฑ์ (Generalization) เด็กชายแสดงพฤติกรรมที่กา้ วร้าวที่บา้ น แล้วได้รบั การเสริมแรง (พ่อแม่ตามใจ) เด็กชายจะแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวต่อเพื่อนๆ เพื่อให้ได้ในสิ่งที่ตอ้ งการ (เสริมแรง) แต่เด็กชายคนนีจ้ ะไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวในห้องเรียน เนื่องจากไม่ได้รบั การเสริมแรง จะเห็นได้ว่าเด็กชายรูจ้ กั แยกแยะว่า สถานการณ์ใดจึงจะแสดงพฤติกรรมชนิดใด แนวคิดการเรียนรู้ทางสังคม การเสริมแรงมีบทบาทในการควบคุมพฤติกรรมการเรียนรูข้ องบุคคลใน 3 ลักษณะ ดังนี ้ 1. การเสริมแรงทีไ่ ด้รับโดยตรง เช่น การได้รบั รางวัลทางวัตถุ การได้รบั การยอมรับทางสังคม เป็ นการเรียนรูโ้ ดยผ่านประสบการณ์ตรง เกิดกับตนเอง จะทาในสิ่งที่ได้รางวัล และไม่ทาในสิ่งที่ถกู ลงโทษ 2. การเลียนแบบผู้อนื่ เป็ นพฤติกรรมที่ได้มาจากการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลอื่นว่า ทาแล้วได้รบั รางวัลหรือถูกลงโทษ 3. การควบคุมตนเอง บุคคลจะประเมินการกระทาของตนเอง ว่าน่ายกย่องหรือตาหนิตวั เอง แนวคิดการเรียนรู้ทางสังคม B + แนวคิดการเรียนรู้ทางสังคม ตัวแปรต่างๆ ที่เกี่ยวกับบุคคลที่มีสว่ นในการกาหนดพฤติกรรมของบุคคลใน สถานการณ์ตา่ ง ได้แก่ 1. ความสามารถ (Competencies) ความสามารถทางสติปัญญา ทักษะทางสังคม และความสามารถอื่นๆ 2. กลวิธีในการคิด (Cognitive strategies) วิธีการที่เคยใช้ในการเลือกรับข่าวสาร การจัดระเบียบ และการตีความหมาย 3. การคาดหวัง (Expectancies) การคาดถึงผลที่ตามมาของการกระทาต่างๆ การตีความหมายของสิ่งเร้า และความมั่นใจในการ กระทาของตนเอง เช่น ทาได้ แต่ไม่กล้าทา เพราะไม่ม่นั ใจในความสามารถ ไม่ลงแข่งขัน เพราะกลัวทาทีมแพ้ แนวคิดการเรียนรู้ทางสังคม 4. การให้คณ ุ ค่าของผลการกระทา (Subjective outcome values) แม้ว่าบุคคลจะมีความคาดหวังที่คล้ายคลึงกัน แต่อาจเลือกแสดงพฤติกรรมแตกต่างกัน เนื่องจาก แต่ละบุคคลมีความแตกต่างในการให้คณ ุ ค่าของการกระทาต่างกัน นาย ก เป็ นคนหน้าตาไม่ดี ส่วน นาย ข เป็ นคนหน้าตาดี นาย ก และ นาย ข อยากจีบ นางสาว ค นาย ก ไม่กล้าจีบ นางสาว ค เพราะกลัวนางสาว ข ปฏิเสธ แล้วจะเสียเพื่อนไป นาย ข ลงมือจีบ นางสาว ค เลย เพราะแม้นางสาว ข ปฏิเสธเขา เขาก็จีบคนอื่นได้ 5. กระบวนการบังคับควบคุมตนเอง และการวางแผน (Self-regulatory system and plans) มาตรฐานการบังคับควบคุมตัวเอง และกฎเกณฑ์ที่แต่ละบุคคลรับมาใช้ และวางแผนให้บ รรลุ เป้าหมาย แนวคิดปรากฏการณ์หรือมนุษยนิยม แนวคิดมนุษนิยม เน้นคุญค่าของมนุษย์ท่ีตา่ งจากสัตว์ ตรงที่มนุษย์มีสว่ นดี คือ ความสามารถในการนาตัวเอง การพัฒนาตัวเอง ความเป็ นอิสระในการเลือกกระทา (Freedom of Choice) ไม่เห็นด้วยกับการมองว่ามนุษย์เป็ นกลไกภายใต้อิทธิพลของสัญชาตญาณไร้ สานึก มนุษย์พยายามพัฒนาตนเองและก้าวขึน้ ไปสูร่ ะดับที่สมบูรณ์ท่ีสดุ (Growth and self actualization) มี 2 ทฤษฎีใหญ่คือ 1. ทฤษฎีเกี่ยวกับตนของโรเจอร์ (Roger’s self theory) 2. การพัฒนาตนเองให้ประสบความสาเร็จที่สมบูรณ์แบบของมาสโลว์ (Culminating in self-actualization) แนวคิดปรากฏการณ์หรือมนุษยนิยม 1. ทฤษฎีเกีย่ วกับตนของโรเจอร์ (Roger’s self theory) ทางานในการรักษาผูป้ ่ วยด้านอารมณ์เช่นเดียวกับ Freud แต่แนวคิดคนละขัว้ ทาจิตบาบัดด้วยวิธี ยึดผูป้ ่ วยเป็ นแกนกลาง Client Center "As no one else can know how we perceive, we are the best experts on ourselves." ผูร้ กั ษาเป็ นเสมือนกระจกส่องผูท้ ี่รบั การบาบัด ให้เขาได้สารวจและวิเคราะห์ปัญหาของตนเอง เขาไม่ได้กาหนดแผนการรักษาเหมือน Freud แนวคิดที่สาคัญ คือ ตน (self) ซึง่ ประกอบไปด้วย ความคิด (Idea) การรับรู ้ (Perception) และคุณค่า (Value) โดยการรับรูว้ ่าตนเองเป็ นใคร มีความสามารถอย่างไร สังกัปเกี่ยวกับตน (Self-concept) อาจไม่จาเป็ นต้องสะท้อนถึงความเป็ นจริงเสมอไป คนที่ประสบความสาเร็จในชีวิต และเป็ นที่นบั ถือของคนอื่น อาจมองตนเองว่าล้มเหลวก็ เป็ นได้ คนที่มีสขุ ภาพจิตที่ดีควรมี Self-Concept ใกล้เคียงกับตนในความเป็ นจริงที่สดุ (Actual self) เพื่อลดความวิตกกังวล ซึง่ นาไปสูค่ วามผิดปกติทางอารมณ์ แนวคิดปรากฏการณ์หรือมนุษยนิยม 1. ทฤษฎีเกีย่ วกับตนของโรเจอร์ (Roger’s self theory) We learn to see ourselves as we think other see us. แนวคิดปรากฏการณ์หรือมนุษยนิยม 1. ทฤษฎีเกีย่ วกับตนของโรเจอร์ (Roger’s self theory) นอกจากนีเ้ ขายังให้ความสนใจตนอีกชนิด คือ ตนในอุดมคติ (Ideal-self) ความคิดถึงลักษณะของบุคคลที่เราปรารถนาจะเป็ น ถ้าบุคคลมี Ideal-self ใกล้กบั Self-concept บุคคลนัน้ จะมีความสุขและพึงพอใจ กล่าวโดยสรุปคือ Roger ศึกษาถึงการประสานกันระหว่าง 1. Self-concept และ Actual self 2. Self-concept และ Ideal-self แนวคิดปรากฏการณ์หรือมนุษยนิยม 2. การพัฒนาตนเองให้ประสบความสาเร็จทีส่ มบูรณ์แบบของมาสโลว์ (Culminating in self-actualization) Maslow มีความเชื่อพืน้ ฐานว่า มนุษย์ทกุ คนเกิดมาพร้อมความดีงาม และมีแนวโน้มที่ จะพัฒนาตนเองไปสูข่ นั้ สมบูรณ์ท่สี ดุ (Self actualization) โดยมีแรงจูงใจที่พฒ ั นาไป เป็ นลาดับขัน้ ลาดับ (Growth motivation) แนวคิดปรากฏการณ์หรือมนุษยนิยม แนวคิดปรากฏการณ์หรือมนุษยนิยม 2. การพัฒนาตนเองให้ประสบความสาเร็จที่สมบูรณ์แบบของมาสโลว์ (Culminating in self-actualization) เขาทาการศึกษาบุคคลที่มีช่อื เสียงในประวัติศาสตร์ท่ปี ระสบความสาเร็จที่สมบูรณ์แบบ ทัง้ ชายและหญิง มาสร้างลักษณะของบุคคลที่สมบูรณ์แบบ และพฤติกรรมบางอย่างที่ เขาเชื่อว่าจะนาไปสูค่ วามสาเร็จที่สมบูรณ์แบบได้ แนวคิดปรากฏการณ์หรือมนุษยนิยม ลักษณะของผู้ทป่ี ระสบความสาเร็จ 1. รับรูค้ วามเป็ นจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ อดทนต่อความไม่แน่นอนได้ 2. ยอมรับตนเองและยอมรับผูอ้ ื่นตามสภาพความเป็ นจริง 3. มีความคิดและพฤติกรรมที่เป็ นของตนเองไม่ขนึ ้ กับผูอ้ ื่น 4. มุง่ แก้ปัญหาต่างๆ โดยยึดที่ตวั ปั ญหา มิใช่ยดึ ที่ตวั เองเป็ นใหญ่ 5. มีอารมณ์ขนั 6. มีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ 7. มีนา้ ใจ มีธรรมประจาใจ ไม่ตอ้ งแสดงออกให้เห็นเป็ นพิธีการ 8. มีความสนใจที่จะสงเคราะห์ช่วยเหลือเพื่อมนุษย์ 9. มีความสามารถในการรูส้ กึ ถึงคุณค่าของประสบการณ์พืน้ ฐานของชีวิตได้อย่างลึกซึง้ 10. มีการสร้างความสนิทสนมคุน้ เคยและความสัมพันธ์ที่นา่ พึงพอใจกับบุคคลบางคนได้อย่างลึกซึง้ 11. มีความสามารถที่จะมองชีวิตอย่างมีจดุ หมายปลายทาง แนวคิดปรากฏการณ์หรือมนุษยนิยม พฤติกรรมทีน่ าไปสู่การประสบความสาเร็จทีส่ มบูรณ์ 1. รับประสบการณ์ในชีวิตได้อย่างเต็มทีและเต็มไปด้วยความสนใจ 2. พยายามทดลองสิ่งใหม่ๆ มากกว่ายึดมั่นไม่ยอมเปลี่ยนแปลงเพื่อความมั่นคงปลอดภัย 3. ยอมรับความรูส้ กึ ของตนเองในการประเมินประสบการณ์ตา่ งๆ มากกว่าที่จะคล้อยตามประเพณี หรือตามเสียงส่วนใหญ่ 4. มีความซื่อสัตย์ หลีกเลี่ยงที่จะหลอกลวงบุคคลอื่น 5. เตรียมพร้อมที่จะไม่ได้รบั ความชมชอบจากผูอ้ ื่น ถ้าความคิดของตนไม่สอดคล้องกับความคิดของ บุคคลส่วนใหญ่ 6. มีความรับผิดชอบ 7. ทางานหนักในสิ่งที่ตนเองได้ตดั สินใจที่จะทา 8. มีความพยายามที่จะแสดงให้เห็นว่าตนเองใช้วิธีการป้องกันตนเองจากความผิดอย่างไร และมีความ กล้าที่จะเลิกใช้วิธีการเหล่านัน้ กลไกการป้ องกันทางจิต Defense mechanisms อธิบายถึงกระบวนการทางจิตไร้สานึก (Unconscious) ของบุคคลที่ใช้ปอ้ งกันตนจากความวิตกกังวล โดยการบิดเบือนความจริงใน ลักษณะต่างๆ ไม่ได้เป็ นการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ท่ีเป็ นอันตราย แต่เปลี่ยนแปลงความคิด และการรับรูเ้ กี่ยวกับสถานการณ์ การหลอกตัวเอง (Self deception) ประโยชน์ของ Defense mechanisms ป้องกันตนเองจากความวิตกกังวล ช่วยรักษาคุณค่าและศักดิศ์ รีตนเอง ช่วยบุคคลปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม และอยูใ่ นสังคมได้อย่างปกติ กลไกการป้ องกันทางจิต 1. การหาเหตุผลเข้าข้างตัวเอง (Rationalization) หาเหตุผลซึง่ ผิดไปจากเหตุผลที่เป็ นจริงมาปกป้องตัวเองจากข้อบกพร่องต่างๆ อาศัยเหตุผลที่รูส้ กึ ดี และเป็ นที่ยอมรับของสังคม 1.1 องุ่นเปรีย้ ว หาเหตุผลปลอบใจตนเอง หรือหลอกตนเองและผูอ้ ื่นเมื่อต้องการสิ่งใดแล้วไม่ได้ สิ่งนัน้ ไม่ดีพอ ไม่อยากได้ เช่น ชายหนุม่ จีบสาว สาวไม่สน บอกผูอ้ ื่นว่า ผูห้ ญิงคนนัน้ ไม่มีไรดีลองจีบดูเล่นๆ 1.2 มะนาวหวาน หาเหตุผล โดยพยายามทาให้ตนเองและผูอ้ ื่นเชื่อว่าสถานการณ์ที่ประสบอยูน่ นั้ ดีที่สดุ สาหรับตน เช่น ผูห้ ญิงที่ไม่ได้แต่งงาน ก็บอกว่า “อยูค่ นเดียวสบายใจดี ชีวิตแต่งงานไม่เห็นมีความสุขอะไร” 1.3 ราไม่ดโี ทษปี่ โทษกลอง ตาหนิสิ่งอื่นหรือบุคคลอื่นว่าเป็ นต้นเหตุของความล้มเหลว โดยแท้จริงตนเป็ นต้นเหตุ เช่น นิสิตสอบตก เพราะไม่ตงั้ ใจเรียน แล้วพูดว่า เพราะอาจารย์สอนไม่ดี หรือเพราะสุขภาพไม่ดี กลไกการป้ องกันทางจิต 2. การฉายภาพ (Projection) การป้ายความคิด ความรูส้ กึ แรงขับที่ไม่ดี ตลอดจนลักษณะต่างๆ ที่เรามี ไปให้คนอื่น เช่น บุคคลที่ชอบวิจารณ์คนอื่น อาจเห็นว่าผูอ้ ่นื ชอบวิจารย์ ใจแคบ ชอบทาร้าย ความรูส้ กึ ผูอ้ ่นื หรือ ตนไม่ชอบเพื่อนร่วมงาน ก็จะรูส้ กึ ว่าเพื่อนไม่ชอบ ไม่ไว้ใจตนเอง กลไกการป้ องกันทางจิต 3. การเก็บกด (Repression) การเก็บกดความผิด ความต้องการ หรือความกลัวที่ก่อให้เกิดความวิตกกังวล ไม่ให้ผดุ ขึน้ มาในจิตสานึก แต่ส่ิงเหล่านัน้ ไม่ได้หายไปจากความจาจริงๆ จะถูกฝังไว้ในจิตไร้สานึก การสะกดจิตสามารถเรียกความจาในส่วนนีไ้ ด้ มักเป็ นเรื่องที่เกี่ยวความรูส้ กึ ผิด ความละอายใจ หรือเสียความภาคภูมิใจตนเอง นาย ก ไม่ทราบว่าตนเคยปัสสาวะราดในห้องเรียนตอนอยูช่ นั้ ประถม จนกระทั่งได้รบั การบอกเล่าจากแม่ กลไกการป้ องกันทางจิต 4. การกระทาตรงกันข้าม (Reaction formation) การกระทาที่ตรงกันข้ามกับแรงผลักดันที่อยูใ่ นส่วนลึกของจิตใจ เพื่อเป็ นการกลบ เกลื่อนความไม่สบายใจ ซึง่ มักแสดงออกมาในรูปเกินจริง การกระทาเช่นนี ้ เข้าทานอง “หน้าเนือ้ ใจเสือ” เช่น ผูท้ ่ชี อบติเตียนผูอ้ ่นื ในส่วนลึกอาจมีความต้องการทาร้ายผูอ้ ่ืน หรือ ผูท้ ่ไี ม่สนใจบุคคลอื่นในสังคม โดยแท้จริงอาจกลบเกลื่อนความรูส้ ึกเดียวดาย หรือ ผูท้ ่มี ีความเป็ น homosexual ในจิตไร้สานึกจะแสดงอาการรังเกียจเกย์อย่างมาก กลไกการป้ องกันทางจิต 4. การล้างบาป (Undoing) การกระทาบางสิ่งที่เป็ นสัญลักษณ์เพื่อลบล้างการกระทาเดิม ซึง่ ไม่เป็ นที่ยอมรับของตนหรือสังคม เช่น การกล่าวคาว่า “ขอโทษ” เพื่อลบล้างความผิดที่ตนกระทา สามีนอกใจ ซือ้ ของมากานัลภรรยา นักธุรกิจหน้าเลือด ทาบุญด้วยเงินก้อนใหญ่ 5. การลดถอย (Regression) การถอยกลับไปใช้พฤติกรรมแบบเด็กๆ ไม่เหมาะสมกับอายุจริง เมื่อเผชิญกับความคับข้องใจ เพื่อไม่ ต้องรับผิดชอบในปั ญหาที่เกิดขึน้ เช่น เด็กโตแต่ฉี่รดที่นอน หรือพูดไม่ชดั เพื่อเรียกร้องความสนใจจากพ่อแม่ คูส่ มรสใหม่พบความยุง่ ยากในครอบครัว ก็วิ่งไปกลับไปหาอ้อมอกแม่ เถียงสูเ้ พื่อนๆไม่ได้ เลยร้องไห้เหมือนเด็กๆ มักพบในผูป้ ่ วยโรคจิตพวกจิตเภท (schizophrenic Reaction) กลไกการป้ องกันทางจิต 6. การเลียนแบบ (Identification) การลอกแบบหรือการรับเอาบุคลิกภาพ รวมทัง้ เอกลักษณ์บางอย่างของผูอ้ ื่นมาเป็ นของตนเอง เพื่อให้ตนเองได้รบั การยอมรับจากผูอ้ ื่น ช่วยให้ตนเองเกิดความมั่นใจ เช่น ผูห้ ญิงแต่งตัวแฟชั่นตามบุคคลที่เธอชอบ ถ้ามากเกินไปอาจสูญเสียความเป็ นตัวของตัวเองคิดว่า ตนเป็ นคือบุคคลที่ได้เลียนแบบมา พบมากในผูป้ ่ วยโรคจิตที่คิดว่าตนเองเป็ นผูย้ ิ่งใหญ่ เช่น พระเยซู พระพุทธเจ้า หรือพระเจ้าแผ่นดิน 7. การตัดขาด (Intellectualization) การบิดเบือน หรือตัดขาดอารมณ์ตอ่ สถานการณ์ปวดร้าวใจ เช่น นาย ค สูญเสียแม่ เขาอาจคิดและกล่าวคาว่า “แม่ฉนั สิน้ ใจไปอย่างสงบ” เพื่อตัดขาดอารมณ์เศร้า เสียใจ คนที่ชอบขาดงานบ่อยๆ จะชอบพูดว่า “เราควรทางานหนักขึน้ หรือเราควรลดความเห็นแก่ตวั ” เพื่อตัด ขาดอารมณ์ความรูส้ กึ ผิดที่เกิดขึน้ ฃ มักพบในบุคคลที่มีอาชีพที่ตอ้ งทางานเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความไม่สบายใจ เช่น พยาบาล ห้องฉุกเฉิน กลไกการป้ องกันทางจิต 8. การเพ้อฝั น (Fantasy) บุคคลผูกเรือ่ งขึน้ มาในจิตใจ เพื่อสนองความต้องการ ตามภาพพจน์ที่อยากให้เป็ น การเพ้อฝั นจะถูกกระตุน้ โดยความปรารถนาที่ถกู ขัดขวาง การเพ้อฝั นก่อให้เกิดความสุข ความพอใจ ลดความตึงเครียดในชีวิตประจาวัน สามารถเป็ นไปได้ทงั้ ทางสร้างสรรค์และไม่สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ คือ เป็ นการรักาพลังจงใจ เช่น จินตนาการของนักจิตกร หรือนักเขียน ไม่สร้างสรรค์ หมกมุน่ ไปตามความเพ้อฝั น ทาให้เสียเวลา เช่น ชายหนุม่ ฝั นว่าจะเป็ นเศรษฐี แต่ ไม่ยอมทามาหากิน 9. การปฏิเสธ (Denial) การไม่ยอมรับรูอ้ ารมณ์ ความคิด แรงขับ พฤติกรรม หรือสถานการณ์บางอย่างที่ก่อให้เกิดความ กระทบกระเทือนจิตใจอย่างรุนแรง เช่น พ่อแม่ไม่ยอมรับความบกพร่องของลูกที่ถกู วินิจฉัยว่าปั ญญาอ่อน บุคคลที่ถกู ตัดสินจาคุก อาจรูส้ กึ ว่าที่จริงแล้ว เหตุการณ์เหล่านีไ้ ม่เกิดขึน้ กับเขา กลไกการป้ องกันทางจิต 10. การย้ายที่ (Displacement) การโยกย้ายหรือเปลี่ยนที่ของอารมณ์ที่มีตอ่ บุคคลหรือสิ่งของ ไปยังบุคคลอื่นหรือสิ่งอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง กับภาวะอารมณ์นนั้ เลย และมักเป็ นบุคคลหรือสิ่งของที่มีอนั ตรายน้อยกว่า หรือแพะรับบาป (Scapegoat) เช่น ผูห้ ญิงที่เกลียดพ่อที่ดื่มสุราจะกลายเป็ นความรูส้ กึ เกลียดผูช้ ายทุกคนที่ ดื่มสุรา เด็กโดนแม่ดุ แล้วโมโหไปแตะน้องสาวแทน ลูกน้องโกรธเจ้านาย แล้วกลับไปทาร้ายภรรยา มันพบในผูป้ ่ วยยา้ คิดยา้ ทา (Obsessive-Compulsive Neurosis) ชอบล้างมือบ่อยๆ อาจมาจากอารมณ์ที่ไปกระตุน้ ให้ความรูส้ กึ ว่ามือไม่สะอาดอยู่เสมอ โดย แท้จริงมาจากส่วนลึกของจิตใจที่ผกู ผันกับความคิดสกปรกเกี่ยวกับศีลธรรม กลไกการป้ องกันทางจิต 11. การทดแทน (Substitution) การที่บคุ คลตัง้ เป้าหมายใหม่แทนเป้าหมายเก่าซึง่ บรรลุผลสาเร็จได้ยาก หรือมีแต่ทางล้มเหลว โดยที่ เป้าหมายใหม่นนั้ สามารถจะพบความสาเร็จได้และเป็ นที่ยอมรับ มี 2 แบบ คือ 1. การทดแทนพลังดันทีถ่ กู หักห้าม (Sublimation) คือ การแปรพลังผลักดันทางเพศหรือก้าวร้าวออกไปในรูปกิจกรรมที่สงั คมยอมรับ เช่น ผูท้ ี่ชอบความก้าวร้าวอาจหาทางออกด้วยการเป็ นนักมวย 2. การทดแทนด้วยความด้อย (Compensation) เป็ นการพยายามทดแทนความรูส้ กึ ว่าตนมีความด้อย มีความบกพร่องหรืออ่อนแอ เข้าทานองที่ว่า “ตัวเล็ก เสียงดัง” เช่น เรียนไม่เก่ง ก็ไปเอาดีดา้ นการกีฬา คนไม่สวย ก็ไปเอาดีดา้ นการเรียน ลองเล่นกัน http://www.arealme.com/16types/th/ แบบวัดบุคลิกภาพ MBTI (Myers-Briggs Type Indicator) แนวคิดของ Carl Jung เกี่ยวกับการจัดประเภทของบุคลิกภาพ (Jung’s personality typology) ใช้ตวั แปรทัง้ 8 คือ E I P S T F N J มาจัดเป็ นชุด ชุดละ 4 ตัวอักษร ทาให้เกิดเป็ น ลักษณะบุคลิกภาพทัง้ หมด 16 แบบ ใช้มากในการวัดความชอบในอาชีพและความสนใจ แบบวัดนีแ้ บ่งบุคคลเป็ น ๔ มิติ คือ 1. เปิ ดเผย แสดงตัว (Extroversion) - เก็บตัว (Introversion) 2. ใช้ประสาทสัมผัส (Sensing) - หยั่งรู ้ (Intuition) 3. ใช้ความคิด (Thinking) - ใช้ความรูส้ กึ (Feeling) 4. ตัดสิน (Judgement) - รับรู ้ (Perception) ลองเล่นกัน 1. เปิ ดเผย แสดงตัว (Extroversion) - เก็บตัว (Introversion) เจตคติในการใช้พลังงาน Extravert: ใช้พลังงานของตนที่ได้รบั การกระตุน้ จากภายนอกตัวเอง สนใจที่จะสังสรรค์ Introvert: ใช้พลังงานของตนที่ได้รบั การกระตุน้ จากภายในตัวเอง ไม่ชอบสุงสิงกับคนอื่น 2. ใช้ประสาทสัมผัส (Sensing) - หยั่งรู ้ (Intuition) การแสวงหาและเรียนรูข้ อ้ มูล Sensing: เชื่อถือหรือไว้ใจการรับรูข้ อ้ มูลจากประสาทสัมผัสทัง้ 5 ชอบ ชอบทางานที่อยู่ กับความเป็ นจริง iNtuition: เชื่อมั่นหรือพอใจรับรูแ้ สวงหาข้อมูลโดยการคาดการณ์ มองเลยไปจาก ข้อเท็จจริงไปสูค่ วามน่าจะเป็ นไปได้ 3. ใช้ความคิด (Thinking) - ใช้ความรูส้ กึ (Feeling) 4. ตัดสิน (Judgement) - รับรู ้ (Perception) ลองเล่นกัน 3. ใช้ความคิด (Thinking) - ใช้ความรูส้ กึ (Feeling) ลักษณะการตัดสินใจ Thinking: ตัดสินใจโดยใช้กระบวนการคิดที่มีเหตุผล มีระเบียบและเป็ นขัน้ ตอน ไม่ใช้ ความรูส้ กึ ส่วนตัวมาตัดสิน Feeling: ตัดสินใจโดยใช้ความรูส้ กึ และค่านิยม ให้ความสาคัญกับความรูส้ กึ ของตนเอง และผูอ้ ่นื 4. ตัดสิน (Judgement) - รับรู ้ (Perception) แบบแผนการดาเนินชีวิต Judgement: ดาเนินชีวิตที่มีระเบียบแบบแผนเป็ นขัน้ ตอน ชอบใช้ชีวิตอย่างมีโครงสร้าง มีขนั้ ตอน Perception: ดาเนินชีวิตแบบสบายๆ ยืดหยุน่ เป็ นธรรมชาติ พร้อมที่จะปรับเปลี่ยนได้ ตามสถานการณ์